กรณ ย นภาษ เพ มเต ม และได เง นเยอะข น

คำนำ

รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึง่ ของวชิ าจิตวิทยาความแตกต่างระหว่างบุคคล (Psychology of Individual Differences) รหัสวิชา 01459428 จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเ์ พ่ือจัดทำคูม่ ือฝึกอบรมเพื่อเป็นแนวทางในการ ปฏิบัติตนเมื่อต้องไปทำงานต่างประเทศ โดยคณะผู้จัดทำได้เลอื กศึกษาค้นคว้าข้อมลู ประเทศออสเตรเลีย ซึ่งใน คู่มือประกอบไปด้วยสิ่งที่ต้องเตรียมพร้อมก่อนเดินทางไปออสเตรเลีย สิ่งที่ต้องปฏิบัติเมื่ออยู่ออสเตรเลีย และ ขอ้ มลู ทั่วไปเก่ยี วกับออสเตรเลยี เพ่อื แลกเปลีย่ นความรูใ้ นช้ันเรยี นและสามารถความรู้ทไี่ ดจ้ ากการจัดทำค่มู อื คร้ังนี้ ไปประยุกตใ์ ชก้ บั การทำงานในอนาคตได้

ในการจดั ทำรายงานประกอบการเรียนรูค้ รง้ั นี้ คณะผจู้ ดั ทำขอขอบพระคุณอาจารยน์ ฤมล เพช็ รทพิ ย์ ผู้ให้ ความรแู้ ละแนะแนวทางการศึกษา คณะผู้จัดทำหวงั วา่ รายงานฉบบั น้ีจะเป็นประโยชน์ต่อผอู้ า่ น หากมขี อ้ ผิดพลาด ประการใด คณะผูจ้ ดั ทำขอน้อมรับและขออภยั มา ณ ทนี่ ้ี

คณะผจู้ ดั ทำ

สารบัญ หนา้

ส่งิ ทีต่ อ้ งเตรยี มพรอ้ มก่อนเดนิ ทาง 2 เอกสารทใี่ ชส้ ำหรับการเดินทาง 3 ภาษาทใี่ ช้ 12 วฒั นธรรม มารยาทเบ้ืองตน้ ขอ้ ควรระวงั /สง่ิ ที่ไม่ควรทำ 12 วัฒนธรรมในทีท่ ำงาน 18 อาหารการกิน 20 การเมอื งการปกครอง ศาสนา ธงชาติ 26 สภาพภมู ศิ าสตร/์ ภูมิอากาศ/ฤดกู าล/โซนเวลา 27 ขอ้ มลู ดา้ นกฏหมายในการทำงานที่ออสเตรเลยี 34 ภาษี 38 39 สิ่งทต่ี อ้ งปฎิบตั เิ มอ่ื อยู่ออสเตรเลีย 40 ข้อมลู ท่พี ัก 45 แอปพลเิ คชนั่ แนะนำ 46 การคมนาคม 49 ข้อมูลดา้ นสุขภาพ 55 ข้อมลู ดา้ นการเงนิ - การแลกเปล่ยี นสกลุ เงนิ 60 - การขอเลขประจำตวั ผู้เสียภาษี 61 - การเปดิ บัญชีธนาคาร 63 66 ข้อมูลทวั่ ไปเก่ยี วกบั ออสเตรเลยี 72 สถานทที่ อ่ งเท่ียว/แหลง่ อารยธรรม วนั หยุดประจำชาติ/วันสำคญั /เทศกาลการเฉลมิ ฉลอง สนิ คา้ และของฝากจากออสเตรเลีย

บรรณานุกรม

1

บรษิ ทั Gemmie

บรษิ ัท Gemmie เป็นบริษัทท่ผี ลติ และนำเขา้ เก่ยี วกบั อัญมณีและเครื่องประดบั

คูม่ อื การฝึกอบรม เรอื่ ง แนวทางการปฏบิ ตั ิตนในการไปทำงานในออสเตรเลีย

(ระยะเวลาการส่งตวั พนกั งาน HR ระยะสน้ั 6 เดือน)

วัตถปุ ระสงค์ เพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากร โดยเป็นแนวทางให้เกิดความเข้าใจวัฒนธรรม

ลักษณะงาน และสามารถปฏิบัติงานในต่างประเทศไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงเป็นประโยชน์ต่อผูเ้ ขา้ รับการ ฝึกอบรมใหส้ ามารถเข้าใจข้นั ตอนและรายละเอยี ดของกระบวนการต่างๆ อนั ชว่ ยส่งเสริมใหเ้ กดิ การเตรยี มพร้อมใน การปฎบิ ตั งิ านท่ีจะสามารถเป็นไปได้อย่างราบรืน่ และเกิดประสิทธิผลสูงสุด สู่การสร้างความสําเร็จให้กับองค์การ ตามเปา้ หมายที่ตง้ั ไว้

2

สิ่งทตี่ ้องเตรยี มพร้อมกอ่ นเดินทาง

3

เอกสารทใ่ี ช้สำหรบั การเดินทาง หนังสอื เดนิ ทางพาสปอร์ต

หนังสือเดินทางบุคคลทั่วไป (ปกสีแดงเลือดหมู) ออกให้สำหรับประชาชนทั่วไป หนังสือเดินทางมีอายุ ไม่เกิน 5 ปี จะออกให้กับบุคคลสัญชาติไทยเท่านั้น ซึ่งมีอายุไม่เกิน 5 ปี และไม่สามารถต่ออายุได้อีก (เมอ่ื หมดอายุตอ้ งทำเลม่ ใหม่)

1. บุคคลบรรลนุ ติ ภิ าวะ อายุตง้ั แต่ 20 ปบี รบิ ูรณ์ เอกสารทีใ่ ช้มี ดังต่อไปนี้ - บัตรประจำตัวประชาชนที่ยังมีอายุใช้งาน หรือ บัตรข้าราชการ หรือ บัตรประจำตัวที่ใช้แทนตาม กฎกระทรวงมหาดไทยฉบับจริง (ในกรณที ี่เปน็ บตั รข้าราชการให้นำสำเนาทะเบียนบ้านมาดว้ ย) - ในกรณเี ปลยี่ นชือ่ -สกุล หรือวันเดอื นปีเกิด หรือขอ้ มูลอน่ื ใดที่ไมต่ รงกับบตั รประชาชน ต้องนำหลักฐาน ตวั จริงมาแสดงดว้ ย - ค่าธรรมเนยี ม 1,000 บาท (มอี ายุ 5 ปี) - ค่าธรรมเนยี ม 1,500 บาท (มอี ายุ 10 ปี) 2.ผูเ้ ยาวอ์ ายตุ ่ำกว่า 20 ปบี ริบรู ณ์ เอกสารท่ีตอ้ งเตรยี มมีดังต่อไปน้ี - บตั รประจำตัวประชาชนฉบับจรงิ ของผู้เยาว์ทย่ี งั มอี ายุใชง้ าน - สตู บิ ัตรฉบบั จริง (กรณผี ้เู ยาวอ์ ายยุ งั ไม่ถงึ 15 ปบี ริบูรณ์) - บัตรประจำตัวประชาชนฉบับจริงของบิดาและมารดา หรือผู้มีอำนาจปกครอง (หากบิดาหรือมารดา เปน็ ชาวตา่ งชาติ ให้ใช้หนังสือเดนิ ทางฉบับจริงของบิดาหรอื มารดา แลว้ แตก่ รณ)ี - บดิ าและมารดา หรอื ผ้มู อี ำนาจปกครอง จะตอ้ งมาแสดงตวั ต่อหน้าเจ้าหน้าที่ด้วย (กรณบี ิดาและมารดา หรือผู้มีอำนาจปกครอง ไม่สามารถมาแสดงตัวได้ จะต้องนำ หนังสือยินยอมของบิดาหรือมารดา หรือผู้มีอำนาจ ปกครอง ท่รี ับรองจากเขตหรืออำเภอ ทร่ี ะบกุ ารอนุญาตให้ผูเ้ ยาวเ์ ดินทางไปต่างประเทศ มาดว้ ย) - เอกสารอื่นๆ ที่จำเป็น อาทิ ใบเปลี่ยนชื่อ เปลี่ยนนามสกุล เอกสารหลักฐานการรับรองบุตรหรือรับ บุตรบุญธรรม ใบสำคัญการสมรส ทะเบียนสมรส ทะเบียนหย่า ทะเบียนบ้าน คำสั่งศาลกรณีระบุผู้มีอำนาจ ปกครองแทนบิดามารดา เปน็ ตน้ - ค่าธรรมเนียม 1,000 บาท ขัน้ ตอนการย่ืนขอหนังสือเดินทาง - รบั บตั รคิว - ยื่นบัตรประจำตวั ประชาชน (หรือสูตบิ ตั ร กรณีผู้เยาวอ์ ายยุ ังไม่ถึง 15 ปีบริบูรณ์) พรอ้ มเอกสารหลกั ฐาน อ่ืนๆ ทจ่ี ำเป็น เชน่ หลกั ฐานการเปล่ียนชื่อ นามสกุล ทะเบียนสมรส ฯลฯ - วดั ส่วนสูง เกบ็ ลายพิมพน์ ้ิวมือ น้ิวชีซ้ ้ายและนิว้ ชี้ขวาด้วยเครือ่ งสแกนเนอร์ และถ่ายรูปใบหนา้

4

- แจ้งความประสงค์ในการขอรบั เล่ม เช่น รบั ดว้ ยตวั เอง หรอื มอบหมายใหผ้ อู้ น่ื มารบั แทน หรือ ให้จัดส่ง ทางไปรษณีย์

- ชำระค่าธรรมเนียม 1,000 บาท (และค่าส่งไปรษณีย์ 40 บาท หากต้องการให้จัดส่งทางไปรษณีย์) รบั ใบเสร็จรบั เงิน และรับใบนัดรบั เลม่

การขอวซี า่

เอกสารท่ใี ชใ้ นการขอวซี า่ 1. หนังสอื เดินทาง (Passport) ทีม่ อี ายุใชง้ านครอบคลมุ ระยะเวลาวซี า่ ที่ขอ หรือ มีอายกุ ารใช้งานเหลือ อย่างน้อย 6 เดือน พร้อมสำเนา 2 ชุด โดยปกติทั่วไปแล้ว จะต้องไปทำ Passport หรือ หนังสือเดินทาง กับ ภาครัฐ 2.รูปถ่ายสี ด้านหลังเป็นสีอ่อน ขนาด 2 นิ้ว จำนวน 1 รูป กรณีใช้ไฟล์ภาพอัปโหลดรูป 800x800 px. ประเภทไฟล์ jpg. 3.สำเนาบตั รประชาชน 4.สำเนาทะเบยี นบา้ น 5.หลักฐานการทำงาน (ภาษาอังกฤษ)

- สำหรับผู้ที่เป็นลูกจา้ ง หรือข้าราชการ ใช้ จดหมายรับรองการทำงาน ระบุตำแหน่ง เงินเดือน อายุงาน และ วนั ลา หยดุ งาน

- สำหรับผูท้ เี่ ปน็ เจา้ ของกิจการ ใช้ หนังสือจดทะเบียนธรุ กจิ ทีร่ ะบุชือ่ ผยู้ ืน่ ขอวีซ่า - สำหรบั ผทู้ เี่ ปน็ นักเรียน หรอื นกั ศกึ ษา ใชจ้ ดหมายรบั รอง จากสถาบันการศกึ ษา 6.หลักฐาน การเงนิ ทพ่ี อเพียง กบั คา่ ใชจ้ ่ายในการเดนิ ทาง หลกั ฐานการเงิน จากธนาคาร หรอื สมดุ -เงิน ฝาก (ฉบับจรงิ ) แสดงบญั ชยี อ้ นหลัง 6 เดอื น 7.จดหมายเชิญ จากเพื่อน หรือ ญาติ ที่ออสเตรเลีย,หลักฐานแสดงความสัมพันธ์, หลักฐานการเงิน ของเพ่อื นหรอื ญาติ รวมถงึ หลกั ฐานการติดต่อระหวา่ งกนั (ในกรณี ท่ไี ปพกั บ้านเพ่ือน หรอื ญาต)ิ 8.หนังสอื หรอื จดหมายเชญิ จากบริษทั หรอื หน่วยงานในประเทศออสเตรเลยี (สำหรับวซี า่ ธรุ กจิ ) 9.ใบเปลย่ี นชอื่ -นามสกลุ (ถา้ มี) 10.แบบฟอร์มคำรอ้ งขอวีซา่ ทก่ี รอกข้อมูลครบถว้ น - คา่ ธรรมเนียมวีซ่า ออสเตรเลีย ทอ่ งเทีย่ ว, ธุรกจิ 150 AUD - ค่าดำเนินการของศูนย์รับยื่นวซี า่ VFS ออสเตรเลยี 735 บาท - ระยะเวลาในการพิจารณา และ ดำเนินการอนมุ ตั วิ ซี า่ ประมาณ 10 วนั ทำการ

5

- ผู้เดนิ ทางต้องสแกนลายนว้ิ มือ ท่ศี นู ยย์ ื่นวีซา่ ออสเตรเลยี

สำหรับผู้เดินทางที่อายุ 75 ปีขึ้นไป ต้องมีใบรับรองแพทย์ ว่าสามารถเดินทางได้ และ ประกันสุขภาพ สำหรับการเดินทาง

กรณีเด็กอายุตำ่ กวา่ 16 ปี ณ วันที่ไปยื่นวีซา่ ต้องมบี ิดามารดา/ผปู้ กครองตามกฎหมายมาให้ความยินยอม ในการเดินทางด้วย และ จำเปน็ ต้องมีบิดามารดา/ผู้ปกครองตามกฎหมายอยู่ด้วยในขณะทเี่ ก็บข้อมลู

6

การขอวซี ่าออสเตรเลยี วซี า่ มี 2 ประเภท คือ วีซา่ ชวั่ คราว (Non-Immigrant Visa) และวีซา่ ถาวร (Immigrant Visa) โดยการรับรองสถานะการเข้าประเทศ และใหอ้ ยู่ในประเทศได้ภายในระยะเวลาทก่ี ำหนด ขน้ึ อยู่กับวตั ถปุ ระสงค์ ทผ่ี ู้เดนิ ทางได้ยื่นขอไวก้ ับทางสถานทตู ประเภทวซี ่าชวั่ คราว

ประเภทวซี ่าถาวร

7

การขอวีซา่ เพ่ือกิจกรรมชว่ั คราว วีซ่าชั่วคราว (Non-Immigrant Visa) วีซ่าชั่วคราว เป็นวีซ่าสำหรับผูท้ ี่ต้องการเดินทางไปทอ่ งเที่ยว ทำธุรกิจ เรียนหนงั สือ หรือมาทำงานโดย

พำนักในประเทศออสเตรเลยี ในชว่ งระยะเวลาหน่ึง เพ่อื วัตถปุ ระสงคบ์ างอย่างเป็นการเฉพาะ ตามที่กฎหมายและ ขอ้ บงั คับว่าด้วยเรอ่ื งวซี ่าของประเทศออสเตรเลยี ไดร้ ะบุไว้

โดยผยู้ ืน่ คำร้องขอวีซ่าชั่วคราวส่วนใหญจ่ ะตอ้ งแสดงให้เจา้ หน้าที่กงสุลเห็นว่าต้ังใจท่ีจะเดินทางออกนอก ประเทศออสเตรเลยี หลงั จากท่กี ารพำนกั ชวั่ คราวนนั้ สน้ิ สดุ ลง

