ก จกรรมเสร มสร างและพ ฒนาภ ม ป ญญาท องถ น

ตอนที่ 1 ข้อมูลท่ัวไปของปุาชุมชน เช่น สภาพพ้ืนท่ี พิกัด ท่ีตั้ง ประวัติความเป็นมาของการจัดตั้งปุาชุมชน

คณะกรรมการจัดการปาุ ชมุ ชน สภาพปุา แผนการบริหารจัดการปุาชุมชน ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเช่ือ

พิธกี รรมเก่ียวกบั ปาุ ชุมชน เปน็ ตน้

 ท่ีตั้ง อาณาเขต พ้นื ทเี่ ปน็ เครอื ข่ายปุาชมุ ชนเขาราวเทยี นทองประกอบดว้ ยการแบ่งเขตการปกครองออกเปน็

4 ตาบล คอื ตาบลเนินขาม ตาบลกะบกเตีย้ อาเภอเนินขาม ตาบลเดน่ ใหญ่ ตาบลไพรนกยงู อ.หนั คา ต้ังอยูท่ าง ทศิ ตะวันตกเฉียงใตข้ องอาเภอเมืองจงั หวัดชัยนาทเป็นระยะทาง 60 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากอาเภอหนั คา เปน็ ระยะทาง 18 กิโลเมตร มีพ้ืนที่ทงั้ หมด 20,000 กวา่ ไร่ มีอาณาเขตดังนี้

ทิศเหนือ ตดิ ต.ไพรนกยงู อ.หันคา จ.ชัยนาท ทศิ ตะวันออก ต.เด่นใหญ่ อ.หนั คา จ.ชยั นาท ทิศไต้ ติด ต.เนนิ ขาม ต.กะบกเตยี้ อ.เนินขาม จ.ชยั นาท ทิศตะวันตก ตดิ ต่อ อ.บ้านไร่ จ.อุทยั ธานี

 ลักษณะภูมิประเทศและภมู ิอากาศ

พื้นที่ของชุมชนตั้งอยู่ในพื้นท่ีภาคกลางของประเทศไทย มีลักษณะภูมิประเทศที่เป็นท่ีราบ สลับเนินเขา มีความสูงจากระดับน้าทะเลปานกลาง 89 – 319 เมตร ในพื้นที่ราบทั้งหมดมีประมาณ 60 เปอร์เซ็นต์ ประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์เป็นพื้นท่ีเกษตรกรรม อีก 10 เปอร์เซ็นต์เป็นพ้ืนท่ีหมู่บ้าน อีกประมาณ 40 เปอร์เซน็ ตเ์ ปน็ พน้ื ที่เนินเขาทเ่ี ปน็ ปุาเบญจพรรณท่ีมีไผร่ วกมาก ประกอบด้วยภูเขา 4 ลูก คือ เขาราวเทียน หรือเขายาวตั้งอยู่ทางทิศเหนือซึ่งเป็นภูเขาที่ใหญ่ท่ีสุดและสูงที่สุด เขากระเจียว เขารวก และเขาเครือ ซ่ึงสาม ลูกหลังมีขนาดเล็กอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือหมู่บ้าน ลักษณะดินจะเป็นดินร่วนปนทราย และดินร่วนปน เหนยี วในบางบรเิ วณ สาหรับภมู ิอากาศนัน้ เปน็ แบบมรสมุ เขตร้อน มี 3 ฤดู

 ประวัตชิ ุมชน

ยุคเริ่มต้ังถ่ินฐาน ประมาณช่วงปี พ.ศ.2506 มีชาวบ้านประมาณ 10 ครอบครัวอพยพมา จากจงั หวัดสุพรรณบุรี จังหวัดชัยนาท จัดตั้งบ้านเรือนเป็นกลุ่มบ้านกลุ่มละ 3-4 หลังคาเรือน ในขณะท่ีเข้ามา อยู่ใหม่นั้นพ้ืนที่มีความอุดมสมบูรณ์มากมีต้นไม้หนาแน่น สัตว์ปุาต่างๆ มากมาย ชาวบ้านเร่ิมจับจองที่ดิน บกุ เบกิ ท่ีทากนิ เพอื่ ทาการเกษตรทานา ทาไร่ และมกี ารทาฟืนหลา เผาถ่านขาย และบริเวณที่ต้ังชุมชนมีภูเขาที่ อย่ใู กลห้ มูบ่ า้ นทปี่ กคลุมไปดว้ ยดอกกระเจยี วสีขาวอมแดง จึงเรยี กช่อื ชุมชนว่า “บ้านเขากระเจียว” ในขณะน้ัน ชุมชนยังไม่มีสาธารณูปโภคใดๆ ท้ังวัด โรงเรียน อนามัย การเดินทางใช้การเดินเท้าและเกวียนเป็นหลัก เวลา เจ็บปุวยจะใช้สมนุ ไพร มหี มอตาแยในการทาคลอด

ยุคจัดต้งั หม่บู า้ นทางการตอ่ มามกี ารขยายครอบครวั และอพยพเขา้ มาต้ังบ้านเรอื น เพ่ิมมากข้ึน จึงเห็นสมควรจัดตั้งเป็นหมู่บ้านทางการจึงเสนอขอจัดต้ังเป็นหมู่บ้านในปี พ.ศ.2509 โดยมี ผู้ใหญ่บา้ นคนแรกชอ่ื นายเปล่ือง ใจเยน็ เนื่องจากภูเขาท่ีอยู่ใกล้บ้านมีดอกกระเจียวสีขาวอมแดงขึ้นมากทั่วทั้ง ลกู นอกจากน้ยี งั มภี ูเขาทตี่ ดิ ต่อกนั เป็นแนวยาวคลา้ ยกับราวเทียนท่ปี ระดับประดาไปด้วยเทยี น