วีซ่าทำงานช่ัวคราว (ประเภท 400) ผู้ที่ประสงค์จะเดินทางเข้าประเทศออสเตรเลีย เพื่อทำงานระยะสั้น โดยต้องเป็นงานที่ไม่ต่อเนือ่ งและ ใช้ความเชี่ยววชาญเฉพาะด้านสูง หรือเป็นผู้ที่ได้รับการเชิญจากหน่วยงานในออสเตรเลียให้เข้าร่วมกิจกรรม ทางด้านสังคมหรือวฒั นธรรม โดยหนว่ ยงานนน้ั ต้องเป็นหนว่ ยงานที่ดำเนนิ การอยา่ งถกู ต้องตามกฎหมาย วีซา่ เพอื่ การทำงานน้จี ำแนกผู้สมคั รออกเปน็ 3 ประเภท 1. ผู้สมัครที่มีความเชี่ยวชาญพิเศษเฉพาะทาง สำหรับผู้ที่ประกอบอาชีพอยู่นอกประเทศออสเตรเลีย มคี วามสามารถเฉพาะทาง และจำเป็นต้องเดินทางเข้าประเทศเพื่อทำงานระยะสน้ั ในกรณีนไี้ ม่รวมถงึ ผู้ท่ีต้องการ ทำงานระยะสั้นในตำแหน่งประจำ หรือประสงค์เข้าไปทำงานในตำแหน่งหน้าที่ชาวออสเตรเลียทั่วไปก็มี ความสามารถเฉพาะทางด้านน้ี 2. ผู้สมัครได้รับคำเชิญให้เข้าร่วมงาน หมายถึงผู้สมัครที่เข้าไปร่วมงานที่หน่วยงานทา งประเทศ ออสเตรเลียไดจ้ ดั ข้นึ และตอ้ งไม่ได้รบั เงนิ ค่าจ้างจากหน่วยงานท่ีออสเตรเลยี 3. ผู้สมัครที่เอื้อประโยชน์แก่หน่วยงานของประเทศออสเตรเลีย สำหรับผู้สมัครที่ไม่เข้าข่ายคุณสมบัติ ทั้ง 2 แบบเบ้ืองต้นในกรณีทเ่ี จ้าหน้าทเ่ี ห็นวา่ ผู้สมคั รมเี หตุผลอนั สุดวิสัยควรแกก่ ารอนุมัติเพอ่ื ประโยชน์แก่ประเทศ ออสเตรเลียโดยส่วนรวม วธิ ีสมัครวซี า่ ออสเตรเลยี มี 2 แบบ 1. ผา่ นระบบออนไลน์ (Online)

- สรา้ งบัญชผี ู้ใช้ - กรอกแบบฟอร์มออนไลน์ - ผ้สู มัครต้องย่ืนใบสมัครพรอ้ มกับแนบเอกสารท่ใี ชป้ ระกอบการพิจารณา โดยการถา่ ยโอนข้อมูล (Upload JPEG/PDF Files) เมื่อสมคั รเสรจ็ แล้ว จะได้รบั อเี มลลย์ ืนยันการสมคั ร ใหค้ ลกิ อีเมลลก์ ่อนเรม่ิ ใชง้ าน 2. การยน่ื เอกสารผ่านศูนย์รับคำร้องขอวีซา่ (VFS) - การยนื่ คำร้องด้วยตนเอง ทำไดเ้ ฉพาะวซี ่าบางประเภทเทา่ นน้ั เชน่ วซี า่ ท่องเทย่ี ว

8

- กรอกข้อมลู ตามความจริงเป็นภาษาอังกฤษ (ปัจจุบันในแบบฟอร์มมภี าษาไทยกำกบั งา่ ยตอ่ การตอบมากขึ้น)

- เตรยี มเอกสารประกอบการพจิ ารณา - เตรยี มจองคิวในข้นั ตอนตอ่ ไป ทัง้ น้ี การสมัครวซี ่าทง้ั 2 แบบ ผขู้ อวซี า่ จะตอ้ งเดนิ ทางไปศนู ย์รับคำรอ้ งขอวซี ่าเพ่ือเก็บข้อมูลรูปถ่ายและ ลายนิ้วมอื (ไบโอเมตทรกิ ซ์)

สถานทย่ี น่ื ขอวซี า่ ออสเตรเลยี มี 2 แหง่ 1. ศนู ย์ย่ืนวซี ่า (VFS) ออสเตรเลีย จงั หวดั กรุงเทพ (ประจำประเทศไทย)

ทีต่ ัง้ : ชั้น 28 อาคารเดอะเทรนดี้ ออฟฟิศ ซ.สขุ ุมวทิ 13 แขวงคลองตนั เหนือ เขตวฒั นา กรุงเทพฯ 10110 (ใกล้รถไฟฟ้าสถานีนานา ทางออกเลข 3) เปดิ ทำการ : วันจันทร์-วันศกุ ร์ เวลา 08.30-16.30 น. ยกเว้นวันหยดุ ของสถานทตู ออสเตรเลีย เวลายน่ื ใบสมคั รและเก็บข้อมลู ไบโอเมตทริกซ์ : 08.30-15.00 น. เวลารบั ผลพจิ ารณา : 10.00-16.30 น. โทร : 02-118-7100 อเี มลล์ : [email protected] เวบ็ ไซต์ : vfsglobal.com/Australia

2. ศนู ย์ยน่ื วีซ่าออสเตรเลยี จังหวัดเชียงใหม่ ทต่ี ้ัง : 191 อาคารศริ ิพานชิ ชั้น 6B ถ.หว้ ยแก้ว ต.สุเทพ อ.เมอื ง จ.เชยี งใหม่ 50200 เปิดทำการ : วันจนั ทร์-วนั ศกุ ร์ เวลา 08.30-15.30 น. ยกเว้นวันหยุดของสถานทตู ออสเตรเลยี เวลายืน่ ใบสมคั รและเก็บข้อมูลไบโอเมตทรกิ ซ์ : 08.30-14.30 น. เวลารับผลการพิจารณา : 14.30-15.30 น. หมายเหตุ : ผขู้ อวีซา่ จะตอ้ งนัดคิวก่อน จึงจะยืน่ ขอวซี ่าออสเตรเลยี ได้

ใบผา่ นการตรวจโรค การตรวจสุขภาพเพ่ือขอวซี ่าเข้าประเทศออสเตรเลีย (Australia Health Check) จะทำภายหลังการย่ืน

ใบสมัครวีซ่าแล้วเท่านั้น โดยเจ้าหน้าที่สถานทูตจะจัดส่งจดหมายให้ดำเนินการตรวจสุขภาพ (Australia Health Examination) ทางอีเมล (e-mail) ที่ระบุชื่อผู้ที่สถานทูตต้องการให้ไปตรวจสุขภาพรวมถึงรายละเอียดรายการ วา่ ตอ้ งตรวจอะไรบ้าง เชน่ ตรวจ HIV, Chest X-ray, Medical Examination และเลขหมายเพ่ือการตรวจสขุ ภาพ (HAP ID) ผสู้ มคั รจะต้องนำจดหมายนไ้ี ปใหแ้ พทย์ใช้เป็นข้อมูลในการนำส่งผลการตรวจทางอิเล็กทรอนิกส์

9

10

11

12

ภาษาที่ใช้ ภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาประจำชาติของออสเตรเลีย ประชากรในออสเตรเลยี พดู ไดห้ ลายภาษา แตเ่ พ่อื ทจี่ ะ

มสี ่วนรว่ มในชวี ติ ของชาวออสเตรเลียท่านจำเป็นทีจ่ ะตอ้ งพดู และเขา้ ใจภาษาองั กฤษ

วัฒนธรรมของออสเตรเลีย ชาวออสเตรเลียมักจะแสดงความนบั ถือให้กบั ผู้ทีม่ คี วามรู้ความสามารถอย่างแทจ้ ริง ลักษณะนิสัยส่วน

ใหญ่เป็นคนถ่อมตัวในความสำเร็จ มารยาทเบื้องต้น

มารยาทในการทักทาย ชาวออสเตรเลียจะทักทายด้วยการจับมือกันด้วยมือขวา (shake hand) โดยก็ควรจับมืออีกฝ่ายแน่นๆ เพราะการจบั มือเพียงเบาๆ นนั้ แสดงออกถงึ ความไมเ่ ต็มใจทักทายอกี ฝ่าย ซึ่งถอื ว่าเป็นการกระทำท่ีไมส่ ภุ าพ และ ทส่ี ำคัญควรสบตาอีกฝา่ ยด้วยในระหวา่ งการจับมอื เพราะถอื ว่าเปน็ การแสดงความเคารพนัน่ เอง ซ่ึงหากสนทิ สนม กันมากข้ึนจะจุบ๊ แกม้ กนั (cheek kissing) และหากเปน็ เคยสนทิ ท่รี ู้จกั กนั มานาน เพือ่ นรัก คนในครอบครวั หรอื คนทเ่ี ราช่นื ชมปล้มื มาก จะกอด • การเรียกชื่อคนอืน่ ปกติแล้วชาวออสเตรเลียจะมีสองชื่อ ได้แก่ ชื่อตัวเอง (ชื่อ) กับชื่อครอบครัว (นามสกุล) สำหรับคนที่อายุเท่ากัน หรืออ่อนกวา่ ให้คุณเรียกชือ่ ส่วนคนท่ีอายุแกก่ วา่ คณุ ให้คุณเรียกวา่ Mr. Mrs. หรือ Ms. ตามดว้ ยนามสกลุ จนกวา่ คุณจะสนทิ กันดหี รือจนกวา่ เขาจะบอกใหค้ ุณเรยี กชอื่ • เมอ่ื มคี นหรือเพ่อื นมาเย่ยี มบา้ น หากมีเพือ่ นมาเยยี่ มบ้าน หรือเยยี่ มเราทีห่ อ้ ง ไม่ควรเสริ ฟ์ น้ำเปล่า แต่ใหถ้ ามเขาว่าอยากจะได้อะไร น้ำผลไม้ ชา หรือกาแฟ และทำมาใหเ้ ขา มิฉะนั้นจะถือวา่ เป็นการดถู กู แขกท่มี าเยือนได้ • กล่าวคำทกั ทาย และขอบคุณ - โดยทั่วไปแล้วชาวออสเตรเลียจะไม่ได้ทักทายกันแบบเป็นทางการมากนัก จะเน้นความสบายๆ ให้ท้ัง สองฝ่ายที่พบกันรู้สึกผ่อนคลายมากกว่า คนออสซี่มักทักทายกันด้วยคำว่า G'Day หรือ G'Day Mate เป็นศัพท์แสลงยอ่ มาจาก “Good day mate” มีความหมายประมาณว่า “เป็นไงเพื่อน” หรือหากยงั ไม่ คนุ้ เคยกบั ประโยคนี้ จะทกั ทายด้วยคำภาษาองั กฤษทัว่ ไปอย่าง “Hello” และ “How are you?” ก็ได้ - เมื่อคุณขึน้ รถประจำทาง การขึ้นรถประจำทางท่ีไทยคือการเดินขึ้นและไปนัง่ เท่านั้น แต่ที่ออสเตรเลยี กอ่ นข้นึ รถประจำทาง คุณจะต้องกล่าวคำทกั ทาย Say Hi หรือ Good Morning , Good Afternoon กับ คนขับด้วย และเมื่อถึงที่หมายก็ควรที่จะกล่าวขอบคุณ Thank you หลังจากแตะบัตรหรือจ่ายเงินค่า

13

โดยสารเสร็จเรียบร้อยแล้ว เพื่อเป็นการขอบคุณที่เขาช่วยขับมาส่งเรา สำหรับการลงรถหากเป็นประตู ดา้ นหลังใช้วธิ กี ารยกมอื ใหแ้ ละหันไปมองกระจกของคนขบั แทนการพูดขอบคณุ ได้ - การยกมอื ขอบคณุ ยงั สามารถใช้ระหว่างข้ามถนนหรือขับรถได้ ในกรณที ต่ี ้องการขอบคุณ เป็นภาษามือ อย่างหนงึ่ ท่ีใชก้ ันประจำในออสเตรเลยี - การทักทายคนแปลกหน้าเปน็ เรื่องปกติ บางทีเวลาเดินสวนกันในละแวกที่เราอยู่อาศัย หรือออกไปวิ่ง ตอนเช้า ๆ แมแ้ ต่เขา้ ออกลิฟต์ จะมกี ารทกั ทาย say “Hi” ถามสารทุกข์สขุ ดบิ บางครง้ั กม็ กี ารคอมเม้นท์ หรือสร้างบทสนทนา เชน่ เราซ้ือขนมเยอะแยะเครอื่ งด่มื มากมายเดนิ เขา้ ลิฟต์ อาจมีการทกั แบบ “Having a big party tonight?” หรอื “That’s a lot of shopping” เปน็ ตน้ - การขอบคุณ Thanks, Thank you และ การขอโทษ Excuse me, I'm sorry เป็นสิ่งหนึ่งที่คนไทย อาจจะไม่คุ้นชิน โดยเฉพาะเมื่อได้รับการบริการจากพนักงาน คำเหล่านี้ควรพดู ให้ติดปากเมือ่ ถงึ เวลาที่ เหมาะสม เปน็ เหมอื นการให้เกียรติซึง่ กันและกนั และอีกคำที่ไมค่ วรลมื คือ Please หรือ Yes Please เม่อื รอ้ งขอให้คนทำอะไรบางอย่างให้

• มารยาทการทานอาหาร - ร้านอาหารส่วนใหญ่จะมีปา้ ย “Please wait to be seated” ตรงทางเขา้ ร้าน คอื ใหเ้ รารอพนักงานมา พาเราไปที่โต๊ะ แต่ถึงไม่มีป้ายก็ตาม เป็นมารยาทที่ดีที่ควรรอให้พนักงานเข้ามาต้อนรับก่อน แต่หาก สังเกตเห็นคนอ่ืนเดนิ เขา้ ร้านตามสะดวกกต็ ามเขาได้เลย - คนส่วนใหญ่นยิ มส่ังของทานเล่น entrée/ starter มาทานก่อนอาหารจานหลกั main - เวลาทานอาหารในร้านแบบบริการตัวเอง เช่น ร้านฟาสต์ฟู๊ดอย่าง McDonald เราต้องเก็บขยะ ถาด อาหารไปไว้ในทีท่ ิง้ หรือที่วางด้วย หรือแมแ้ ต่การนง่ั ทานอาหารใน food court เมื่อลกุ จากโต๊ะ โต๊ะควร จะสะอาดปราศจากเศษขยะและคราบอาหาร - การทานอาหารเหลือแล้วห่อกลับบ้านเป็นเรื่องปกติ สามารถเรียกพนักงานขอใส่กล่องกลับบ้านได้ โดยส่วนใหญจ่ ะคิดเงนิ คา่ กล่อง แต่บางร้านก็อาจจะไมค่ ดิ เงนิ - บางรา้ นอาหารเราตอ้ งสง่ั และจ่ายเงนิ ก่อนถงึ จะมานงั่ ที่โตะ๊ ได้ - การจ่ายเงินทีร่ ้านอาหาร ส่วนน้อยจะมาเก็บที่โต๊ะ ส่วนมากคอื เราจะต้องขอบิล แล้วนำบิลหรือจำเลข โต๊ะเดินไปจ่ายเงินที่เคาน์เตอร์ใกล้ทางออก พนักงานมักถามว่า อาหารหรือการบริการเป็นอย่างไรบ้าง การจ่ายเงินบางรา้ นเราสามารถขอ Split bills (จา่ ยส่วนของใครของมัน) ได้ แตบ่ างรา้ นจะให้จ่ายแค่โต๊ะ ละบลิ เท่าน้นั - ไม่ต้องให้ทิป (Tips) แก่พนักงาน แต่บางร้านก็จะมขี วดโหลสำหรับให้เงินทิปอยู่ตรงเคาน์เตอร์จ่ายเงิน หากเราตอ้ งการตอบแทนการบริการของพนกั งาน

14

- การดื่มแอลกอฮอล์ช่วงกลางวันเป็นเรื่องปกติ การดื่มแอลกอฮอล์เวลานัดคุยงานส่วนตัว หรือที่ รา้ นอาหารเป็นเรอ่ื งปกติ เหมอื นเปน็ การดม่ื เพอื่ รแี ลกซ์ เพอื่ เข้าสงั คม ปกตจิ ะไมเ่ กิน 1 เสิรฟ์ มาตรฐาน

• มารยาทบนโต๊ะอาหาร คุณสามารถใช้นิ้วหยิบอาหารในมื้ออาหารแบบไม่เป็นทางการได้ อย่างเช่น การปิกนิก การปิ้งบาร์บีคิว

หรือระหว่างกินอาหารแบบเอากลับไปกินนอกร้าน แต่หากคุณต้องไปทานอาหารที่ร้านอาหาร ที่บ้านเพื่อน ชาวออสเตรเลีย คณุ ก็ต้องใชช้ ้อนสอ้ ม แต่ถ้าคุณไม่ร้วู า่ จะใชอ้ ุปกรณใ์ ดกบั อาหารมือ้ ใดมอ้ื หนงึ่ กใ็ ห้ถามหรอื ทำตาม คนอ่ืนๆจะไดไ้ มพ่ ลาด ซ่ึงการใชส้ ้อมคณุ ควรถอื สอ้ มด้วยมอื ซ้าย ถอื มีดดว้ ยมือขวา และไมค่ วรวางขอ้ ศอกไวบ้ นโต๊ะ ควรจะมแี ต่มือเท่านน้ั ทีอ่ ยู่เหนือโต๊ะในขณะที่คุณรบั ประทานอาหาร

ส่วนใหญ่การทานอาหารจะจานใครจานมัน นอกจากจะเป็นอาหารประเภทที่แชร์ได้ อย่างกับแกล้ม ซึ่ง เวลาไปทานในรา้ นจะเป็นเมนหู ัวขอ้ “To Share” หรือถา้ ไปทานอาหารตา่ งชาตทิ ี่มวี ฒั นธรรมการแชรอ์ าหารอย่าง ไทย หรอื จีน ก็อาจจะแชรไ์ ด้ เราจะรูไ้ ดอ้ ยา่ งไรว่าตอนไหนถงึ จะแชร์อาหารตอนไหนถึงจะไมแ่ ชร์ งา่ ย ๆ เลย คือ ถา้ คนท่ไี ปดว้ ยเค้าไมถ่ ามว่าเราจะแชร์กนั หรือไมห่ รอื ทานใครทานมัน ก็ใหเ้ ราตัดสินไปกอ่ นเลยว่า ทานใครทานมนั

ส่วนใหญท่ กุ คนจะรอใหอ้ าหารมาพร้อมทุกจานสำหรับทกุ คนแล้วถึงทาน แตใ่ นบางกรณที ีไ่ ม่ทางการมาก อาจเรมิ่ ทานก่อนได้หากมีคนเชญิ ให้ทานกอ่ น

• มารยาทในเรือ่ งการสูบบุหรี่ ออสเตรเลียจะเครง่ ครัดในเรื่องการสูบบหุ รี่มาก โดยที่นี่จะหา้ มสูบบุหรี่ในอาคารของรัฐบาล และระบบ

ขนส่งสาธารณะ เช่น เทีย่ วบินในประเทศและนานาชาติ รวมถึงในร้านอาหาร และสถานทีจ่ ดั งานเล้ียง (Licensed venues) เกอื บทุกแหง่ หากตอ้ งการสูบบุหร่ีให้ออกไปนอกบริเวณท่ีสามารถสูบบุหร่ไี ด้ และหากคุณไปเยี่ยมบ้าน เพื่อนหรือญาติ ก็ต้องขออนญุ าตพวกเขากอ่ นการสูบบหุ รท่ี กุ ครั้ง

• มารยาทในการไปรว่ มงานเลี้ยง - งานแตง่ งานของชาวออสเตรเลยี คนไปรว่ มงานจะไมม่ กี ารใสซ่ อง แต่เจา้ บา่ วเจ้าสาวจะบอกมาเองเลยว่า อยากได้ของขวัญอะไร และเราก็ควรจะเลอื กซ้อื ส่งิ ท่ีคูบ่ ่าวสาวต้องการไปให้ - BYO (Bring Your Own) วัฒนธรรมการดื่มอย่างหน่ึงของคนออสซี่ คือ หากมีการชกั ชวนไปรว่ มปารต์ ี้ หากคุณได้รับเชิญ ให้ไปร่วมงานปาร์ตี้หรืองานปิ้งย่างบาร์บีคิว โดยทั่วไปแล้วแขกจะต้องนำเครื่องดื่ม อย่างเช่น ไวน์หรือเบียร์ ติดไม้ตดิ มือไปร่วมงานด้วย และคุณควรสอบถามเจ้าของงานว่า ต้องการให้นำ อะไรไปรว่ มแจมในปารต์ ้ีเพ่ิมอีกไหม เพ่ือเปน็ การให้เกียรตเิ จ้าของงาน หรอื หากไดร้ บั เชิญไปดินเนอร์มื้อ คำ่ ท่บี ้าน ซึ่งส่วนใหญ่เจา้ ของบ้านจะจัดเตรียมทกุ อย่างไวเ้ รียบร้อยแล้ว คุณควรหาของขวัญเล็กๆ น้อยๆ อยา่ งเช่น ดอกไมห้ รือชอ็ กโกแลต ไปใหต้ ามธรรมเนียมของชาวออสซ่ีดว้ ย - เครื่องด่ืมในโอกาสสังสรรค์ เช่น แชมเปญ หรือไวน์ ที่มีคนเทเสิรฟ์ ให้เรา ให้รอทุกคนไดเ้ คร่ืองดื่มครบ เจ้าภาพของงานกลา่ ว (toast) จบ ถงึ จะยกแก้ว ชนใหค้ รบ (หรอื แค่ชูแก้ว) และด่มื

15

• มารยาทในทสี่ าธารณะ - ออสเตรเลยี มีหอ้ งน้ำสาธารณะและจดุ บรกิ ารน้ำดืม่ ให้เราใชไ้ ดฟ้ รี จดุ บรกิ ารนำ้ ดืม่ ใชเ้ พ่อื ด่ืมน้ำและเติม ขวดนำ้ เทา่ น้นั หา้ มใชแ้ ทนอ่างลา้ งหน้า - ไม่ถ่มน้ำลายบนถนน เวลาจามหรือไอควรปิดปากและขอโทษ ซึ่งเป็นหลักปกติเช่นเดียวกับบ้านเรา แต่บางทีเราจะเห็นบางทคี นจะพูด “God bless you” หลงั จากทเ่ี ราจาม - ไม่ควรพูดคุยเสียงดังขณะอยู่บนรถสาธารณะ public transport โดยเฉพาะบริเวณท่ีมีป้ายบอกว่าเปน็ โซนไมใ่ ห้ใช้เสยี ง - ห้ามทานหรือด่ืมเครื่องดื่มบน public transport แม้ว่าเราจะไม่ตัง้ ใจดื่มเครื่องด่ืม แต่ถ้าคนขบั เห็นวา่ เราถอื แกว้ หรอื อะไรที่มนั สามารถกระเฉาะ ลม้ เท ไหล ได้แล้ว เค้าจะห้ามเราขึน้ รถ เราต้องทิง้ แกว้ ทันที - ให้คนลงจากรถ หรือออกจากลิฟต์ก่อน เปิดทางตรงหนา้ ประตูให้เขาลงสะดวก แม้ที่ออสเตรเลียส่วน ใหญ่จะไม่มีการทำสัญลักษณ์ตรงประตู แต่จะเป็นอันที่รู้กัน โดยการยืนรออยู่ข้างประตูเฉียงๆ และ ใหส้ ิทธิคนพกิ ารหรือคนที่ต้องการความช่วยเหลือกอ่ น เช่น ผสู้ ูงอายุ หญิงมีครรภ์ มีลกู เลก็ - ไม่ควรเดนิ หนา้ กระดานเกิน 2 คน หรือการเดินเป็นกลุ่มบนถนน และหากทางแคบควรหลบเพื่อให้พ้ืนที่ ให้คนสวนมา หรอื ให้คนข้างหลังสามารถแซงได้ โดยเฉพาะในเขตตวั เมืองท่มี ีคนใช้ทางเดนิ จำนวนมาก - เดนิ บนทางเท้า ยนื บนบนั ไดเลือ่ น ชิดซา้ ย ข้ึนรถบัสตอ้ งโบกมือเรียก ถ้าไมโ่ บกรถจะไมห่ ยุด ถา้ ไมม่ ีคนลงปา้ ยนน้ั อดขึน้ รถ โรงหนังบางแห่งจะไมม่ หี มายเลขทนี่ ง่ั หากใครอยากเลอื กทนี่ ง่ั กต็ อ้ งมาต่อแถวตั้งแต่เนน่ิ ๆ เท้าเปล่าในทีส่ าธารณะเปน็ เรอ่ื งปกติ เพราะทน่ี ่หี ากนกึ จะอยากถอดรองเทา้ เดนิ รา้ นสะดวกซอื้ กไ็ ม่ใชเ่ ร่อื ง พลิ ึก

การแตง่ กาย ด้วยอากาศที่ค่อนข้างจะรอ้ น และเมืองใหญ่ ๆ จะอยู่ใกล้ทะเล แฟชั่นการแต่งกายเกือบตลอดทั้งปีของ

ชาวออสเตรเลยี จะสบายมากๆ เชน่ การใสเ่ ส้อื ยืดแขนส้นั เสื้อกล้าม กางเกงขาสน้ั และแตะหนีบ (thongs/ flip- flops หลายคนอาจจะเคยเข้าใจผดิ คิดว่าพูดถึง thongs ชดุ ช้นั ในแบบเซก็ ซ่ี) แต่เปน็ ความหมายประมาณว่าพร้อม กระโจนลงทะเลตลอดเวลา เคร่อื งประดบั ประจำกายท่เี ห็นได้บอ่ ยชดั คอื แว่นกันแดด (sunnies = sunglasses) และหมวก สว่ นเครื่องแบบบางแห่งยงั เป็นเช้ิตแขนสน้ั และขาสั้นอีกด้วย อยา่ งไรก็ตาม สถานทบี่ างแห่งจะมี dress code เช่น ร้านอาหาร หรือสถานบันเทงิ ซ่งึ ส่วนใหญแ่ ลว้ ถา้ แตง่ เปน็ smart casual ก็นา่ จะผา่ นได้เกือบทกุ ที่

16

การใชช้ ีวติ ออสเตรเลียมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ผสมผสานกันหลายเชื้อชาติ เป็นประเทศเกิดใหม่

ผู้อยอู่ าศยั ส่วนใหญล่ ว้ นอพยพย้ายถ่ินฐานมาจากหลากหลายประเทศ การให้ความเคารพทางเชื้อชาติ ศาสนา และ วัฒนธรรม เป็นส่งิ สำคญั เปน็ อยา่ งมากในการอาศยั อยรู่ ่วมกนั ในประเทศออสเตรเลยี

- คู่รักนิยมอาศัยอยู่ด้วยกันก่อนแต่งงาน ชายหญิงอาศัยอยู่ในบ้านเดียวกันแบบ share-house/share mate เปน็ เรอ่ื งปกติ

- ส่วนใหญ่จะไม่มีคนรับใช้ (servant) หรือคนดูแลบ้าน (maid) ทั้งชายและหญิงมีหน้าที่ทำกับข้าว ทำความสะอาดบา้ น รบั ผดิ ชอบเร่ืองในบ้านเทา่ เทียมกัน

- คนออสเตรเลียไมถ่ อดรองเท้าเวลาเข้าหอ้ งหรอื บ้าน หากอยากให้คนทม่ี าบ้านเราถอดรองเท้าต้องบอก หรอื ติดป้ายว่ากรณุ าถอดรองเทา้ อาจจะต้องมรี องเทา้ ใส่อยูบ่ า้ น (slippers) เตรยี มไว้ใหแ้ ขกดว้ ย

- ชาวออสเตรเลียชอบธรรมชาติ การเดินปา่ เขา้ หาธรรมชาติ ไปต้งั แคมป์ ตกปลา เปน็ กิจกรรมปกติทีช่ าว ออสเตรเลียชอบทำกนั ไมต่ อ้ งแปลกใจถ้าวนั ดีคนื ดีเพอ่ื นชาวออสซี่จะชวนในวันหยุดว่าเราไปเดินป่ากันเถอะวันน้ี หรือชวนไปแคมป์แบบชิว ๆ กันแบบไม่ต้องวางแผน ถึงแม้ว่าออสเตรเลียจะขึ้นช่ือเรือ่ งสัตว์มพี ิษมากมาย แต่คน ท่นี ีไ่ ม่มคี วามกลวั หรือกงั วลเลย ดูไดจ้ ากการใส่ขาส้ัน แขนสน้ั คีบแตะเข้าปา่

- คนออสซี่ใช้ชีวิตร่วมกันกับสัตว์ในท้องถิ่น เราอาจจะเห็นสัตว์เหล่านี้ในชีวิตประจำวันที่ออสเตรเลีย คอ่ นข้างบอ่ ย ซ่งึ อาจจะพบเหน็ แม้แต่ในเขตตวั เมืองก็ตาม ไมว่ า่ จะเป็น จงิ โจ้ วัลลาบี โคอาลา่ นก เปน็ ตน้ โดยสัตว์ เหลา่ น้ีมีกฎหมายคุ้มครองอยู่ ควรหลีกเล่ียงการเข้าใกล้ หรือให้อาหาร และสัตว์เหลา่ นย้ี งั คงถอื วา่ เปน็ สตั ว์ป่า อาจ มพี ฤติกรรมดุร้ายและทำอันตรายแกเ่ ราได้

ข้อควรระวัง/สิ่งทไ่ี มค่ วรทำในออสเตรเลีย - ไม่ต้องให้ทิปกับผู้ให้บริการชาวออสซี่ เพราะพนักงานได้รับค่าจ้างที่สมนำ้ สมเนื้อกับงานที่ทำอยู่แล้ว

ยกเว้นเมอื งใหญ่หากตอ้ งการใหก้ ไ็ มต่ อ้ งเยอะมาก - หากตอ้ งมีการทำกิจกรรมหรอื ไปทอ่ งเที่ยวบริเวณชายหาด หา้ มละเลยป้ายเตอื นหรือธงสีแดงท่ีปักเตือน

นกั ท่องเที่ยวเอาไวท้ ี่ชายหาดเด็ดขาด เพราะทะเลของออสเตรเลียค่อนข้างอนั ตราย มที ั้งฉลาม จระเข้ แมงกะพรนุ หรอื กระแสนำ้ ตา่ งๆ จงึ ไมค่ วรจะละเลยหรอื มองขา้ มความสำคัญของป้ายเตือนหรือธงสแี ดงท่ปี กั เตอื นนกั ท่องเท่ียว ไว้

- ห้ามลืมพกรม่ หมวก และครีมกนั แดดตดิ ตัว เน่อื งจากออสเตรเลยี เป็นประเทศท่ีแดดแรงมาก ดังนนั้ การ เตรยี มพร้อมรับมือกับแสงแดดและรงั สี UV จึงเป็นเรื่องที่ไม่ควรละเลย ควรพกหมวกหรอื ครีมกนั แดดไปด้วยเสมอ การทาครีมกันแดดระหว่างวันก็สามารถช่วยให้การทำงานของครีมมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และช่วยป้องกัน อาการผวิ ไหม้แดดได้