จึงเรียกชอ่ื หมู่บ้านใหมเ่ ป็น “หม่บู า้ นเขาราวเทียนทอง” หมู่ที่ 10 ตาบลเนนิ ขาม อาเภอหันคา จังหวัดชัยนาท ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพปลูกมันสาปะหลัง อ้อย ในปี พ.ศ. 2512 ชาวบ้านได้ไปปรึกษาพระครูวิมล ไชยานุรักษ์ หรอื หลวงพอ่ ชุนในการจัดตงั้ สานักสงฆ์เพอ่ื ประกอบพิธกี รรมทางศาสนาและได้จัดต้ังสานักสงฆ์ข้ึน บริเวณเขาราวเทียนทอง ต่อมาในปี พ.ศ.2515 มีจานวนชาวบ้านมากข้ึนสานักสงฆ์อาจไม่เพียงพอ จึงพากัน ไปปรึกษาพระครูประดิษฐ์ ชัยกรณ์ หรือหลวงพ่อพุกเพื่อประสานทางราชการขอจัดต้ังวัดอย่างเป็นทางการ พร้อมกับการขอจดั ต้งั โรงเรยี นบ้านเขาราวเทียนทอง

ยคุ ขยายชุมชนเครือข่าย จากการปะสานงานของ ดร.ประทีป ต่อมาได้เชิญศูนย์ฝึกอบรม ศาสตร์ชุมชนฯ(รีคอฟ)ซึ่งเป็นหน่วยงานด้านวิชาการมาให้ความรู้แก่หมู่บ้านเขาร าวเทียนทองนับจากหมู่บ้าน เดียวก็เริ่มขยายไปรวมกับบ้านอื้นๆ ในปี พ.ศ. 2526 มีประชากรเพิ่มมาขึ้นจึงแบ่งเขตการปกครองออกโดย แยกเปน็ หมู่บ้านใหมค่ ือ หม่ทู ี่13 บ้านหนองแก่นมะเกลือ ในปี พ.ศ.2530 เร่ิมได้รับสาธารณูปโภคไฟฟูา ในปี พ.ศ. 2532 แยกหมบู่ ้านเปน็ หมู่ที่ 15 บ้านหนองมะนาว และชาวบ้านร่วมกับคณะครูได้จัดทาประปาหมู่บ้าน ในปี 2533 ในปี พ.ศ. 2538 ไดส้ ร้างสถานีอนามัยหมู่บ้าน ต่อมาในปี พ.ศ.2543 ได้แยกเป็นหมู่ที่ 18 บ้าน โปงุ กาแพงในปี 2543 และหม่ทู ี่ 19 บา้ นลานดู่

 เศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรมประเพณี

ลักษณะชุมชนเป็นชมุ ชนเครือขา่ ยทเ่ี กิดการแยกออกของชุมชนเดีย่ วหรือชุมชนแมค่ อื ชุมชน บา้ นเขาราวเทยี นทอง หมทู่ ่ี 10 และแยกออกเปน็ ชุมชนลูกหรอื ชมุ ชนเครือขา่ ยไปอีก 14 หมู่บ้าน ที่อย่รู อบ เขาราวเทยี นทอง 4 ตาบล 2อาเภอ และในปจั ุจบุ ันในปี พ.ศ 2553 ไดข้ ยายความรูแ้ ละความเข้าใจในการ จดั การทรัพยากรปาุ รว่ มกันกับพ้ืนที่ไกลเคยี งอีก 16 หม่บู ้าน ร่วมเปน็ 30หมู่บา้ น

ประชากรมีอาชีพทาไร่มันสาปะหลัง อ้อย ข้าวโพด ทานา ทาสวน การเกษตรจะอาศัยน้าฝน เป็นหลัก ชาวบ้านบางรายท่ีไม่มีที่ทากินจะรับจ้างภายในชุมชนและเก็บหาของปุาเพ่ือขายเป็นรายได้เสริม มี บางส่วนที่ไปรับจ้างภายนอกชุมชนที่ตัวจังหวัดและกรุงเทพฯ ระบบการลงทุนเป็นแบบสินเชื่อกับนายทุนและ จากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเษตร ประมาณ 95 เปอร์เซ็นต์จะกู้เงินทุนมาลงทุน ลักษณะ วัฒนธรรมประเพณีจะเป็นแบบภาคกลาง ประเพณีต่างๆ เช่น ทาบุญมหาสงกรานต์ เข้าพรรษา ออกพรรษา เป็นตน้

 พัฒนาการการจัดการทรัพยากรป่าไมข้ องชุมชน

เนื่องจากทรัพยากรปุาไม้บริเวณเทือกเขาท่ีชาวบ้านใช้ประโยชน์นั้นถูกทาลาย จากไฟปุา จากการบุกรกุ ปี พ.ศ. 2539 จึงมีกลุ่มคนกลุ่มหนึ่ง 3 คน ได้มองเห็นความสาคัญและความเสียหายของปุาไม้ ท่ีจะส่งผลกระทบต่อชาวบ้าน จึงรวมตัวกันในวงแคบๆ ในการจัดการปุา เช่น การดับไฟปุา ในปี พ.ศ. 2541 ไดไ้ ปปรกึ ษามลู นธิ บิ ูรณะชนบทในการดาเนินงานจึงได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการปุาชุมชนจานวน 15 คน และ ได้ดาเนินงานจัดการและจัดตั้งกลุ่มย่อย 14 กลุ่มใน 14 ชุมชนในการประสานงาน และเร่ิมมีกิจกรรมในการ จัดการปุาร่วมกันทั้ง 14 ชุมชนโดยใช้งบประมาณที่ระดมจากภายในชุมชน เช่น การทาแนวกันไฟในพื้นท่ีปุา การดับไฟปุา การปลูกเสริมในพ้ืนท่ีว่างและดูแลรักษากล้าไม้ที่ปลูกในวันพัฒนาประจาเดือนทุกๆ เดือน การ ตรวจตราพ้นื ท่ปี ุา การสร้างกฎระเบียบในการเก็บหาหน่อไม้โดยการจัดประชุมออกกฎระเบียบห้ามตัดไม้ และ กาหนดชว่ งหยุดการเกบ็ หาหนอ่ ไมใ้ นช่วงเดือนกันยายนเพื่อให้มีลาสืบต่อพันธุ์ในปีถัดไป และในปี พ.ศ. 2542 ไดร้ บั รางวัลปุาพ้นื บ้านอาหารชุมชนดีเด่น และชมุ ชนไดจ้ ดั ทาโครงการเครอื ข่ายฟน้ื ฟูปาุ ชมุ ชนเขาราวเทียนทอง เสนอกองทุนชมุ ชนและได้รบั การสนับสนนุ เมอื่ ปี พ.ศ.2543

 เหตุการณ์สาคัญปา่ ชมุ ชนเขาราวเทยี นทอง เน่อื งจากทรัพยากรปาุ ไม้คือบรเิ วณเขาราวเทยี นทองซ่ึงเป็นพื้นท่ีปุาที่ใกล้กับชุมชน และเป็น

แหล่งอาหาร แหล่งรายได้เสริมของชาวบ้านในการเก็บหาหน่อไม้ เห็ดโคน น้าผ้ึง ยาสมุนไพรนั้นมีสภาพเสื่อม โทรม เน่ืองจากปัญหาการบุกรุกพ้ืนท่ี และการเกิดปัญหาไฟปุา รวมท้ังการเก็บหาของปุาท่ีไม่ถูกวิธีและเกิน กาลงั ผลิตของปุาจากคนภายนอก และบางส่วนของคนในชุมชน จากปัญหาดังกล่าวทาให้ทรัพยากรปุาไม้ลดลง อย่างมากและส่งผลกระทบต่อชาวบ้านท่ีอยู่รอบปุาโดยตรง โดยเฉพาะชาวบ้านที่ยากจนที่อาศัยปุาเป็นแหล่ง อาหารและแหล่งรายได้เพื่อซื้อข้าวสารและของใช้จาเป็นน้ันมีความลาบากมากขึ้น จึงเกิดมีแนวความคิดท่ีจะ ฟื้นฟูและจัดการปุาเขาราวเทียนทองให้กลับคืนสู่ความอุดมสมบูรณ์อีกคร้ัง รวมทั้งการสร้างข้อตกลงในการ จัดการ ใช้ประโยชน์ที่ไม่ทาลายทรัพยากรปุาไม้ เพื่อเอื้อประโยชน์ทั้งทางตรง และทางอ้อมแก่ชุมชนตลอดไป จึงรวมตัวกันจัดการปุาเขาราวเทียนทองในรูปแบบของปุาชุมชน ซึ่งมีพ้ืนที่ดาเนินงานครอบคลุมพื้นท่ีปุาท่ี จดั การร่วมกัน 4,000 ไร่ โดยมวี ตั ถุประสงค์ของการจดั การเพ่อื

  1. สร้างความรู้ ความเข้าใจ และจิตสานึกของคนในชุมชนและชุมชนเครือข่ายในการ รว่ มกนั ฟืน้ ฟู ดูแลทรพั ยากรปาุ ไม้
  1. ฟ้ืนฟู ดูแล ปอู งกัน ทรพั ยากรปาุ ไม้
  2. เปน็ แหล่งอาหาร และรายไดเ้ สรมิ ของชมุ ชน
  3. เปน็ แหลง่ ทพี่ ันธุกรรมของพรรณพชื และท่ีอยู่อาศัยของสตั ว์ปาุ
  4. เปน็ แหล่งศกึ ษาธรรมชาตขิ องเดก็ เยาวชน ทงั้ คนในชมุ ชนและนอกชุมชน
  5. พัฒนาบุคลากรชมุ ชนและเครือข่ายให้มคี วามสามารถในการบรหิ ารจัดการทรัพยากรปาุ

ไมท้ ้องถนิ่

ภาพท่ี 1 แสดงเครือข่ายป่าชุมชนเขาราวเทียนทอง ภาพท่ี 2 แสดงพื้นทีจ่ งั หวัดชัยนาท

กรรมการเครือขา่ ยปุาชมุ ขนบา้ นเขาราวเทยี นทอง

1. เจ้าอาวาสวัดเขาราวเทยี นทอง เจา้ คณะตาบลสขุ เดือนห้า 2. เจา้ อาวาสวดั หนองยาง เจ้าคณะตาบลเนนิ ขาม 3. ผ.อ.สมคดิ อยชู่ ัง อดีตผู้อานวยการโรงเรียนเนนิ ชามรัฐประชานุเคราะห์

รายชือ่ กรรมการเครือข่ายปุาชุมขนบ้านเขาราวเทียนทอง

1. นายพยงค์ พวงพิกุล ประธาน

2. นายมานสั มว่ งเกดิ รองประธาน

3. นายประสาสต์ สงา่ เนตร รองประธาน

4. นายสมยศ ศรวี ันนา เลขานุการ

5. นายวาด มาโต ประชาสัมพนั ธ์

6 .นางบญุ ยงั พวงพกิ ลุ เหรญั ญิก

7. นายจานงค์ แตงสุข กรรมการ

8. นายอดิศักด์ิ แก้วสุข กรรมการ

9. นายทมิ โพโต กรรมการ

10. น.ส.ศริ ินุช สพุ รรณคง กรรมการ

11 นายสาราญ นรสงิ ห์ กรรมการ

12. นางบุญยงั พวงพกิ ลุ กรรมการ

13. นายอดิศักด์ิ แกว้ สุข กรรมการ

รูปภาพแสดงสถานท่ตี ั้งกลมุ่ และจาหน่ายสินค้า ผลผลิต ผลติ ภณั ฑ์ จากกลุ่มสมาชิก

ตอนท่ี 2 ข้อมูลเก่ียวกับกลุ่มสมาชิกปุาชุมชนท่ีมีการใช้ประโยชน์จากผลผลิต ผลิตภัณฑ์ หรือบริการจากปุา ชมุ ชน เพ่ือการลดรายจา่ ย สร้างรายไดร้ ะดับครวั เรอื น

1. ชอื่ กลุ่ม.... กลมุ่ แปรรูปผลิตภณั ฑ์จากสมนุ ไพร

2. จานวนสมาชกิ กลุ่ม.... ปจั จบุ นั ในกล่มุ มีสมาชกิ ในการดาเนินงานทง้ั หมด 10 หมบู่ ้าน จานวน 50 คน

3. ท่ตี ัง้ กลุ่ม…. บ้านเลขที่ 77 หมูท่ ่ี 8 ตาบลเนนิ ขาม อาเภอเนนิ ขาม จงั หวดั ชัยนาท

4. ความเป็นมาหรอื แนวความคดิ ในการรวมกลมุ่ ... โดยมแี รงจงู ใจในการผลิตเพื่อถวายในกิจกรรมของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลย

เดชฯ รัชกาลที่ 9 ตามแนวทางการเศรษฐกิจพอเพียง เริ่มด้วยจากการทดลองทาเพ่ือใช้ในครัวเรือนเพื่อลด คา่ ใชจ้ ่าย หลังจากนั้นก็เร่ิมใช้ขยายเพื่อให้บุคคลใกล้ชิดได้ทดลองใช้ และมีหน่วยงานส่วนราชการเริ่มเข้ามาให้ ความรูใ้ นเรอื่ งสมุนไพรขอ่ ย โดยการใหก้ ารช่วยเหลือและสง่ เสรมิ วธิ กี ารใช้ การผลิตอย่างถูกวิธี เพื่อสร้างรายได้ ในชุมชนตอ่ ไป

5. วัตถุประสงค์ในการจัดต้ังกล่มุ ... - เพือ่ ให้เกดิ การรวมกลมุ่ และจดั กิจกรรมของสมาชกิ เครือข่ายปาุ ชมุ ชนเขาราวเทียนทอง - เพ่ือใหม้ ีสมาชกิ รักษาปาุ หวงแหน รวมทง้ั การศกึ ษาและการใชป้ ระโยชนจ์ ากปาุ ชุมชน - เพ่ือสรา้ งลดรายจา่ ย และเพม่ิ รายได้ให้แก่สมาชิกในเครือข่ายปุาชุมชน

6. เปาู หมาย/ทศิ ทางของกล่มุ .... - การดูแล รกั ษา และใช้ประโยชน์จากปุาอย่างมปี ระสิทธภิ าพ - ลดรายจ่ายในครัวเรือน และเพ่ิมรายไดใ้ ห้แกค่ รอบครัวของสมาชิกปาุ ชุมชน - การตอ่ ยอดเปน็ กลุ่มวสิ าหกิจชุมชนทม่ี สี นิ ค้าไดค้ ุณภาพและเป็นท่ยี อมรับแกป่ ระชาชนทว่ั ไป

7. โครงสรา้ งการบริหารงานกลุม่ ....

ประธาน

รองประธาน รองประธาน

ประชาสมั พนั ธ์ ผลติ สนิ คา้ การตลาด เหรัญญกิ

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

การใช้บริการจากปุา หรือผลผลิต ท่ีได้จากปุาที่นามาใช้ในการลดรายจ่าย ในครัวเรือน เช่น ย่านาง หน่อไม้ ต้น ขอ่ ย พืชสมุนไพรอน่ื ๆ ท่ีได้จากปุาชุมชน เพ่ือต่อยอดเป็นสินค้า ผลิตภัณฑ์ นาไป จาหน่ายเพื่อสร้างรายให้กับครัวเรือน และชุมชนตอ่ ไป

ตอนท่ี 3 ข้อมูลทรัพยากรชีวภาพ หรือทรัพยากรกายภาพ หรือวัฒนธรรมและภูมิปัญญาจากปุาชุมชนที่นามา

พฒั นาหรอื ใชป้ ระโยชนเ์ ป็นผลผลติ ผลิตภณั ฑ์ หรอื บรกิ ารจากปุาชมุ ชน เพื่อสร้างรายได้

1 ข้อมูลทรัพยากรชีวภาพ ให้ระบุชนิด ช่วงเวลาในการเก็บหาหรือประโยชน์ ปริมาณที่ใช้ และการ

ประเมนิ มลู ค่าการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพในปุาชุมชน เพ่ือสร้างรายได้ หรอื ลดรายจ่าย

ทรพั ยากรชีวภาพ/วฒั นธรรม ชว่ งเวลาใน ปรมิ าณการเกบ็ หา/ ราคาใน มลู คา่ การใช้ มลู คา่ การใช้

ภมู ิปญั ญา การเก็บหา/ใช้ ใช้ประโยชน์/คร้ัง ท้องตลาด/ ประโยชน์ ประโยชนใ์ น

ประโยชน์ หนว่ ย การสรา้ ง การลด

รายได้ รายจ่าย

นา้ ยา่ นาง 125 ml. ตลอดทั้งปี 4-6 กก. 50 5,000

แชมพูย่านางมะกรูด 250 ml. ตลอดทง้ั ปี 1 กก. 120 2,000

น้ายาบ้วนปากขอ่ ย 250 ml. ตลอดท้งั ปี 6 กก. 50 1,200

ยาสฟี ันข่อย 50 g. ตลอดท้ังปี 10 กก. 60 12,000

แปรงสฟี นั ข่อย 1 ชิ้น ตลอดทง้ั ปี 5-10 กก. 15 7,500

ครมี อาบน้ามะหาด 250 ml. ตลอดทั้งปี 6-10 กก. 120 12,000

แกน่ มะหาด 100 g. ตลอดท้ังปี 10 กก. 50 5,000

แก่นฝาง 100 g. ตลอดทั้งปี 10 กก. 50 5,000

รวมรายได/้ ครัง้ (ยงั ไม่หกั ต้นทุนในการผลิต) 49,700

2 ขอ้ มลู ทรพั ยากรกายภาพ โดยใหร้ ะบุวา่ คืออะไร(เชน่ นา้ ) และแหลง่ พืน้ ท่ี พร้อมภาพถ่าย

การทาฝายก้ันน้าเพื่อการกักเก็บน้า ไว้ใช้ในการสร้างความชุ่มช้ืนให้กับ พื้นที่ป่าชุมชน สร้างความอุดม สมบูรณ์ให้กับป่า พืชสมุนไพร พืช อาหารในครวั เรอื น

ภาพแสดงลกั ษณะทั่วไปของเครอื ข่ายปาุ ชุมชนบา้ นเขาราวเทยี นทอง

3. วัฒนธรรมหรือภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านใด เช่น ด้านสมุนไพร ด้านจักสาน ด้านการทอผ้า ย้อมสี ธรรมชาติ เป็นต้น/เจ้าของภูมิปัญญา/รายละเอยี ดภูมปิ ญั ญา และจุดเดน่ ของภมู ปิ ญั ญา(โดยย่อ) พร้อมภาพถ่าย เป็น

ด้านสมนุ ไพร

ข่อย (ชื่อวิทยาศาสตร์: Streblus asper Lour.) มีชื่อทางการค้าคือ Siamese rough bush, Tooth brush tree ส่วนชื่อพื้นเมืองอื่นได้แก่ กักไม้ฝอย (ภาคเหนือ), ข่อย (ท่ัวไป), ซะโยเส่ (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน), ตองขะแหน่ (กะเหร่ยี งกาญจนบรุ ี), ขอ่ ย(ร้อยเอด็ ), สะนาย (เขมร)