17

- ห้ามใหอ้ าหารหรอื สมั ผสั หมาปา่ ดิงโก้ เพราะเป็นสัตว์ปา่ หากไปให้อาหาร หรอื เข้าใกลม้ นั เกนิ ไป อาจถูก สัตว์ทำร้ายได้

- ห้างและร้านคา้ ที่ออสเตรเลยี ปิดเร็ว โดยจะเร่ิมปดิ ต้ังแต่ 6 โมงเย็น หากจะหาร้านขายของเปิดถึงเที่ยง คนื น้ันยาก ควรวางแผนวา่ จะซือ้ อะไรลว่ งหน้า

- ไมค่ วรถม่ นำ้ ลายหรอื ส่ังนำ้ มูกลงบนพืน้ เพราะไม่สภุ าพและสกปรก - ไม่ควรนำของมีค่าหรือเงินสดติดตัวเกินความจำเป็น เก็บรักษาหนังสือเดินทางไว้ในที่ที่ปลอดภัย ตลอดเวลา รวมทัง้ สำเนาหนังสือเดินทางและสำเนาเอกสารสำคัญประจำตัวอ่ืน ๆ เช่น บัตรประจำตัวประชาชน ทะเบียนบ้าน ควรถ่ายเกบ็ ไว้อยา่ งน้อย 2 ชดุ หรอื ถา่ ยรูปเซฟเกบ็ ไวใ้ นโทรศัพทม์ ือถือและอีเมลล์ - หากจะขับรถควรทจี่ ะตอ้ งศกึ ษากฏจราจรให้ชดั เจนและปฏิบัตอิ ยา่ งเคร่งครัด - ระวังเรื่องที่จอดรถ ควรดูให้แน่ใจว่าตรงไหนจอดฟรีและฟรีกีช่ ั่วโมง อย่าจอดเกินเวลาเพราะค่าปรับ แพงมาก - บนถนนทุกเส้น มจี ำกดั ความเร็ว สังเกตไุ ด้จากปา้ ยความเรว็ ท่ีติดอยูต่ ลอดทาง เพราะฉะนั้นอย่าขับเกิน ความเร็ว - หลีกเลี่ยงการเก็บของมีค่าไว้ในรถยนต์ แม้จะลงจากรถครู่เดียว หากมีความจำเป็นให้เก็บสัมภาระ ไวใ้ นกระโปรงทา้ ยรถยนต์ เมอ่ื เข้าทีพ่ กั กห็ ้ามทง้ิ กระเปา๋ ไวใ้ นรถ ให้นำของเข้าห้องไปให้หมด - อยา่ ทำลายขา้ วของตามสถานที่ทอ่ งเที่ยว เชน่ ขดี เชยี น ทำสัญลกั ษณห์ รอื ทำลายตน้ ไม้ มสี ิทธ์โิ รงขนึ้ ศาล กนั ได้งา่ ย ๆ - คำว่า “Root” ในประเทศออสเตรเลยี ถอื ว่าเปน็ คำหยาบมาก เพราะฉะน้ันอย่าไปเผลอพูดในท่ีสาธารณะ นะคะ เพราะว่าอาจจะโดนมองด้วยสายตาทน่ี า่ กลัว หรือว่าอาจจะโดนชกั สหี น้าใส่เอา - การเคารพความเป็นส่วนตัว การพูดคุยในบางเรื่อง อาจจะต้องระมัดระวังเป็นพิเศษเมื่อคุยกับเพ่อื น ร่วมงาน หรือแม้แต่เพื่อนบ้าน ซึ่งแตกต่างจากวัฒนธรรมของคนไทยที่มักจะถามเรื่องส่วนตัว สาระทุกข์ สุกดิบ แต่กับคนออสซี่การถามเรื่องส่วนตัวอาจจะถือว่าเป็นการก้าวกา่ ยรกุ ลำ้ ความเปน็ สว่ นตัว

18

วฒั นธรรมในท่ีทำงาน Work hard, Play harder วัฒนธรรมการทำงานและใช้ชวี ิตของชาวออสเตรเลียเป็นไปด้วยความสมดุล

ทุกคนทำงานตามหน้าท่ีด้วยความเป็นกันเอง พนักงานและลูกค้าพูดกันแบบสบาย ๆ เหมือนเพ่ือน ไม่มีพธิ ีรตี อง ตา่ งฝา่ ยตา่ งใหเ้ กยี รติซง่ึ กนั และกัน

1. ชาวออสเตรเลียมักไม่ปฏิเสธงานล่วงเวลา ถึงแม้ไมไ่ ด้เงินกต็ าม การทำงานสไตล์ชาวออสเตรเลยี คือ ทำงานหนักและจริงจังมาก เมอื่ ไหรท่ ม่ี งี านเร่งจนตอ้ งทำลว่ งเวลาพวกเขาก็แทบจะไมป่ ฏเิ สธเลยดว้ ยซำ้ ท้งั ๆที่การ ทำงานล่วงเวลา หรือ OT ที่นี่อาจไม่ได้ค่าตอบแทนในทุกกรณี บางบริษัทหากลูกจ้างคนไหนอยากขอทำ OT ก็ ต้องมีเหตุผลหนกั แนน่ ว่าทำไมต้องทำ มีความจำเปน็ มากน้อยแคไ่ หน นัน่ กเ็ พราะไม่ใหเ้ กดิ ปญั หาเร่ืองค่าจ้างแบบ เปลา่ ประโยชน์ของตัวบรษิ ัทนนั่ เอง ทำใหเ้ กดิ การ fairness เพราะคณุ ทำงานเทา่ ไหร่ คณุ ไดเ้ งินเทา่ นั้น ทำงานต่อ สัปดาห์คือ 38-40 ชั่วโมงเกินน้ีก็ต้องจ่ายเพ่ิม โดยกฏหมายที่น่ีให้ความคุ้มครองพนักงานทีท่ ำงานในแต่ละบริษทั อยา่ งเครง่ ครัดมาก ค่าแรงข้นั ต่ำ $19.50 ต่อชัว่ โมง โดยค่าแรงขัน้ ต่ำจะต่างกันไปในแต่ละรฐั และถ้าเป็นวันหยุด public holiday พนกั งานจะไดค้ ่าแรงเพมิ่ ถงึ 2.25 เทา่ สำหรับใครทท่ี ำชว่ ง weekends ก็จะได้ค่าแรงเพ่ิงข้ึนต่อ ช่ัวโมงเชน่ กนั ถ้านายจา้ งคุณไม่จา่ ยเงินตามค่าแรงขน้ั ต่ำ คณุ แค่เข้าไปรายงานท่ีเวบ็ ไซต์ ทางบริษทั สามารถถูกปรับ ได้มากถงึ 6 หม่นื ดอลลาร์เลย

2. การ fairness ด้านสุขภาพกายและจิตใจ พนักงานทุกคนควรไดส้ วสั ดิการ holiday 4 สัปดาหต์ อ่ ปี ถ้า ใช้ไม่หมดสามารถทบไปใชต้ อ่ ได้ในปถี ดั ไปหรือเบกิ คืนเป็นเงนิ ได้

3. การตรงต่อเวลา โดยความหมายของคำว่า “ตรงต่อเวลา” ของชาวออสเตรเลียไม่ใช่การมาตามเวลา แบบเป๊ะๆ แตต่ ้องมาเตรียมตวั ก่อนเวลาเริม่ งาน เพราะท่ีออสเตรเลยี เมอื่ ไหร่ทีค่ ุณสายเพียงไม่กน่ี าที ก็อาจทำให้ เพอ่ื นร่วมงานของคุณรู้สกึ เสยี เวลาได้

4. มักใชค้ ำแสลงในการสื่อสาร เพอื่ ความกระชบั ฉบั ไว โดยส่วนใหญ่มกั ใช้คำแสลงหรือการตดั คำให้สั้นลง มากๆในการสื่อสาร เพื่อการทำงานอย่างรวดเร็วที่สุด ยกตัวอย่างเช่น ‘Document’ เป็น ‘Doco’ หรือ ‘Excel spreadsheets’ เป็น ‘Spreadies’ หรือ Stubby หมายถึง เบียร์ Durry หมายถึง บุหรี่ และ ‘PowerPoint presentation’ เป็น ‘Presos’ เป็นตน้

5. นิยมใช้ยานพาหนะส่วนตัวในการเดินทางไปทำงาน ซึ่งยานพาหนะในที่นี้ ไม่ใช่ ‘รถยนต์’ เสียทีเดียว จรงิ ๆแล้วชาวออสเตรเลียหลายคนท้ังในเมอื งและชาญเมืองมกั นยิ มเป็นจำพวก สกตู เตอรไ์ ฟฟ้าและจักรยาน ส่วน ในเมอื งใหญก่ จ็ ะมีผใู้ ชร้ ถสาธารณะเพิ่มมากข้ึนเช่นกนั

6. การพูดแบบเปิดอก ที่ออสเตรเลียทุกคนจะมีสิทธิ์มีเสียงและสามารถออกความเห็นได้อย่างอิสระ ดว้ ยนสิ ยั ของชาวออสซ่ีท่ีตรงไปตรงมา หัวหนา้ งานมกั จะคอยกระตุน้ ลูกนอ้ งให้แบง่ ปันความคดิ เหน็ เสมอ การพูด สิ่งทีค่ ดิ ไม่ใชป่ ัญหาของการทำงาน เพราะพวกเขาเช่ือว่าการสื่อสารอย่างตรงไปตรงมานั้นงา่ ยมากและแสดงออก ถงึ ความซอ่ื ตรงมากกวา่

19

7. คลั่งรักกาแฟ อย่างที่หลายคนทราบกันดีว่า ชาวออสเตรเลียหลงใหลและชื่นชอบการดื่มกาแฟมาก ในบริบทที่ทำงานก็มักจะมีการพักดื่มกาแฟบ่อยๆ ที่มากไปกว่านั้นในเวลางานก็จะอนุญาตให้พนักงานสามารถ ออกไปซ้ือกาแฟข้างนอกได้ เมอื่ ไหร่ก็ตามทต่ี ้องการ จนกาแฟกลายมาเปน็ สว่ นสำคญั ในการทำงานไปแล้ว ซ่ึงก็เคยมสี ถิติบอกไวว้ ่า “ชาวออสเตรเลียทงั้ หมดเสียเงินไปกับค่ากาแฟต่อปีถงึ 800 ลา้ นเหรียญ หรือหากคิดเป็น รายบคุ คล แต่ละคนจะบรโิ ภคกาแฟไปกวา่ 5 กโิ ลกรัมต่อปี”

8. เข้าสังคมในขณะทำงาน ถึงแม้การทำงานจะตึงเครียดและจริงจัง แต่ชาวออสเตรเลียก็ชื่นชอบการ พบปะ พดู คยุ กับเพือ่ นร่วมงานระหว่างงานด้วย เป็นเหมอื นการเพมิ่ ความสนิทสนมและผกู พนั ธมิตร เพราะเหตุน้ี เองชาวออสเตรเลยี หลายคนจงึ เลอื กที่จะไม่เข้าสังคมหลงั จบงาน อารมณเ์ ลกิ งานก็แยกยา้ ยกนั กลับบา้ นไปใช้เวลา กบั ครอบครัว ไม่ได้นัดไปปารต์ ีน้ อกรอบ ส่วนการสังสรรค์ โดยปกตแิ ล้วชาวออสเตรเลยี ส่วนใหญ่มักเลือกออกไป ปาร์ต้กี นั คนื วนั พุธ ในขณะทห่ี ลายประเทศรวมไทยมักเลือกเปน็ คืนวนั ศุกร์

9. Work life balance วัฒนธรรมการทำงานของชาวออสเตรเลียถึงแม้จะขมักเขม่นกับงานมากแต่หาก ว่าถึงเวลาตอ้ งพัก พวกเขาก็จะเตม็ ทพ่ี อๆกับการทำงานเชน่ เดียวกนั

10. ความเคารพให้เกียรติกันในการทำงาน เราสามารถพูดได้อย่างเปิดกว้างมาก เช่น เรามองว่าไอเดยี บางอย่างท่ีหัวหน้าเสนอขึน้ มาอาจจะมีไอเดยี บางอย่างท่ดี ีกว่า หัวหน้าจะเปิดทางให้เราได้แสดงความคิดเห็นและ ยอมนำไปปรับใช้ ถ้าทกุ คนมองเหน็ วา่ ดกี วา่ แม้แตใ่ นการประชุม ทุกคนยินดีที่จะรับฟังซึง่ กันและกัน

11. การคุ้มครองพนักงาน เราอาจจะเคยเห็นในบ้านเราที่ลูกค้าปฏิบัติต่อพนักงานอย่างไม่เหมาะสม ไม่ว่าจะด่าทอ ใช้คำพูดดูถูกเหยียดหยามพนักงานเหมือนเค้าไม่ใช่คน แต่คนเหล่านั้นทำกับพนักงานที่นี่ไม่ได้ เพราะเคา้ มีกฏหมายคุ้มครองอยู่ด้วย ลกู คา้ ท่นี ไ่ี ม่ใช่พระเจ้า ถา้ ลกู ค้าประพฤติไม่เหมาะสม เราก็สามารถตักเตือน ได้ แค่ลูกคา้ มาแตะเนือ้ ตอ้ งตัวเรา เราก็สามารถเตอื นได้แล้ว ถ้าหนักหนอ่ ยก็ฟอ้ งไดด้ ้วย

20

อาหารการกนิ ในออสเตรเลยี หนง่ึ ในเอกลกั ษณ์ของประเทศนีท้ ่ีน่าสนใจคอื ออสเตรเลยี มคี วามหลากหลายในด้านอาหารและวฒั นธรรม

มาก หากเดนิ ไปตามท้องถนน คุณจะพบเหน็ ร้านอาหารมากมายทผี่ สมผสานอาหารหลายเชือ้ ชาตดิ ้วยกนั ไมว่ ่าจะ เป็นมื้อค่ำอาหารปิ้งย่างแบบดั้งเดิม, ฟิชแอนดช์ ิพส์ และอิงลิชเบรคฟาสต์ ที่ได้รบั อิทธิพลมาจากประเทศอังกฤษ และอาหารจากชนชาติอื่นๆ ที่เข้ามาอาศัยอยู่ในออสเตรเลียอีกเป็นจำนวนมาก เช่น อาหารจีน อาหารญี่ปุ่น อาหารไทย หรือแมแ้ ต่อาหารกรซี อติ าลี และฝร่ังเศส อาหารทไ่ี มค่ วรพลาด

เนอ้ื จงิ โจ้ จงิ โจ้เป็นหน่ึงในสัตว์ประจำชาติท่ีมชี ่อื เสียงของออสเตรเลีย และเนือ้ จงิ โจก้ เ็ ป็นอาหารท้องถ่ิน ทขี่ น้ึ ชื่อด้วยเช่นกนั ชาวอะบอริจินชนเผ่าพ้นื เมืองออสซ่ี นยิ มกินเน้อื จิงโจ้กันมาเป็นเวลาหลายพันปีแล้ว เน้ือชนดิ น้ี มีรสชาติอร่อย ประกอบด้วยโปรตีนคุณภาพดีสงู ไขมันต่ำ สามารถนำไปปรุงอาหารได้หลากหลาย ราคาไม่แพง และมขี ายตามซปุ เปอรม์ ารเ์ กต็ เช่นเดยี วกบั เนอ้ื สัตว์อ่นื ๆ ท่วั ไป