ลักษณะทัว่ ไป ข่อยเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงกลาง สูง 5–15 เมตร ไม่ผลัดใบ

ลาต้น ค่อนข้างคดงอ มีปุมปมอยู่รอบๆ ต้น หรือเป็นพูเป็นร่องทั่วไป อาจจะข้ึนเป็นต้นเดียว หรือเป็นกลุ่ม แตกกิ่งต่า กิ่งก้านสาขามาก เปลือก สีเทาออ่ น เปลือกแตกเป็นแผ่นบาง ๆ มยี างสีขาวเหนียวซึมออกมา ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับมีขนาดเล็ก รูปใบรี แกมรูปไข่กลับ กว้าง 2–3.5 เซนติเมตร ยาว 4–7 เซนติเมตร เนื้อใบค่อนข้างหนา ผิวสากเหมือนกระดาษ ทรายทั้งสองด้าน ดอกเป็นช่อสีขาวเหลืองอ่อน ออกตามปลายกิ่ง ดอกเดี่ยวแต่รวมกันเป็นกระจุก ดอกเพศผู้ และเพศเมียอยู่ต่างดอกกัน ผลสดกลม เมล็ดมีขนาดโตเท่าเมล็ดพริกไทย มีเน้ือเยื่อหุ้ม ผลแก่จัดจะมีสีเหลือง ซึ่งมรี สหวาน นกจะชอบกนิ ผลข่อย

สรรพคุณทางยา - ก่ิงขอ่ ย ใช้ในการแปรง ฟันแทนแปรงสฟี ันได้ แต่ต้องทุบใหน้ ่ิมๆกอ่ น - เปลอื ก สามารถรกั ษาแผล แกท้ อ้ งร่วง ดบั พิษภายใน ทารดิ สดี วงแกพ้ ยาธผิ วิ หนัง และเม่ือต้มกับเกลือ

จะได้เปน็ ยาอมแกร้ ามะนาด - ยาง มนี า้ ย่อยชอ่ื milk (lotting enzyme) ใช้ยอ่ ยน้านม - ราก สามารถนามารกั ษาแผลได้ - แกน่ / เนื้อ คนเชยี งใหมใ่ ช้แก่นขอ่ ยห่ันเปน็ ฝอยมวนเป็นบุหรส่ี บู แก้รดิ สีดวงจมกู - เมล็ด นามารับประทานเปน็ ยาอายวุ ัฒนะได้ และทาให้เจรญิ อาหาร

ย่านาง หรอื ยา่ นางขาว (ช่ือวทิ ยาศาสตร์: Tiliacora triandra (Colebr.) Diels) เป็นไม้เลือ้ ยมีเนื้อไม้ในวงศ์ MENISPERMACEAE เถากลม เหนียว เม่ืออ่อนสเี ขียว แก่แล้วเป็นสีเทา ใช้ลาต้นเล้ือย พันต้นอ่ืน ใบเดี่ยว ดอกช่อแบบแตกแขนง ผิวเกล้ียงเป็นมันสี เขียว สกุ เป็นสสี ม้ อมแดง เมลด็ แข็งเพียงเมล็ดเดียวสามารถนามา ปลูกได้ อาหารไทยอีสานและอาหารลาวใช้ใบยา่ นางเป็น ส่วนผสมในแกงลาว ใช้ทาเครอ่ื งด่ืม ในเวียดนามใช้ทาเยลลี

สรรพคุณของใบย่านาง 1.เพ่มิ ความแข็งแรงให้ร่างกาย 2.ลดความออ่ นเพลยี 3.ปอู งกนั มะเรง็ 4.บารงุ ผิวพรรณ 5.เปน็ ยาอายุวฒั นะ 6.บารุงอวัยวะภายใน

ตอนท่ี 4 องคค์ วามรู้ ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่นในการนามาประยกุ ตใ์ ชป้ ระโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพ หรือทรัพยากร กายภาพ หรอื วัฒนธรรมและภมู ปิ ัญญาจากปุาชมุ ชน จนสามารถสร้างรายได้ โดยระบเุ จา้ ของภูมปิ ญั ญา จุดเด่น ของภูมิปญั ญา อธบิ ายรายละเอยี ดภมู ปิ ญั ญา โดยละเอยี ด(พร้อมภาพถ่าย)เปน็ ต้น

องค์ความรภู้ มู ิปัญญาทอ้ งถิน่ นางบุญยงั พวงพิกุล บ้านเลขท่ี 77 หมู่ท่ี 8 ตาบลเนินขาม อาเภอเนินขาม จงั หวัดชัยนาท เบอร์โทร 087-2007523 จุดเดน่ - การใช้บรกิ ารและการใชป้ ระโยชน์จากปุาชมุ ชน - การลดรายจ่าย สร้างรายได้ในครัวเรอื นและในชมุ ชน - มีการเรยี นรู้ กจิ กรรมในเร่อื งสมุนไพรใกลต้ วั 1. ยาสีฟนั ขอ่ ย วธิ ีการผลิต

1. การคัดเลือกเปลือกข่อยเพื่อนามาใช้เป็นวัตถุดิบหลัก โดยการคัดเลือกก่ิงท่ีมีอายุมากกว่า 1 ปีมาสับเป็นชิ้นเล็กๆ แล้วตากแดดให้แห้งในโรงเรือนปิด เพ่ือปูองกันสิ่งสกปรกหรือสิ่งแปลกปลอม อนื่ ๆ

2. หลังจากได้ช้ินเปลือกข่อยที่สับและตากแห้งเรียบร้อยแล้ว จึงนาไปบดให้ละเอียด (ค่าจ้าง ในการบด กโิ ลกรัมละ 100 บาท)

3. เม่ือได้เปลือกข่อยบดแล้วจึงนามาร่อนหรือกรอง แล้วนาส่วนเปลือกข่อยที่ผ่านการกรอง 10 กโิ ลกรมั พมิ เสน 0.5 กิโลกรัม การบรู 250 กรัม เกลือไอโอดีน 250 กรมั มาผสมให้เข้ากนั