21

พายเนื้อ (The humble meat pie) ออสเตรเลียเป็นประเทศที่มีชื่อเสียงด้านเนื้อวัวเป็นอย่างมาก ไส้พายเนื้อส่วนใหญ่จะประกอบไปดว้ ยเน้ือวัวทมี่ ที ง้ั เน้ือหนั่ เปน็ ช้ินและเน้อื บด ผสมผสานเข้ากนั กับน้ำเกรวี่สูตรลับ เฉพาะของแตล่ ะร้าน ซึ่งสว่ นใหญจ่ ะเคี่ยวมาจากกระดกู วัวหลายช่ัวโมงจนไดร้ สชาติกลมกลอ่ มเข้มข้น โปรดจดไว้ ว่าร้านเด็ดที่ห้ามพลาดถ้ามีโอกาสได้ไปเยือนซดิ น่ียค์ ือ “Harry's Cafe de Wheels” ที่นี่ขายพายเนื้อมาตั้งแต่ปี 1938 และไดร้ บั การกลา่ วขานวา่ พายเน้ือของรา้ นน้ยี อดเยย่ี มท่สี ดุ ในโลก

Australian Beef Steak ประเทศท่ีไดช้ ื่อว่ามีเน้อื ววั ที่ได้อร่อยและมคี ุณภาพเบอร์ตน้ ๆ ของโลกท้ังทีก็ ต้องหาโอกาสไปทานสเต็กจากเนื้อวัวออสเตรเลียให้ได้ เพราะว่าเนื้อวัวของที่น่ีนั้นอร่อยนุ่มจนแทบจะละลายใน ปากได้เลยทีเดยี วโดยเนื้อที่ได้รบั ความนิยมเปน็ อย่างมากก็ตอ้ งเป็นเน้ือววั วากิว แต่จริง ๆ แล้วก็ยังมอี ีกหน่ึงสาย พันธ์ทุ ี่อยากจะแนะนำใหล้ องกค็ ือ “เน้อื ววั แบลค็ แองกสั (Australian Black Angus)” ซ่ึงก็จะเปน็ เนอื้ ที่นำมาทำส เต็กได้อร่อยไม่แพ้กันกับวากิวเลยทีเดียว และสิ่งที่พิเศษยิ่งกว่าการได้ทานเนื้ออร่อย ๆ นั่นก็คือคุณจะได้ทั้ง บรรยากาศและประสบการณก์ ารทานสเตก็ แบบแท้ ๆ ในแบบฉบับของชาวออสซ่ี

Anzac Biscuits บสิ กติ แสนอร่อยชนดิ น้ี มสี ว่ นผสมหลักคือข้าวโอ๊ต แปง้ สาลี มะพร้าวแห้ง น้ำตาล เนย โกลเดน้ ไซรปั (นำ้ เช่อื มจากผลไม้ 100%) และเบกกง้ิ โซดา ถูกคดิ คน้ ข้นึ ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 1 เป็นขนมท่ีทำ งา่ ยและเกบ็ ไวไ้ ด้นาน แมบ่ ้านชาวออสซ่จี งึ ทำส่งไปใหท้ หารในสนามรบกนิ แกห้ ิวและเสรมิ กำลังใจ

22

เวจเจไมท์ (Vegemite) เป็นอาหารราคาถกู วิตามนิ สูง มีลักษณะคล้ายเนยเนอื้ ข้นเนยี นสีดำ ทำมาจาก ยสี ต์ เซเลอรี่ หอมหัวใหญ่ ปรงุ รสดว้ ยเกลอื มีรสชาตเิ คม็ นำ ขมเล็กน้อย และมกี ลิน่ เฉพาะตวั เป็นอาหารตดิ บ้านท่ี ชาวออสซีท่ ุกเพศทุกวยั ชน่ื ชอบ นยิ มใช้ทาขนมปัง หรอื ผสมกับซปุ สลัด และอาหารอ่ืนๆ ในแตล่ ะปีเวจเจไมทจ์ ึงถูก ผลิตและขายเป็นจำนวนล้านกระปุก ชาวออสซ่บี างคนติดเจ้าเวจเจไมทม์ ากจนถึงขัน้ ต้องพกติดตัวทุกคร้ังเวลาไป ตา่ งประเทศ (แนะนำวา่ คนไทยอยา่ งเราถ้าชิมครั้งแรก ควรลองแค่นิดเดยี วก่อน เพราะกล่นิ และรสชาติอาจไม่ค่อย ถูกปากเทา่ ไหร่นัก อารมณ์เหมอื นชาวต่างชาตมิ าลองกะปิ ปลาร้า แมงดา ของบ้านเราประมาณนนั้ )

Tim-Tams ขนมชอ็ กโกแลตบสิ กติ ทน่ี ิยมกินคู่กับกาแฟรอ้ น โดยมีเคลด็ ลบั ในการกนิ ใหส้ นุกและอร่อยข้ึน คอื ให้แทะปลายท้ังสองด้านของแท่ง Tim-Tam เลก็ นอ้ ย แลว้ จ่มุ ปลายดา้ นใดดา้ นหนงึ่ ลงในกาแฟ จากน้นั ดูดเบาๆ ให้กาแฟซมึ เขา้ มาในเนอ้ื บิสกติ เล็กนอ้ ย และจัดการมันให้หมดช้นิ ก่อนที่กอ่ นท่ีจะละลายเตม็ มือ รสชาตหิ อมๆ ของ กาแฟจะผสมผสานเข้ากบั ความเข้มข้นของชอ็ กโกแลตใหป้ ระสบการณใ์ หม่ในการกินที่อร่อยเตม็ ปากเต็มคำมาก

23

ลามิงตัน (Lamington cake) เป็นเค้กสัญชาติออสเตรเลียมีลักษณะเป็นทรงสี่เหลี่ยมลูกเต๋า เนื้อเค้ก เป็นสปองจ์ ชุบด้วยช็อกโกแลต และโรยเกล็ดมะพร้าวแห้ง พ่อแม่ชาวออสซี่นิยมทำเป็นเค้กในงานปาร์ตี้วันเกิด สำหรับเด็กอายุ 1-8 ปี ปัจจุบันนอกจากชอ็ กโกแลตแลว้ ก็ยังมีรสชาติหลากหลายมากขึ้นทั้งเลม่อน ราสพ์เบอร์ร่ี และมกี ารดดั แปลงนำเนอื้ เค้กชนดิ อื่นมาใชเ้ พ่ิมเติมนอกเหนือจากสปองจ์อีกดว้ ย

สปาเกตตี้โบลองเนส ( Spaghetti Bolognese) สปาเกตตี้โบลองเนสที่สุดของพาสต้าจาน เด็ด สปาเกตตี้โบลองเนส เป็นสปาเกตตี้ซอสเนื้อ ถึงแม้ว่าอิตาลีจะเป็นประเทศต้นกำเนิดของสปาเก็ตตี้แต่ใน ออสเตรเลียนนั้ ได้รับความนยิ มอยา่ งมากโยเฉพาะสปาเกตตี้ชนิดน้ี ขวญั ใจของทกุ เพศทุกวยั ยง่ิ เดก็ นักเรยี นจะนิยม มาก นอกจากรสชาติดีแล้ว เมนอู าหารชนิดนี้ยงั ทำงา่ ยอีกด้วย

24

Chiko Rolls อาหารว่างประเภทของคาวที่ถูกคิดคน้ ขึ้นโดย Frank McEncroe และมีการจำหน่ายครัง้ แรกในปี 1951 โดยไส้ด้านในจะมีส่วนผสมของผัก อย่างกะหล่ำปลี, แครอท, ขึ้นฉ่าย, หัวหอม, ถั่วเขียว และ เนื้อสัตว์ โดยแป้งด้านนอกจะสมั ผัสที่กรอบนอกนุ่มในและอัดแนน่ ไปด้วยผกั ท่ีเม่ือทานคู่กนั ก็เข้ากันได้ดี หน้าตา ของของวา่ งชนิดนจ้ี ะมหี น้าตาทค่ี ลา้ ยกันกบั ปอเปี๊ยะ แตจ่ ะถกู ห่อดว้ ยกระดาษอยา่ งดแี ละมาในขนาดท่ีใหญ่กระชับ มอื ทำให้สามารถทานมอื เดียวได้งา่ ยและสะดวกมากข้นึ ซึง่ น่เี ลยทำให้ Chiko Roll นนั้ คอ่ นขา้ งเป็นทน่ี ิยมมาก ๆ โดยเฉพาะในช่วงทม่ี กี ารแข่งขันกฬี าหรือว่าจะนำไปรบั ประทานในขณะทำกจิ กรรมเอาทด์ อร์ หากตอ้ งการท่จี ะลอง ทาน Chiko Rol หนึ่งในของว่างที่อยู่คู่กับชาวออสซี่มาแสนนานก็สามารถหาซ้ือได้ตามร้าน Fish & Chips และ ตามซูเปอรม์ ารเ์ ก็ตทว่ั ออสเตรเลยี อาหารพนื้ เมือง

สำหรับนักท่องเที่ยวที่ตอ้ งการสมั ผัสวัฒนธรรม การกินของชาวออสเตรเลียนอย่างแท้จริง แนะนำให้ไป ลองชิม อาหารพื้นเมืองออสเตรเลียขนานแท้ ได้แก่ Shepherd Pie หรือจะเป็นอาหารจานโปรดของชาวออสซี่ เช่น Vegemite การกินอาหารกลางแจ้ง

ออสเตรเลียเป็นประเทศที่มีอากาศดีเกอื บตลอดทั้งปี ชาวออสซีจ่ ึงนยิ มกินอาหารกลางแจ้งกันเปน็ อยา่ ง มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปิ้งย่างบาร์บีคิวกลางแจ้งในช่วงเดือนที่อากาศอบอุ่น โดยบาร์บีคิวของคนที่นี่จะ ประกอบไปด้วยวัตถุดิบหลายชนิด ตั้งแต่เนื้อหมูส่วนต่างๆ ไปจนถึงอาหารทะเลนานาชนิด รวมถึงเบอร์เกอร์ ไส้กรอก เคบบั และยังเสรมิ วิตามินด้วยผักย่าง หรอื สลดั ผักตา่ งๆ เพ่ือสขุ ภาพท่ีดีอกี ดว้ ย อาหารทะเล

ออสเตรเลีย เรียกได้ว่าเป็นเกาะที่ล้อมรอบไปดว้ ยน้ำ ดินแดนแห่งนี้จึงอุดมสมบูรณ์ไปด้วยอาหารทะเล นานาชนิด ไม่วา่ จะเป็นปลาทูนา่ ปลาแซลมอน ล็อปสเตอร์ ปูทะเล และกุ้งทะเลช้นั ดี ซึ่งมีท้งั รสชาตอิ ร่อยและเป็น อาหารไขมนั ต่ำทีด่ ตี อ่ สุขภาพ ในประเทศออสเตรเลียมีสตั วน์ ำ้ ต่างๆ มากถึง 6,000 ชนดิ ทถ่ี ูกจับมาเปน็ อาหารและ วางขายอยู่ทวั่ ไปในทอ้ งตลาด คณุ จงึ เลือกกินได้ไมม่ เี บื่อ

25

เครอื่ งด่มื ประเทศออสเตรเลีย มีชื่อเสียงโด่งดังเรื่องไวน์และเบียร์อย่างมาก โดยการผลิตไวน์เป็นหนึ่งใน

อุตสาหกรรมท่สี ำคัญตอ่ ระบบเศรษฐกจิ ชาวออสซี่ส่งออกไวนม์ ากเปน็ อนั ดบั 4 ของโลก ลองจากอติ าลี สเปน และ ฝร่งั เศส นอกจากน้ยี ังมชี อื่ เสียงในด้านอุตสาหกรรมกาแฟอีกด้วย กาแฟยีห่ อ้ Vittoria ของออสเตรเลียเป็นที่นิยม และได้รบั การยอมรับจากคอกาแฟว่ามรี สชาติดีทเี ดยี ว หากคณุ มีโอกาสไดม้ าออสเตรเลีย เราขอแนะนำให้ลองชิม ‘flat white’ กาแฟลาเต้แบบไร้ฟองนม ทช่ี าวออสเตรเลยี คดิ คน้ ขนึ้ สว่ นน้ำดื่ม สามารถด่ืมน้ำประปาได้ เพราะท่นี ี่ สะอาด ปลอดภยั ไรก้ ังวล ดืม่ ไดอ้ ยา่ งสบายใจ โดยมีการผา่ นการตรวจสอบคณุ ภาพเป็นอยา่ งดี ของหวาน

ชาวออสซม่ี ีขนมหวานหลายชนิดที่มชี ือ่ เสียงโด่งดัง อยา่ งเช่น - ขนม Pavlova ที่ถูกคิดค้นขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1935 โดย Bert Sachse และตั้งชื่อขนมตามนักบัลเล่ต์ ชาวรัสเซียทีช่ ือ่ Anna Pavlova โดยเปรยี บเทยี บเมอแรงคท์ ่ีอยใู่ นขนมกับท่วงท่าในการเตน้ บัลเล่ต์ว่ามีความพร้ิว ไหวบางเบาเหมือนกัน Pavlova มีฐานเป็นเมอแรงค์ ตกแตง่ ดา้ นบนดว้ ยครีมและผลไม้ โดยจะใชส้ ตรอเบอร์รี่หรือ ราสเบอรร์ ี่ในการตกแต่งกไ็ ด้ ขน้ึ อยูก่ ับความชอบของแต่ละคน - เมนู Lamington หรือ Lemmington ขนมหวานออสเตรเลียนที่ใครได้ลองเป็นต้องติดใจไปทุกราย ซึง่ นิยมทานกบั น้ำชาหรอื กาแฟยามบ่าย - Golden Gaytime ไอศกรีมที่เป็นที่โปรดปรานของชาวออสซี่ สำหรับรสชาติที่เราแนะนำให้ลองนั้น ก็ต้องเป็นรสชาติออริจินอลแบบแท่งที่มีการผสมผสานระหว่างไอศกรีมรสท๊อฟฟี่และวานิลลาในหนึ่งเดียว เคลอื บดว้ ยชอ็ กโกแลตแสนอร่อยและโรยดว้ ยบสิ กติ อีกช้ันก็เปน็ อนั เสร็จพธิ ี รสชาตขิ องตวั ไอศรีมก็จะมีความหวาน หอม และเนือ้ จะมคี วามครีมม่ี ๆ สว่ นดา้ นนอกกจ็ ะหนุบหนบั กรบุ กรอบเคีย้ วเพลินสุด ๆ สำหรบั ไอศกรมี Golden Gaytime กส็ ามารถหาซอ้ื ได้งา่ ย ๆ ทร่ี ้านซเู ปอร์มาร์เกต็ ทวั่ ไป - Bubble O’Bill ไอศกรีมชื่อดังและยงั จดั ให้เป็นหน่ึงในไอคอนของออสเตรเลียเลยกว็ ่าได้ โดยอายุนาม ของไอศกรีม Bubble O’Bill นั้นก็นานมากแล้วและชาวออสซี่หลาย ๆ คนเองก็โตมากับไฮกรีมแท่งนี้เลย ตัวของไอศกรีมนั้นจะเป็นการผสมผสานรสชาติต่าง ๆ เข้าด้วยกันซึ่งก็ได้แก่ รสสตรอว์เบอร์รี, รสช็อกโกแลต และคาราเมล