4. บรรจุใสว่ สั ดุหรือบรรจุภัณฑท์ เี่ ตรียมไวต้ อ่ ไป

ส่วนผสม 1. เปลือกข่อยบด 10 กโิ ลกรมั 2. พมิ เสน 0.5 กดิ ลกรมั 3. การบูร 2.5 กรัม 4. เกลอื 2.5 กรัม

2.น้ายาบว้ นปาก วิธกี ารผลติ 1. นาก่งิ ข่อยสับใสห่ มอ้ ต้มประมาณคร่ึงชว่ั โมง 2. หลงั จากนั้นให้ใสก่ านพลูแล้วตั้งไฟตอ่ อีก 10 นาที เสร็จแล้วให้ยกลงจากเตาไฟ 3. นาเกลือและเมนทอลใส่ลงไปในหมอ้ ทตี่ ้มนา้ ข่อย 4. นาน้าข่อยที่ต้มและใส่ส่วนผสมเรียบร้อยแล้วมากรอง พอน้าข่อยเย็นแล้วจึงกรอกใส่ ภาชนะทจ่ี ดั เตรยี มไว้ ต่อไป

ส่วนผสม 1. กิ่งข่อยสบั 2 กิโลกรัม 2. น้าสะอาด 3 ลติ ร 3. การพลู 3 ช้อนโตะ๊ 4. เกลอื 2.5 กรมั 5. เมนทอลแต่งกล่นิ 1 ช้อนชา

3.น้ายา่ นาง วิธกี ารผลติ 1. เก็บใบย่านางประมาณ 6 กโิ ลกรมั มาล้างใหส้ ะอาดและผงึ่ ใหแ้ ห้ง 2. นาใบยา่ นางและใบเตยมาปนั่ ใหล้ ะเอยี ด 3. นาใบย่านางและใบเตยทปี่ ั่นเรียบรอ้ ยแลว้ มาใสห่ มอ้ เตมิ นา้ 5 ลิตร ตง้ั ไฟใหเ้ ดอื ด ประมาณ 4-5 ชวั่ โมง 4. หลังจากต้มน้ายา่ นางเสรจ็ แลว้ กน็ ามาเขา้ สวู่ ธิ กี ารกลั่นซง่ึ จะใช้เวลาประมาณ 1 คืน จะได้นา้ ย่านางจานวน 10-12 ลิตร 5. ใส่บรรจภุ ัณฑท์ ่ีจัดเตรยี มไว้

ส่วนผสม 1. ใบยา่ นาง 6 กิโลกรมั 2. ใบเตย 1 กโิ ลกรมั 3. น้าสะอาด 5 ลิตร

ตอนท่ี 5 ข้อมูลผลผลติ ผลิตภณั ฑ์ หรือบรกิ ารจากปาุ ชมุ ชน เพ่อื สรา้ งรายได้ 1. รายการผลผลิต ผลติ ภณั ฑ์ หรอื บริการจากปาุ ชุมชน ทีส่ ร้างรายไดใ้ ห้กับกลมุ่ สมาชิก

ผลติ ภณั ฑ์จากย่านาง

แชมพูสมุนไพร “ย่านาง” น้าสกดั ย่านาง

BAMBOO GRASS HERBAL SHAMPOO BAMBOO GRASS WATER

สรรพคุณ: ทาความสะอาดเสน้ ผม บารุงหนัง สรรพคุณ: ถอนพิษรอ้ น ให้ความสดช่นื ต้าน ศีรษะให้ผมดกดาเป็นเงางาม ช่วยขจัดรงั แค อนุมูลอิสระ ชะลอผมขาวกอ่ นวัย วธิ ใี ช้: ฉดี พน่ ทวั่ ใบหนา้ และบริเวณท่ีตอ้ งการ วธิ ีใช้: ชโลมแชมพบู นเสน้ ผม นวดเบาๆให้ทวั่ ความสดชื่น ผสมนา้ ดืม่ ดบั พิษร้อนในปรมิ าณ ศีรษะ ท้ิงไวส้ กั คร่แู ลว้ ลา้ งออก ใช้ไดท้ กุ วนั 10 ซีซ.ี ตอ่ น้าสะอาด 1 แกว้

ผลติ ภัณฑข์ อ่ ย

น้ายาบ้วนปากสมุนไพรขอ่ ย ยาสีฟนั สมุนไพรขอ่ ย

Herbal Mouthwash Herbal Toothpaste

สรรพคุณ: ทาความสะอาดฟนั รกั ษา สรรพคณุ : ทาความสะอาดฟัน รกั ษาเหงอื ก รามะนาด เหงอื กบวม บรรเทาอาการปวดฟัน บวม รักษารามะนาด บรรเทาการปวดฟัน รกั ษาฟัน ระงับกลิ่นปาก ชว่ ยระงบั กล่ินปาก วธิ ีใช้: ใช้บว้ นปาก กลว้ั คอ วิธใี ช้: ใช้ช้อนตักยาสีฟนั จากกระปกุ แล้วใช้ แปรงสฟี นั จ้มิ ตวั ยา เพ่อื แปรงฟนั และนวด เหงือกเบาๆ

2. กลุม่ เปูาหมายผู้รบั ซ้ือ หรือผ้ใู ชบ้ รกิ ารและประเมินมูลค่าการได้รบั ประโยชนจ์ ากผลผลติ ผลิตภณั ฑ์ หรอื บรกิ ารจากปุาชมุ ชน

- ประชาชนในชมุ ชน หมูบ่ ้าน อาเภอ จงั หวดั - การจัดงาน OTOP ประจาอาเภอ และจงั หวัด - การจัดงานกิจกรรมของหน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชน - การจดั งานกิจกรรมของหน่วยงาน และ OTOP ระดับประเทศ

รายการสินคา้ ราคาใน มูลคา่ การใช้ มลู ค่าการใช้ ทอ้ งตลาด/ ประโยชน์ ประโยชนใ์ น การสร้าง หน่วย รายได้ การลด 5,000 รายจ่าย 2,000 นา้ ย่านาง ขนาด 125 ml. 50 1,200 12,000 แชมพูย่านางมะกรดู ขนาด 250 ml. 120 7,500 12,000 น้ายาบ้วนปากขอ่ ย ขนาด 250 ml. 50 5,000 5,000 ยาสฟี นั ข่อย ขนาด 50 g. 60 49,700

แปรงสฟี นั ข่อย 1 ชิน้ 15

ครมี อาบน้ามะหาด ขนาด 250 ml. 120

แก่นมะหาด ขนาด 100 g. 50

แกน่ ฝาง ขนาด 100 g. 50

รวมรายได้/ครงั้ (ยงั ไม่หกั ตน้ ทุนในการผลติ )

ตารางแสดงราคาขายและประเมนิ รายได้ของกล่มสมาชิกต่อปี

ตอนท่ี 6 การวิเคราะห์ข้อมูล ปัจจัยแห่งความสาเร็จ ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาปุา ชุมชนเพ่ือสรา้ งรายได้

  1. ปัจจัยแห่งความสาเร็จของกลุ่มสมาชิกปุาชุมชนในการพัฒนาปุาชุมชน เพ่ือสร้างรายได้ โดย เรียงลาดับจาก 1 ปัจจัยแห่งความสาเร็จที่สาคัญมากท่ีสุด ไปถึง 5 ปัจจัยแห่งความสาเร็จท่ีมีความสาคัญน้อย ทส่ี ดุ

1. ต้องการใหช้ ุมชนไดร้ บั ประโยชน์และลดรายจา่ ยในครวั เรือน 2. สรา้ งความเข้มแข็งของกล่มุ ความสามคั คขี องกลมุ่ 3. ลดรายจา่ ยในครัวเรอื น 4. สร้างรายไดใ้ ห้กบั ครวั เรือน และชุมชน 5. เกิดการรวมกลุ่มในชมุ ชนเพื่อการต่อยอดและสร้างผลิตผล ผลติ ภณั ฑข์ องกลุ่ม

  1. ปัญหา อุปสรรค ต่อการพัฒนาปุาชุมชน เพื่อสร้างรายได้ โดยตอบเรียงลาดับจาก 1 ปัญหา อปุ สรรคท่ีสาคญั มากท่สี ดุ ไปถงึ 5 อุปสรรคทมี่ ีความสาคญั นอ้ ยที่สดุ

1. งบประมาณในการดาเนนิ กิจกรรมของกลุ่ม 2. การรับรองมาตรฐานผลติ ภัณฑ์ ยังไมผ่ า่ นการคดั สรรจาก อย. 3. สถานท่ีในการดาเนินกจิ กรรมของกลุม่ 4. วัตถดุ บิ ในการใชผ้ ลติ ยังไม่เพียงพอตอ่ ความต้องการใช้ 5. กาลงั ในการผลิต และความรูก้ ารผลติ ยังไมเ่ พยี งพอ

  1. ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาปาุ ชุมชนเพื่อสร้างรายได้ 1. อยากให้มีบคุ คลากรทม่ี คี วามรมู้ าให้ความร้ดู า้ นการผลิต 2. อยากใหม้ ีการจดั สรรงบประมาณสนับสนนุ ในการดาเนินการ 3. อยากให้ผู้ที่มีความรู้ในการส่งเสริมด้านการตลาดมาช่วยแนะนาและส่งเสริมการจัดกิจกรรม

เพื่อใหบ้ คุ คลทั่วไปได้รจู้ ักกบั สนิ คา้ ผลิตภณั ฑ์ของชมุ ชน จากทกุ ภาคส่วนท่เี กีย่ วขอ้ ง 4. ต้องการปลกู พืชสมนุ ไพรเพิ่มในพืน้ ทีป่ ุาชมุ ชน เพ่ือเปน็ วัตถดุ ิบในการผลติ และตอ่ ยอดผลติ ภัณฑ์ 5. อยากให้สว่ นราชการสง่ เสริมการใชป้ ระโยชนจ์ ากชุมชนใหม้ ากข้นึ

  1. ความต้องการในการพัฒนาต่อยอดผลผลิต ผลิตภัณฑ์ หรือบริการจากปุาชุมชนท่ีสร้างรายได้ โดย ตอบเรียงลาดับจาก 1 คอื กจิ กรรมทตี่ อ้ งการการพัฒนาตอ่ ยอดแบบเร่งดว่ นหรอื เรว็ มากทสี่ ุด ไปถึง 2,3,4 และ 5 คอื กิจกรรมหรือการดาเนินการท่ตี ้องการการพัฒนาต่อยอดในลาดบั รองๆลงไป

รายการผลผลิต ผลติ ภัณฑ์ หรือ กจิ กรรมที่ต้องการพฒั นาตอ่ ยอด งบประมาณ(บาท) 100,000 บริการจากปาุ ชมุ ชนทส่ี รา้ งรายได้ 50,000 - แปลงปลูกเพม่ิ ปริมาณตน้ ข่อยในพน้ื ทป่ี ุา 50,000

ยาสฟี นั ข่อย ชุมชน จานวน 10 ไร่

- อุปกรณ์ในการผลิต เช่น เครือ่ งบดเปลือกข่อย

ตัวบรรจุภณั ฑ์ เครอ่ื งบรรจุยาสีฟันและอื่นๆ

ชาใบข่อย - อุปกรณใ์ นการผลิต เชน่ เครื่องอบ กระทะ

ทองเหลืองสาหรับใชค้ วั่ ใบข่อย

- บรรจุภัณฑ์และแพ็คเกจ

แชมพมู ะกรดู ย่านาง/แชมพูย่านาง - บรรจภุ ัณฑ์และแพ็คเกจ

บทท่ี 4 สรปุ ผล (รวมทงั้ ขอ้ เสนอแนะ)

เครอื ขา่ ยป่าชุมชนเขาราวเทียนทอง เครือข่ายปุาชุมชนเขาราวเทียนทองนี้เกิดขึ้นโดยการริเริ่มของชาวบ้านเขาราวเทียนทอง