26

การเมอื งการปกครอง 1. ออสเตรเลียก่อตั้งเม่ือปีพ.ศ. 2444 (ค.ศ. 1901) ออสเตรเลียเป็นประเทศในเครือจักรภพของสหราช อาณาจักร โดยมกี ารปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยแบบรฐั สภา มรี ปู แบบรฐั บาลแบบสหพันธรัฐ โดย มปี ระมขุ แห่งรัฐคอื สมเด็จพระเจา้ ชาลสท์ ี่ 3 และมีผสู้ ำเร็จราชการแทนพระองค์ (Governor-General) ดำรงตำแหน่งวาระละ 5 ปี เป็นผู้แทนพระองค์ในออสเตรเลีย ออสเตรเลียเคยมีการจัดทำประชามติ เกี่ยวกับการเปลี่ยนเป็นสาธารณรัฐ (republic ในปีพ.ศ.2542 อันเนื่องมาจากมีกระแสเรียกร้องให้ ออสเตรเลยี เป็นสาธารณรฐั (นำโดยกล่มุ Australian Republican Movement-ARM) แต่เม่อื มกี ารลง ประชามตปิ รากฏว่าเสียงส่วนใหญ่ (รอ้ ยละ 54.4) ก็ยังคงใหอ้ อสเตรเลยี คงระบบเดมิ ซงึ่ มีกษัตรยิ ์อังกฤษ เป็นประมุขต่อไป 2. ออสเตรเลยี ประกอบดว้ ย 6 รัฐ (States) ไดแ้ ก่ รฐั เวสเทิร์นออสเตรเลีย (Western Australia) รฐั เซาท์ ออสเตรเลีย (South Australia) รัฐควีนส์แลนด์ (Queensland) รัฐวิคตอเรีย (Victoria) รัฐนิวเซาท์ เวลส์ (New South Wales) และรัฐทสั มาเนีย (Tasmania) และ มีอาณาเขตปกครองตนเอง 2 อาณา เขต ได้แก่ ดินแดนนอรเ์ ทิร์นเทร์ริทอรี (Northern Territory) และดินแดนออสเตรเลยี นแคปิตอลเทร์ริ ทอรี (Australian Capital Territory-ACT) ซึง่ เปน็ ที่ตง้ั ของกรุงแคนเบอรร์ า เมืองหลวงของประเทศ ใน แต่ละรัฐมผี ู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ฯ ระดบั รฐั (Governor) มีรัฐบาลและมุขมนตรที ำหน้าที่บริหาร โดยมสี ภานิติบัญญตั ิ 2 สภา ยกเว้นรัฐ Queensland ซ่งึ มีเพียงสภาเดียว ทั้งนี้ รัฐและอาณาเขตต่างๆมี ระบบศาลของตนเอง 3. ในระดับรฐั บาลกลาง ฝา่ ยบรหิ ารมนี ายกรฐั มนตรีเป็นหัวหน้าคณะรัฐมนตรแี ละมกี ารปกครองในระบบ รัฐสภาตามแบบสหราชอาณาจักร ฝ่ายนติ บิ ญั ญตั ิ ประกอบดว้ ย (1) สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร จำนวน 151 คน ซึ่งมาจากการเลือกตั้ง ดำรงตำแหน่งวาระละ 3 ปี และ (2) วุฒิสมาชิกจำนวน 76 คน ซึ่งมา จากการเลอื กตั้ง ดำรงตำแหน่งวาระละ 6 ปี 4. ในระดบั รฐั ฝ่ายบริหารมีมขุ มนตรี (Premier) เป็นหวั หน้ารัฐบาล และมีฝา่ ยนติ บิ ญั ญัติและรัฐสภาของ ตนเอง โดยทงั้ หมดมาจากการเลือกตั้ง 5. พรรคการเมืองท่สี ำคญั ได้แก่ พรรคเลเบอร์ (Australian Labor Party) พรรคลิเบอรัล (Liberal Party) พรรคเนชน่ั แนล (National Party) และพรรคกรีนส์ (Australian Greens)

ศาสนา ศาสนาประจำชาตขิ องออสเตรเลยี ไม่มี ส่วนใหญน่ ับถอื ศาสนาคริสต์ นกิ ายโรมนั คาทอลิก แองกลกิ ัน

แตก่ ็มีบางส่วนนบั ถือศาสนาพุทธ อสิ ลาม ฮินดู และเชน

27

ธงชาติของประเทศออสเตรเลีย

ธงชาติออสเตรเลีย มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผนื ผ้าพื้นสีน้ำเงิน ที่มุมธงบนด้านคันธงมีรูปธงชาติสหราช อาณาจักร ใต้ธงชาติสหราชอาณาจักรนั้นเป็นรูปดาวเจ็ดแฉกสีขาวดวงหนึ่ง มีชื่อเรียกว่า “ดาราสหพันธรัฐ (The Commonwelth Star)” หมายถึง สหพันธรฐั ทั้ง 7 รัฐ ถัดจากรูปดงั กลา่ วมาทางดา้ นปลายธงนน้ั เป็นรปู ดาว เจ็ดแฉกดวงเล็ก 4 ดวง และดาวห้าแฉกอีก 1 ดวง เรียงกันเป็นรูปกลุ่มดาวกางเขนใต้ อันเป็นสัญลักษณ์ของ ซกี โลกใต้

สภาพภูมศิ าสตรข์ องออสเตรเลีย ออสเตรเลียมีลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูง มีพื้นที่ที่เป็นเป็นทะเลทรายที่แห้งแล้ง

ชาวออสเตรเลยี ส่วนใหญอ่ าศัยอยใู่ นบรเิ วณชายฝ่งั ดา้ นตะวนั ออกของประเทศ แบ่งเปน็ 3 โซนหลักๆ ของประเทศ โดยรฐั และดนิ แดน (State and Territory) ออสเตรเลยี แบ่งออกเปน็ 6 รัฐ และ 2 มณฑล เขตปกครองตนเอง 2 เขต ได้แก่

1. มณฑลนครหลวงของออสเตรเลีย (Australian Capital Territory) แคนเบอรร์ ่า (Canberra) เป็นเมืองหลวงของประเทศออสเตรเลีย เป็นศูนย์กลางการปกครอง เป็นที่ตั้ง ของหน่วยงานราชการของออสเตรเลียไดแ้ ก่ องค์กรระดับชาติ และหน่วยงานสถานทูตต่างๆ 2. มณฑลตอนเหนอื (Northern Territory) ดาร์วิน (Darwin) เป็นเมืองหลวงของมณฑล แถบนี้เป็นที่อยู่ดั้งเดิมของชาวอะบอริจิน มีอากาศอบอนุ่ ตลอดปีคนไทยน้อยเหมาะสำหรับการฝกึ ภาษา ออสเตรเลีย แบ่งออกเป็น 6 รัฐ ได้แก่ 1. รัฐนิวเซาทเ์ วลส์ New South Wales เมอื งหลวง คือ ซดิ นยี ์ (Sydney) 2. รัฐควีนส์แลนด์ (Queensland) เมอื งหลวง คอื บริสเบน (Brisbane) 3. รัฐเซาท์ออสเตรเลีย (South Australia) เมืองหลวง คือ อะดิเลด (Adelaide) 4. รฐั เวสเทิรน์ ออสเตรเลยี (Western Australia) เมืองหลวงคือ เพริ ธ์ (Perth)

28

5. รฐั แทสมาเนีย (Tasmania) เมอื งหลวง คือ โฮบาร์ต (Hobart) 6. รัฐวกิ ตอเรีย (Victoria) เมอื งหลวง คอื เมลเบิรน์ (Melbourne)

ภูมิอากาศของออสเตรเลยี มีสภาพอากาศแตกต่างกันไปในแต่ละรัฐ โดยทั่วไปสภาพอากาศจะเป็นแบบเขตร้อนจนถึงเขตอบอุ่น

อณุ หภมู เิ ฉลยี่ ตำ่ สุดทที่ สั มาเนียประมาณ 0-12 องศาเซลเซียส และร้อนสุดท่มี ณฑลตอนเหนือประมาณ 35 องศา เซลเซยี ส การแบ่งฤดูในออสเตรเลีย

ฤดูร้อน : ธันวาคม – กมุ ภาพนั ธ์ ฤดใู บไมร้ ว่ ง : มนี าคม – พฤษภาคม ฤดหู นาว : มถิ ุนายน – สิงหาคม ฤดใู บไมผ้ ลิ : กันยายน – พฤศจิกายน

ซดิ นีย์ (Sydney) ฤดรู อ้ น เดอื นมกราคมจะเป็นเดอื นทอ่ี ากาศอุ่นทีส่ ุด โดยมอี ุณหภูมเิ ฉล่ยี อยทู่ ี่ 18.6 ถึง 25.8°C ช่วงน้ีเป็น ช่วงวันหยุดของออสเตรเลียที่ผู้คนจะแห่แหนกันไปท่ีหาดทรายฤดูใบไม้ร่วงเป็นช่วงที่อากาศเยน็ สบายในซิดนีย์ ช่วงเวลานี้เหมาะสำหรับการไปแช่น้ำท่ามกลางธรรมชาติทีส่ วยงาม ส่วนฤดูหนาว อุณหภูมิอาจลดลง ได้ถึง 7°C ในเวลากลางวันเดอื นทหี่ นาวที่สุดคือกรกฎาคม เหมาะท่จี ะไปลอ่ งเรอื ชมวาฬ ฤดใู บไม้ผลิ เปน็ ฤดทู ซี่ ิดนยี ก์ ลับมามี

29

ชวี ิตชีวาอีกครงั้ ชว่ งกลางวนั อากาศจะอบอนุ่ ข้ึน แตค่ วามชื้นไมไ่ ด้สงู เท่ากับ ในฤดูรอ้ น ค่าเฉลี่ยอุณหภูมิในแต่ละ วันอยรู่ ะหวา่ ง 11 ถึง 23°C

เมลเบริ ์น (Melbourne) เปน็ เมอื งทมี่ ีสภาพอากาศแปรปรวน โดยปกติแล้วเมลเบริ น์ จะรอ้ นมากในเดือนธนั วาคม ถึง กุมภาพันธ์ (ฤดูร้อน) และเย็นลงตั้งแต่เดือนมีนาคมไปจนถึงพฤษภาคม (ฤดูใบไม้ร่วง) เริ่มเย็นขึ้นอีกคร้ัง ต้ังแต่เดือนมิถนุ ายนไปจนถึงสงิ หาคม (ฤดหู นาว) และกลบั มาอุ่นอีกครงั้ ในเดอื นกนั ยายนถงึ พฤศจกิ ายน (ฤดูใบไม้ ผลิ) อุณหภูมิสูงสุดในแต่ละปีของเมลเบิร์นมักจะอยู่ในเดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ที่ทั้งร้อน และแห้งแล้ง โดยมีอุณหภมู เิ ฉลีย่ อยทู่ ่ี 15 – 26°C เดือนมถิ นุ ายนและกรกฎาคมเป็นเดือนที่อากาศเย็นทีส่ ุด และตุลาคมมีฝนตก ชกุ ทีส่ ดุ เคล็ดลับสำหรับการเตรยี มตวั ในแต่ละสภาพอากาศ ให้พกรม่ และสวมเสื้อผ้า เปน็ ชน้ั ๆ เท่าทจ่ี ำเป็น

บริสเบน (Brisbane) มีภูมิอากาศแบบกึ่งร้อน และมีสภาพอากาศอบอุ่นหรือร้อนเกือบทั้งปี ฤดูร้อนจะมีอุณหภูมสิ ูงสุดเฉลยี่ ประมาณ 30°C มปี ริมาณนำ้ ฝนมากที่สดุ ในฤดูร้อน ฤดูใบไม้ร่วง เปน็ สญั ญาณของการสิ้นสดุ สภาพอากาศ รอ้ นของ ฤดูร้อน และเป็นการเร่ิมตน้ อากาศทีห่ นาวเย็นลงทั้งกลางวนั และกลางคืน ในวันที่อากาศอบอุ่นของท่ีนี่ อุณหภูมิ เฉลี่ยต่อวันจะอยรู่ ะหว่าง 15-25°C ฤดูหนาวช่วงเวลากลางวนั ในเมืองบรสิ เบนจะสบายๆ มีแสงแดดเพื่อเพมิ่ ความ อบอุ่นของอณุ หภูมิ ซึ่งเฉลี่ยอยู่ที่ 11-21°C อากาศ ตอนกลางคืนมักจะเย็นและมีบรรยากาศสดช่ืนแจ่มใสในยาม

30

เช้า ฤดใู บไมผ้ ลคิ ือฤดูทดี่ ที ส่ี ุดฤดูหนึง่ เพราะมอี ากาศอบอนุ่ มแี สงแดดสดใสอบอวลไปด้วยอณุ หภูมิเย็นสบายจาก ลมทะเล

แคนเบอร์รา (Canberra) โดยส่วนใหญ่มีภูมิอากาศคอ่ นข้างแห้ง ฤดูร้อนมีอากาศอุ่นถึงร้อน และฤดูหนาวมีอากาศเยน็ ในฤดูร้อน แคนเบอรร์ ามแี สงแดดประมาณ 9 ชวั่ โมงต่อวนั และลดเหลือ 5 ชัว่ โมงในฤดูหนาว โดยเดือนมกราคมเป็นเดือนท่ี ร้อนที่สุด มีอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 28°C มีฝนตกชุกที่สุดในเดือนตุลาคม ในฤดูหนาวจะมีหิมะตกในเขตที่ใกล้กับ เทือกเขา Australian Alps อณุ หภูมติ อนกลางวันในช่วงฤดูหนาวเฉล่ีย 11°C และลดลงเหลอื ต่ำกว่า 0°C ในเวลา กลางคนื

แอดเิ ลด (Adelaide) โดยท่ัวไปแล้วจะมฤี ดูหนาวทีไ่ มห่ นาวจัด ชุ่มช้นื และฤดรู อ้ นทแี่ ห้งแลง้ อบอุ่น เมอื งน้ีเปน็ เมอื งทแ่ี ห้งแล้ง ท่ีสดุ ในบรรดาเมอื งหลวงทงั้ หมดของออสเตรเลีย ปริมาณนำ้ ฝนรายปีเฉล่ีย 553 มม. เดอื นมิถนุ ายนเป็นเดือนที่มี ฝนตกมากที่สุด อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยอยู่ที่ 29°C ในฤดูร้อน และ 15–16°C ในฤดูหนาว และฤดูใบไม้ร่วง (เดือน

31

มีนาคม ถงึ เดอื นพฤษภาคม) เปน็ ช่วงเวลาท่ีมีแดดออกและสภาพอากาศอบอนุ่ และสบายกำลังดี อุณหภูมแิ ต่ละวัน ในฤดใู บไมร้ ว่ งของแอดิเลดจะตำ่ สดุ ท่ี 12.5°C ไปจนถึงสงู สุดที่ 22.4°C

โฮบารต์ (Hobart) มีฤดกู าลตา่ ง ๆ 4 ฤดู ภูมิอากาศของทนี่ ถี่ กู เรียกว่าพ้ืนทีต่ ิดทะเลอันอบอ่นุ สบาย เดือนธนั วาคม ถึงมีนาคม จะเปน็ เดือนที่อากาศอบอ่นุ ที่สุด มอี ณุ หภูมิเฉลีย่ อยทู่ ี่ 21°C ปริมาณนำ้ ฝนตลอดปอี ยู่ที่ 626 มลิ ลิเมตร ซงึ่ โฮบารต์ เปน็ เมอื งหลวงท่ีมีสภาพอากาศแหง้ แล้งทส่ี ุดในออสเตรเลีย มฝี นตกกระจายอยทู่ ัว่ พนื้ ท่ตี ลอดทงั้ ปี แตว่ ่าฤดูหนาว จะมฝี นตกชกุ ที่สดุ ในฤดหู นาวบนเกาะจะสัมผัสไดถ้ ึงกระแสลมทางใตจ้ ากแอนตาร์กตกิ และอุณหภมู ทิ ห่ี นาวเยน็ ทส่ี ดุ ในออสเตรเลยี

เพริ ธ์ (Perth) ช่วงที่ร้อนที่สุดคือเดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ สภาพอากาศดีและแห้ง มักไม่ค่อยมีฝน ฤดูใบไม้ร่วง กลางวนั มแี ดดจา้ และอุ่น กลางคนื อากาศเย็น แต่บางครง้ั ก็อาจมพี ายุฝนหรือความชืน้ สงู บ้าง ฤดูหนาวเป็นฤดูท่ีมี ฝนตกชุก และอากาศเย็นในเวลากลางวัน อุณหภูมิในตอนกลางวันจะอยู่ระหว่าง 18 – 21°C และเหลือต่ำสุดท่ี 12°C ในตอนกลางคืน ฤดใู บไม้ผลิ มอี ากาศอบอุ่นและแดดจ้าโดยเฉพาะ ในเดือนตุลาคมถึงพฤศจกิ ายนที่มีอุณหภมู ิ ตอนกลางวันอยทู่ ี่ 20 ถึง 25°C

32

ดาร์วิน (Darwin) ต้ังอยู่ใน Top End ในเขตปกครองนอรท์ เทิรน์ เทอริทอรีมีสองฤดูทีแ่ ตกต่างกัน คือ “ฝน” และ “ร้อน” ฤดูฝนจะเริ่มจากเดือนพฤศจิกายนไปจนถึงเดือนเมษายน ซึ่งเป็นช่วงที่มีความชื้นสูง มีทั้งมรสุมฝน และพายุ โดยท่ัวไปอณุ หภูมจิ ะอยใู่ นช่วงต่ำสดุ ท่ี 25°C ไปจนถงึ สงู สดุ ท่ี 33°C และฤดูร้อนเรมิ่ ต้งั แต่เดือนพฤษภาคมไปจนถึง เดือนตุลาคม มีลักษณะอบอุ่น อากาศร้อนชื้นในชว่ งกลางวัน และเย็นในเวลากลางคืน โดยทั่วไปอุณหภูมิจะอยู่ ในชว่ ง21°C ถงึ 32°C และมีระดับความชน้ื นอ้ ย

เวลาของออสเตรเลยี ทแี่ ตกต่างจากเมืองไทย เปน็ ประเทศที่มพี ้นื ทก่ี วา้ งใหญ่มาก จงึ มคี วามแตกต่างของเวลาตามมาตรฐานกรนี ิช (Greenwich Mean

Time, GMT) โดยจดั แบง่ ออกเป็น 3 โซน ดงั น้ี • Eastern Standard Time-EST เรว็ กวา่ เวลา GMT 10 ชัว่ โมง และเรว็ กว่าประเทศไทย 3 ชวั่ โมง ใช้ ในรัฐ New South Wales, Victoria, Tasmania, Queensland และ Canberra

33

• Central Standard Time-CST เรว็ กวา่ เวลา GMT 9.5 ช่ัวโมง และเร็วกว่าประเทศไทย 2.30 ชัว่ โมง ใชใ้ นรฐั South Australia และเขตปกครอง Northern Territory

• Western Standard Time-WST เร็วกกว่าเวลา GMT 8 ชว่ั โมง และเร็วกว่าประเทศไทย 1 ช่วั โมง ใช้ ในรฐั Western Australia

ตวั อย่างเชน่ เปรียบเทยี บเวลาในประเทศไทย 06.00 น.

เวลาในเมอื ง เวลาปกติ Daylight Saving *

Canberra – ACT 09.00 น. 10.00 น.

Sydney – New South Wales 09.00 น. 10.00 น.

Melbourne – Victoria 09.00 น. 10.00 น.

Brisbane – Queensland 09.00 น. 10.00 น.

Hobart – Tasmania 09.00 น. 10.00 น.

Adelaide – South Australia 08.30 น. 09.30 น.

Perth – Western Australia 07.00 น. 08.00 น.

*Daylight Saving ในฤดูรอ้ น จะมีการหมนุ นาฬิกาใหเ้ ร็วข้นึ 1 ชั่วโมง เน่อื งจากช่วงกลางวันยาวกวา่ ช่วง กลางคนื

*ยกเวน้ รฐั Western Australia และรัฐ Queensland

34

ขอ้ มูลดา้ นกฏหมายในการทำงานที่ออสเตรเลยี

ขอ้ ควรรเู้ มื่อทา่ นเดินทางไปยงั ประเทศออสเตรเลยี ประเทศออสเตรเลีย เป็นประเทศที่มีภูมิประเทศเป็นหมู่เกาะ มีสภาพแวดล้อมที่มีลักษณะเฉพาะ และ

หลากหลาย ทำให้ออสเตรเลียต้องมีมาตราการในการนำสิ่งของเข้าประเทศอย่างเขม้ งวด สัตว์และพืชที่ยงั มชี ีวติ และอาหารบางชนดิ จากตา่ งประเทศอาจนำวัชพืช และโรครา้ ยที่อาจเป็นอันตรายเข้ามาในออสเตรเลยี ได้ และอาจ ส่งผลทำลายอุตสาหกรรมการเกษตร และการท่องเทยี่ วอนั มีคา่ รวมถึงสง่ิ แวดลอ้ มท่เี ป็นเอกลักษณข์ องออสเตรเลยี ด้วย ดังนน้ั การมีมาตราการความปลอดภยั ทางชีวภาพอยา่ งเขม้ งวดของออสเตรเลยี น้ี จะชว่ ยปกปอ้ งสุขภาพของ มนษุ ย์ สัตว์ และพชื ดว้ ยการลดความเสย่ี งจากวัชพชื ท่ีไม่เปน็ ทีต่ อ้ งการ และโรคภยั ต่างๆ ที่นำเขา้ มาในประเทศ

รายการสง่ิ ของหา้ มนำเข้า และสงิ่ ของท่ตี ้องแสดงต่อเจ้าหนา้ ท่ี 1. อาหาร พชื และเนือ้ สตั ว์ ตวั อย่างส่ิงของหา้ มนำเข้า – ผักและผลไม้สดทุกชนิด – เนือ้ สตั ว์ เช่น เน้อื หมู เน้ือววั เนื้อไก่ เนื้อสตั วป์ ีก แฮม ไสก้ รอก รวมถึง ไข่ ชสี นม และเนย – เมลด็ ข้าว เมล็ดพืช หวั พืช ฟาง ถวั่ สมุนไพร ปะการงั กลว้ ยไม้ ไขป่ ลา ผลิตภณั ฑ์จากงวงช้าง ของจาก

การลา่ สตั ว์ และผลิตภณั ฑจ์ ากไม้ – ส่วนต่างๆ ของสัตว์ ผลติ ภัณฑ์ทที่ ำจากสัตว์ อาหารสตั ว์ ช้ินส่วนตวั อยา่ งจากสัตว์ และมลู สตั ว์

สำหรับอาหารแหง้ อาหารทะเลแห้ง บะหมกี่ ง่ึ สำเร็จรูป ผักและผลไมแ้ ห้ง หรอื อาหารแปรรูปอน่ื ๆ หากนำเข้ามา จะต้องสำแดงตอ่ เจา้ หนา้ ที่ดว้ ย

2. ปืน และอาวุธต่างๆ ตวั อย่างสง่ิ ของห้ามนำเขา้ – ปืนจริง และปนื ปลอม และส่วนประกอบทุกชนิดทใ่ี ช้สำหรับปนื และอาวธุ – ปืนอัดลม (BB gun) ปืนเพ้นบอล (Paintball marker) มีดพับ กระบองโซ่ (Nunchunka) หนังสต๊ิก (Slingshot) ธนู (Crossbow) เคร่ืองช๊อตไฟฟา้ (Electronic shock devices) เส้อื กันกระสุน (Body armour) ไฟ ฉายเลเซอร์ (Laser pointer) ดิ้วเหล็ก (Baton) สเปร์ยพริกไทย (Pepper sprays) สนับมือ (Knuckle dusters) ท่อเป่าลูกดอก (Blowpipe) ตัวอย่างส่งิ ของมคี มทสี่ ามารถนำเข้ามาได้ เชน่ ดาบซามไุ ร ดาบตกแตง่ บ้าน มีดทำอาหาร มดี พบั 3. แผน่ ซีดี ดวี ดี ี หรอื ภาพถา่ ย ซีดภี าพ และวีดีโอทเี่ ก่ยี วกับการทารุณกรรม ลามกอนาจารเดก็ การมเี พศสมั พนั ธ์ การกอ่ อาชญากรรม การกระทำ ของผู้ก่อการร้าย รวมถึงภาพความรุนแรงต่างๆ ไม่ว่าจะมาในรูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ ภาพในโทรศัพท์ ภาพใน คอมพวิ เตอร์ หรอื ในหน่วยความจำตา่ งๆ เช่น External hard disk หรือ USB เป็นสิง่ ของหา้ มนำเขา้ ออสเตรเลีย

35

4. ยา และฮอรโ์ มนต่างๆ – ยาเสพติดที่ผิดกฎหมาย เช่น กัญชา เฮโรอีน โคเคน แอมเฟตามีน เป็นสิ่งของห้ามนำเข้าและออก ออสเตรเลีย – ยาสเตอรอยด์ ฮอรโ์ มนต้านทานความชรา โกรท์ฮอร์โมน สารพวกนหี้ า้ มนำเข้าออสเตรเลยี นอกจากจะ มีใบอนุญาตการนำเขา้ มาแสดงต่อเจา้ หนา้ ท่ี ซ่ึงจะขนึ้ อย่กู บั ดุลพินจิ ของเจา้ หน้าทวี่ า่ จะสามารถนำเข้าไดห้ รอื ไม่ 5. เงินสดออสเตรเลีย หรอื เงินตา่ งประเทศ การนำเงินเข้าออสเตรเลียไมม่ ีการกำหนดมลู คา่ ในการนำเงนิ เขา้ และออก แต่ถ้ามมี ูลคา่ เทา่ กบั 10,000

ดอลลาร์ออสเตรเลยี หรอื มากกว่า จะตอ้ งแจง้ ต่อเจ้าหนา้ ทดี่ ว้ ย

6. ยารักษาโรค ยารักษาโรคที่มีส่วนประกอบของสเตอรอยด์ กัญชา ยาระงับปวดที่มีสารผสมของอนุพันธ์ฝิ่น (Opioid analgesics) ยากลุ่มท่ีมีฤทธิเ์ สพติด ยาสมุนไพรทีม่ พี ชื หรือสัตวเ์ ปน็ องคป์ ระกอบ ยาพวกน้ีตอ้ งสำแดงต่อเจา้ หน้าท่ี เนอ่ื งจากอาจจะถูกควบคมุ หรือตอ้ งมีใบอนุญาตในการนำเขา้ ยาจำพวก แอสไพรนิ พาราเซตามอน หรือยาสามัญ ประจำบ้านท่ีซอ้ื ได้ตามรา้ นขายยาทั่วไปของออสเตรเลีย สามารถนำเข้าได้ โดยไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งสำแดงตอ่ เจา้ หน้าที่ 7. ดิน โคลน ทราย ดิน โคลน ทราย ทกุ ชนิดห้ามนำเขา้ มายังออสเตรเลีย รวมถงึ ส่งิ ของ หรอื อปุ กรณ์ที่มีดิน โคลน ทรายติด มาดว้ ย เช่น รองเท้า หรอื อปุ กรณ์กีฬา อุปกรณ์เครือ่ งมอื ที่เคยใช้กับสตั ว์ ดนิ หนิ และทราย เปน็ ต้น 8. ของทรี่ ะลกึ ของที่ระลึกที่เป็นไม้ ถ้ามีส่วนประกอบของเปลอื กไม้ แมลง และเชื้อรา ถือเป็นสิ่งของห้ามนำเข้า แต่ถ้า หากมีส่วนประกอบของใบไม้ เมลด็ และกงิ่ ไม้ ต้องสำแดงต่อเจา้ หนา้ ที่ ซึ่งจะขนึ้ อยู่กบั ดลุ พนิ ิจของเจ้าหน้าที่ว่าจะ สามารถนำเขา้ ไดห้ รอื ไม่ 10. สินคา้ ปลอดภาษี สินค้าหรือของขวัญท่นี ำมาจากตา่ งประเทศ หรือซื้อโดยไม่เสยี อากรและภาษี สำหรบั ผใู้ หญต่ ้องมีมูลค่าไม่ เกิน 900 ดอลลารอ์ อสเตรเลีย และเดก็ 450 ดอลลารอ์ อสเตรเลีย แอลกอฮอลใ์ นปริมาณไมเ่ กิน 2.25 ลติ ร และบุหรไ่ี มเ่ กนิ 25 มวน หรือยาเสน้ ในปริมาณไม่เกิน 25 กรมั ซ่งึ อนญุ าต ให้นำเขา้ เฉพาะผู้ทมี่ ีอายุ 18 ปีบริบูรณ์ข้นึ ไป 11. สนิ ค้าปลอมหรอื ลอกเลียนแบบ สนิ ค้าปลอม หรือลอกเลียนแบบ เช่น เสอ้ื ผา้ กระเป๋า รองเท้า เครื่องสำอางค์ นำ้ หอม และท่หี นบี ผมไฟฟ้า เป็นสนิ ค้าตอ้ งห้ามนำเข้า เมอื่ เดินทางมาออสเตรเลีย เราจะไดร้ บั บัตรผู้โดยสารขาเข้า ฉะน้ันเราต้องปฏบิ ัติตามข้อบังคับกำหนดให้ กรอกข้อมูลเหล่านี้ หากมีสินค้าที่อาจมีความเสี่ยงทางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพมาด้วย จะต้องตอบว่า

36

ใช่ ลงบนบตั ร โดยเจา้ หน้าทอี่ าจจะตรวจสอบสนิ ค้าที่ถกู สำแดง รวมถึงตรวจสอบกระเปา๋ เดนิ ทาง ถงึ แม้วา่ จะไม่ได้ มีสินคา้ ที่จะต้องสำแดงใดๆ ก็ตาม โดยเจา้ หนา้ ที่อาจใชว้ ธิ ีเอกซเรย์ หรือใช้สุนัขตำรวจก็ได้

การใหข้ อ้ มลู เท็จหรือไมถ่ กู ต้องถือเป็นความผิดรา้ ยแรง หากไม่สำแดง หรอื สำแดงเทจ็ ในบตั รผู้โดยสารขา เข้า อาจจะถูกจับ ถูกลงโทษทางแพง่ หรืออาจถูกดำเนินคดี ปรับ จำคุก และถูกบันทึกประวตั อิ าชญากรรม ทั้งน้ี เราจะไม่ถกู ลงโทษภายใต้กฎหมาย ว่าด้วยความปลอดภัยทางชีวภาพ ค.ศ. 2015 หากเราได้สำแดงสินค้าท้ังหมด แมว้ ่าสินค้านัน้ จะไม่ได้รบั อนุญาตใหน้ ำเข้าประเทศออสเตรเลียกต็ าม

หากไม่แน่ใจว่าสินค้าที่จะนำมาเป็นสินค้าต้องห้ามหรือไม่ หรือต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ กฎหมายการนำสินคา้ เข้าประเทศและกฎหมายดา้ นการตรวจสอบอาหารของออสเตรเลีย สามารถตดิ ต่อได้ที่ เบอร์ โทรศัพท์ 1800 803 006 หรืออีเมล์ enforcement@[email protected] และเบอร์โทรศัพท์ 1800 500 147 สำหรบั ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ การนำยาเขา้ ประเทศ

ความปลอดภัยในการทำงานในออสเตรเลยี ในออสเตรเลยี มกี ฎหมายระบไุ วว้ ่านายจา้ งของคุณ (เจา้ นาย) จะตอ้ งทำทกุ อยา่ งเพอ่ื ให้ม่นั ใจว่างานของ