หมู่ท่ี 10 หมู่ 13 และ หมู่ 18 อาเภอเนินขาม ซงึ่ เหน็ สภาพความเส่อื มโทรมจากการใช้ประโยชน์จากปุาอย่าง ล้างผลาญ รวมท้ังผลกระทบที่เกิดจากไฟปุา จึงได้เร่ิมรวมตัวกันเพ่ือจัดการปุาในปี พ.ศ. 2541 โดยเริ่มจาก การทาแนวกันไฟ การดับไฟปุา และปลูกต้นไม้เสริมพื้นท่ีปุา จนกระทั่งมีการสร้างกฎระเบียบและแผนการ จัดการปาุ รว่ มกนั จากการดาเนินงานมาเป็นระยะเวลากวา่ 6 ปี ปุามีสภาพดีข้ึน และชาวบ้านหมู่ 10 หมู่ 13 และหมู่ 18 เห็นว่าการจะดูแลรักษาปุาให้ดีย่ิงขึ้น คนที่อยู่รอบเขาราวเทียนทอง น่าจะเข้ามามีส่วนร่วมในดูแล รกั ษาปุา ดังนน้ั จึงเร่มิ ขยายความคดิ การดแู ลรักษาปาุ รว่ มกันไปยังหมู่บ้านอื่นๆ อีก 11 หมู่บ้านที่อยู่รอบเขาใน เขตการปกครอง 3 ตาบลคือ ตาบลกระบกเตี้ย อาเภอเนินขาม ตาบลเด่นใหญ่และตาบลไพรนกยูง อาเภอหันคา เพื่อให้เกิดการจัดการปุาเขาราวเทียนทองท้ังเทือกซ่ึงมีเนื้อที่ 22,969 ไร่อย่างมีส่วนร่วม การพัฒนาโครงสร้าง กลไกลเครือข่ายบนพื้นฐานการมีส่วนร่วมของชาวบ้านเมื่อจัดต้ังเป็นเครือข่ายปุาชุมชน 14 หม่บู ้านจะมีการคัดเลือกกรรมการเครือข่ายกลางจากคณะกรรมการแต่ละหมบู่ ้านจานวน 15 คน และยังมี คณะกรรมการที่ปรึกษาซ่ึงประกอบด้วยผนู้ าชมุ ชน พระ สถาบันการศกึ ษา นกั วิชาการด้านปุาชมุ ชน

การดาเนนิ กจิ กรรมเครอื ขา่ ยปาุ ชุมชนเขาราวเทยี นทอง จากการเขา้ ศกึ ษาพบว่า กลมุ่ ฯยังขาดบุคลากร ท่ีมีความรู้ในเรื่องการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ขาดความรู้ ความเข้าใจในการต่อยอดผลผลิต ผลิตภัณฑ์ และ การตลาด รวมท้ังงบประมาณในการดาเนินกิจกรรมของกลุ่ม จึงทาให้การต่อยอดผลิตภัณฑ์เพื่อให้เป็นท่ี ยอมรับ ผลติ ภณั ฑย์ ังไม่ผา่ นมาตรฐานขององค์การอาหารและยา(อย.)

ทงั้ น้ี ผลผลติ ผลติ ภณั ฑ์ ทกี่ ลมุ่ เครอื ข่ายปุาชุมชนเขาราวเทียนทอง ดาเนินกิจกรรมขึ้นมาได้เพราะเป็น ภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ ซึ่งเกดิ จากแรงบนั ดาลใจในการรวมกลมุ่ ทาไปแจกจ่ายให้กับประชาชนทั่วไปได้ทดลองใช้ตาม ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งของในหลวงรัชกาลที่ 9 จึงทาให้มีหน่วยงานเข้ามาช่วยสนับสนุนการดาเนินกิจกรรม จนทาให้สมาชกิ ของกลมุ่ ลดรายจา่ ยในครวั เรือน และเพ่ิมรายได้ ตอ่ ไป

ภาคผนวก

แบบประเมินศกั ยภาพกลุ่มสมาชกิ ป่าชมุ ชน เพ่ือการพัฒนาป่าชมุ ชนกา้ วสู่การสรา้ งเศรษฐกิจชมุ ชน(รายไดร้ ะดับชมุ ชน/ครวั เรอื น)

*******************

การวิเคราะห์กระบวนการทางานของกลุ่มสมาชกิ ป่าชมุ ชน โดยเทยี บเคียงตามเกณฑก์ ารประเมนิ วิสาหกจิ ชมุ ชน เพื่อประเมินศักยภาพการทางานของกลุ่มสมาชกิ

ปาุ ชุมชนสาหรบั เปน็ ขอ้ เสนอแนะแนวทางในการปรบั ปรุงและพฒั นางานการดาเนินงานของกลุม่ สมาชิกปาุ ชมุ ชน

ประเด็นการประเมินกระบวนการดาเนนิ งานของกล่มุ สมาชิกปาุ ชุมชน เพ่ือทราบศักยภาพของกลุม่ ฯ สามารถสรุปแต่ละประเดน็ แทนค่าด้วยคะแนน 3 ระดับ คือ

ระดับดี มีค่าเทา่ กบั 3 คะแนน ระดบั ปานกลาง มคี า่ เท่ากับ 2 คะแนน ระดบั ตอ้ งปรับปรุง มีคา่ เทา่ กับ 1 คะแนน จากนั้นหาค่าเฉล่ยี คะแนนโดยการรวมคะแนนทงั้ หมดที่ได้หารด้วยจานวนขอ้ คาถามท่ปี ระเมิน แล้วนามา เปรียบเทียบกับชว่ งคะแนนของแต่ละระดบั การพฒั นา ดังน้ี ระดบั ดี มีช่วงคะแนนระหว่าง 2.34 - 3.00 คะแนน ระดับปานกลาง มีชว่ งคะแนนระหว่าง 1.67 – 2.33 คะแนน ระดับต้องปรบั ปรงุ มชี ่วงคะแนนระหวา่ ง 1.00 – 1.66 คะแนน ควรรายงานเพ่ิมเตมิ ด้วยว่ามีประเดน็ ใดบา้ งท่ีต้องปรับปรงุ แบบประเมินศกั ยภาพกลุ่มสมาชิกปาุ ชมุ ชน ประกอบด้วยหวั ข้อ ดงั ต่อไปน้ี ส่วนท่ี 1 การประเมนิ กระบวนการ 1.ทิศทางการดาเนินงาน 2.การวางแผนการดาเนนิ งาน 3.การบรหิ ารตลาด 4.การจดั การความร้แู ละข้อมูลข่าวสาร 5.การบริหารสมาชกิ กลุ่ม 6.กระบวนการจัดการสนิ คา้ และบรกิ าร

ส่วนที่ 2 การประเมินผลลพั ธ์ ด้วยวธิ กี ารสอบถามแบบสมั ภาษณส์ มาชิกปุาชุมชน และกลุ่มสมาชกิ ปาุ ชมุ ชน