คุณจะไม่ทำใหค้ ณุ บาดเจ็บหรอื ล้มปว่ ย กฎหมายฉบบั นี้ เรียกว่า ความปลอดภยั และสขุ ภาพ ในการทำงาน (Work health and safety - WHS) หรือ ความปลอดภัยและสุขภาพในอาชพ (Occupational health and safety - OHS)

กฎหมายฉบับนี้ ยังระบุว่า นายจ้างของคุณจะตอ้ งมกี ารทำประกนั ภัยใหค้ ณุ ในกรณที ่ีคณุ ได้รบั บาดเจ็บใน ระหวา่ งการทำงาน สงน้เี รียกว่า ค่าชดเชยสำหรับคนทำงาน (Workers’ compensation) หากคุณได้รับบาดเจ็บ หรือล้มป่วยในขณะทำงาน ประกันภัยนี้ อาจจ่ายเงินค่ารักษาพยาบาลให้คณุ และจ่ายคา่ จ้างใหค้ ุณจนกว่าคุณจะ สามารถ กลับมาทำงานได้อีก การประกนั ดงั กลา่ วน้ีให้ความคมุ้ ครองคนทำงานทกุ คนในออสเตรเลีย ถึงแม้ว่าคุณ จะมีวซี าชว่ั คราวกต็ าม

37

สิง่ ทน่ี ายจา้ งของคุณตอ้ งทำ

สิทธิและการค้มุ ครองในทีท่ ำงาน ลูกจา้ งทุกคนในออสเตรเลยี มีสิทธิทจ่ี ะได้รบั ค่าจา้ งอย่างน้อยเท่ากบั คา่ แรงงานขนั้ ต่ำ ขน้ึ อยูก่ บั รฐั หรอื เขต

ปกครองตนเองท่ีทา่ นทำงานอยู่ มาตรฐานเหล่านค้ี รอบคลมุ ถึงช่ัว โมงทำงาน การจ่ายเงนิ สำหรับทำงานล่วงเวลา เวลาพัก ลาปว่ ย และวนั หยุด

การคุม้ ครองจากการเลอื กปฏบิ ัติ จากกฎหมายของออสเตรเลยี การกระทำทไ่ี ม่พงึ ประสงค์ ไดแ้ ก่ - ปฏิเสธงาน - ไล่ออกจากการจ้างงาน - ปฏเิ สธโอกาสที่จะไดร้ บั การฝกึ อบรม - ปฏิเสธการเล่อื นตำแหนง่ - ไดร้ บั เงอื่ นไขและขอ้ กำหนดของการทำงานทด่ี อ้ ยกวา่ ผู้อ่นื

38

ภาษี ประเทศออสเตรเลยี นอกจากจะเสียภาษรี ายได้แล้ว ยงั ต้องเสียคา่ ประกันสุขภาพหรอื Medicare ดว้ ย

โดยจำนวนภาษีที่ตอ้ งจ่ายขน้ึ อยู่กบั - สถานะการอยอู่ าศยั ในออสเตรเลยี - รายได้ - มงี าน มากกวา่ หนง่ึ งานหรือไม่ - มี tax file number (TFN) หรอื ไม่ อัตราภาษีตามขา้ งลา่ งน้ี - ถา้ รายไดไ้ ม่ถงึ $18,200 ต่อปี ไมต่ อ้ งจา่ ยภาษี - ถ้าได้ $18,201 – $45,000 ต้องจา่ ยภาษีตามรายไดท้ ไี่ ด้ คอื ทกุ ๆ $1 ทเี่ กินกวา่ รายไดข้ น้ั ต่ำ

($18,200) ต้องจ่าย 19 cents - ถ้าได้ $45,001 – $120,000 ต้องจ่ายภาษี $5,092 + จา่ ยเพ่มิ ตามรายไดท้ ่ีได้ คอื ทุก ๆ $1 ท่ีเกนิ กว่า

$45,000 ตอ้ งจ่าย 32.5 cents - ถา้ ได้ $120,001 – $180,000 ตอ้ งจ่ายภาษี $29,467 + จา่ ยเพมิ่ ตามรายได้ทีไ่ ด้ คือทกุ ๆ $1 ที่เกิน

กวา่ $120,000 ตอ้ งจ่าย 37 cents - $180,001 ขึ้นไป ตอ้ งจา่ ยภาษี $51,667 + จ่ายเพิ่มตามรายไดท้ ่ไี ด้ คือทุก ๆ $1 ที่เกนิ กว่า $180,000

ตอ้ งจา่ ย 45 cents ตอ่ ปี

- ส่วนประกันรกั ษาสขุ ภาพ Medicare ตอ้ งจ่ายอยทู่ ่ปี ระมาณ 2% ของรายได้เรา

39

สงิ่ ท่ตี อ้ งปฏิบตั เิ ม่ืออยอู่ อสเตรเลยี

40

ขอ้ มลู ที่พกั • ที่พักระยะสั้น เมื่อท่านมาถึงใหม่ๆ ท่านอาจจะต้องพิจารณาถึงทางเลือกที่พักอาศัยระยะสั้น อาจเป็น หอพกั และโรงแรมท่ีได้สว่ นลดหรือการพกั เเบบเเชร์บา้ น คอนโด หรอื อพารท์ เม้นทน์ ้ัน คอ่ นขา้ งเป็นทน่ี ยิ ม ในนักเรียนต่างชาติที่เพิ่งเรียนจบหรอื อยใู่ นวยั ทำงาน โดยนกั เรียนต่างชาตอิ ยู่เเชร์กันอย่ใู นคอนโดเดยี วกัน ยงิ่ เเชร์เยอะย่ิงถูก ยง่ิ เเชร์น้อยย่ิงราคาสงู โดยสว่ นใหญห่ ากพักคอนโด หรือบา้ นเเชร์ เคา้ จะมที วี ี เครื่องครัว เครื่องซกั ผ้า เครอื่ งป่นั ผ้า ผา้ ห่ม หมอน ตา่ งๆให้อย่เู เลว้ ดังนั้นจงึ ไมต่ ้องกังวลเร่อื งพวกนี้เทา่ ไหร่ สว่ นเร่ือง อินเทอร์เน็ตก็มี wireless กันแทบจะทุกบ้านอยู่เเล้ว หากเป็นคอนโดส่วนใหญ่จะมีสระว่ายน้ำ, Gym, Sauna ต่างๆใหใ้ ช้ เเตย่ งั ไงกต็ ามควรจะเช็คใหด้ ีว่าเงื่อนไขต่างๆอะไรบ้าง เชน่ Minimum Stay เท่าไหร่, เกบ็ มัดจำลว่ งหน้าก่ีสปั ดาห์ , ใช้เครือ่ งปั่นผ้าได้ไหม เนอ่ื งจากเครอ่ื งป่ันผา้ กินไฟมาก บางบ้านไม่ยอมให้ ใช้, ราคาสมเหตุสมเหตไุ หม, อยกู่ ี่คน , มีเพื่อนรว่ มห้องชาติอะไรบา้ ง, ใกล้สถานีรถไฟฟา้ หรือป้ายรถเมล์ อะไรตามกฏของการเช่าบ้านคือ ถ้าคอนโด 2 ห้องนอน จะอยู่ได้ไม่เกนิ 4 คน ถ้า 1 ห้องนอนหรือห้อง studio จะอยไู่ ด้ไม่เกนิ 2 คน • การเช่าบา้ นหรอื แฟลตเอกชน ตามปกติการเช่าบ้านหรอื แฟลตจะทำผา่ นตวั แทนอสังหาริมทรพั ยซ์ ึ่งทำ หน้าที่แทนเจา้ ของบา้ นเชา่ ถ้าจะเช่าโดยตรงจากเจา้ ของบา้ นเลยกไ็ ด้ บ้านเช่าจะโฆษณาทางออนไลน์และ ในหนังสือพิมพ์ในหมวด To let และ Accommodation vacant หรือท่านอาจจะไปที่สำนักงานของ บรษิ ทั อสังหาริมทรพั ย์และขอดูรายการบ้านหรือแฟลตที่ยังว่างใหเ้ ชา่ ในการทำสญั ญาเชา่ เพ่อื อยู่อาศัยให้ พิจารณาขอ้ สญั ญากอ่ นการเซน็ สัญญาอยา่ ผูกมัดตนเองในสัญญาเชา่ ท่มี ีระยะเวลานานเกินกว่าท่ีท่านจะ สามารถอยูไ่ ดเ้ พราะท่านอาจต้องจา่ ยคา่ ยา้ ยออกสูง

เวบ็ ไซต์หาที่พกั • natui.com.au : เวบ็ ไซตห์ าที่พกั สำหรับคนไทยในซดิ นีย์ยอดนยิ ม ส่วนมากจะเปน็ บา้ นพักแชร์อยู่ร่วมกับ นกั เรียนไทยคะ่ ซงึ่ ค่าเช่าสว่ นใหญร่ วมค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าอนิ เตอร์เน็ตแลว้ หมดกังวลเร่อื งค่าใช่จ่ายส่วนเกิน อ่ืนๆทจ่ี ะตามมาไดเ้ ลย • sydneythai.info : อกี เว็บไซต์ของคนไทยทีร่ วมแหล่งหาบ้านและหางานด้วย • กลุ่ม Facebook ตา่ งๆ เช่น คนไทยในซิดนีย์

41

ระบบไฟฟา้

ออสเตรเลีย ใช้ระบบไฟฟา้ 240 V, 50 Hz เหมือนประเทศไทย แต่ปลั๊กไฟจะเป็น หัวแบน 3 ขา เอียงออก จากกันเป็นตัว V พร้อมขากราวด์ หากมีอุปกรณ์ไฟฟ้าจากประเทศไทย จะไปใช้ที่นั่น ควรเตรียม Universal Adapter (หวั แปลงปลั๊กไฟ) ไปด้วย กอ่ นออกเดินทาง

การใชน้ ้ำ

น้ำในออสเตรเลียโดยทั่วไปแล้วมีคณุ ภาพดี อย่างไรกต็ ามในบางสถานท่ีใชน้ ำ้ บาดาลหรือน้ำท่ีไม่สามารถ นำมาใชบ้ ริโภคได้ ซึง่ ท่านไมค่ วรดื่ม สถานทเี่ หล่านี้จะมปี า้ ยสัญลักษณ์ระบุไว้ ในบางท้องถ่นิ อาจมีการจำกัดการใช้ นำ้ ซงึ่ หมายความว่าการใชน้ ้ำของท่านอาจถูกจำกัดในบางเวลา หรือบางกิจกรรม ตัวอยา่ งเชน่ ท่านไม่สามารถรด น้ำสวนของท่านได้ หรอื ไม่สามารถลา้ งรถ หรือหน้าต่างอาคารได้ ซึ่งตอ้ งตรวจสอบกับเทศบาลท้องถน่ิ ของท่านหรอื ไปที่ www.bom.gov.au/water/restrictions

การเก็บขยะและรไี ซเคิลในครัวเรอื น

ตามปกติ รัฐบาลท้องถิ่นจะจัดการเร่ืองการเก็บขยะ จะมีถังขยะแยกกันสำหรับขยะธรรมดาในครัวเรือน และวัสดุรไี ซเคิล เชน่ ขวด กระปอ๋ ง กระดาษ และกระดาษแขง็ สว่ นวนั เก็บขยะและวสั ดุรีไซเคิลให้ตดิ ต่อเทศบาล ทอ้ งถิน่ ของท่านหรือถามเพอ่ื นบา้ น หากขยะของท่านมมี ากเกินไปและใส่ในถังที่มีไว้ให้ไมห่ มด ท่านตอ้ งนำไปท้ิงท่ี สถานที่กำจัดขยะมลู ฝอยหรือที่ศูนย์รีไซเคิลขยะและหากท่านทิ้งขยะในพื้นทีส่ าธารณะหรือที่ส่วนบุคคลต้องจา่ ย คา่ บริการเนอ่ื งจากเป็นการกระทำที่ผดิ กฎหมาย

ห้องนำ้

การใช้หอ้ งน้ำนั้นไมม่ ีสายฉีดน้ำทำความสะอาด จงึ ควรพกกระดาษทิชชูเปียก หรือ ขวดน้ำเปล่าขาดเล็ก แบบพกพาไป ในออสเตรเลียจะไม่มคี นเฝ้าหอ้ งสขุ าสาธารณะ และปกติจะไมเ่ สยี ค่าใชบ้ รกิ ารห้องสุขาเหล่าน้ีอาจมี ส่งิ อำนวยความสะดวกสำหรับการเปลี่ยนผ้าออ้ มเดก็ และห้องสุขาสำหรับผู้พกิ าร และโดยปกติจะเป็นสุขาแบบน่ัง หรือสำหรบั ปสั สาวะไม่ใช่แบบนัง่ ยองๆ หอ้ งสขุ าสาธารณส่วนมากจะมีส่งิ อำนวยความสะดวกแยกการสำหรับบุรุษ และสตรี ถงึ แม้วา่ บางแหง่ อาจจะเปน็ แบบอัตโนมตั ิและแบบใชไ้ ด้ท้ังสองเพศ กอ่ นออกจากห้องสขุ าตอ้ งให้แน่ใจว่า สะอาดเรียบร้อยหลังจากท่ีท่านใช้แล้วห้องสุขาบางแห่งในออสเตรเลียจะมีการทำของเสียให้เป็นปุย๋ หมักจึงควร ระวังส่งิ ทีท่ ่านจะใส่ลงไปในสุขา เชน่ กระดาษทชิ ชู่ ขยะ เป็นต้น

42

ข้อมูลดา้ นโทรศัพท์และอินเทอรเ์ น็ต

ในออสเตรเลียท่านสามารถโทรศพั ทไ์ ด้จาก โทรศัพทท์ ี่มีสายติดอยู่ (หรือสายดิน) โทรศัพท์ที่ต้องใส่เงิน หรือโทรศพั ทม์ ือถอื เบอรโ์ ทรศัพท์อาจเริ่มตน้ ดว้ ย

• 13/1300 (อตั ราท้องถ่นิ )

• 1800 (โทรฟรี)

• 04 (มอื ถอื )

• 02,03,07,08 (รหสั ทอ้ งถน่ิ หรือรหสั พืน้ ที่ตามภมู ศิ าสตร)์

หมายเหตุ

-ทา่ นไม่ตอ้ งกดรหัสทอ้ งถ่ิน ถา้ ท่านโทรจากหมายเลขทีม่ ีรหัสท้องถิ่นเหมอื นกนั

-ค่าโทรศัพทแ์ ตกต่างกนั ไป ขน้ึ กบั ชนดิ ของเครื่องโทรศพั ทท์ ีท่ ่านใช้โทร และบริษทั โทรศัพท์ทีท่ ่านใช้บริการ และ แผนบริการท่ที า่ นเลือกใช้ ถ้าทา่ นไม่แน่ใจเก่ยี วกบั ค่าโทรศัพท์ทา่ นควรถามบริษทั โทรศัพท์ท่ีท่านใช้

สำหรับข้อมูลเกี่ยวกับค่าโทรศัพท์ ติดต่อหมายเลข 13/1300 หรือ 1800 ในออสเตรเลีย ดูที่ www.acma.gov.au/Citizen/Consumer-info/All-about-numbers/Special-numbers/charges-for- calls- to-13-1300-and-1800-numbers-i-acma

สมดุ โทรศพั ท์

ในออสเตรเลยี มีสมุดโทรศัพท์หลกั อยู่ 2 เลม่ • Yellow Pages (หน้าเหลอื ง) มีรายการหมายเลขธรุ กิจ เชน่ ร้านค้าและช่างต่างๆ ลงรายการตามชนดิ ของ

บริการหรอื ผลิตภัณฑ์ • White Page (หน้าขาว) มีหมายเลขธุรกิจในผู้อยู่อาศัยลงชื่อรายการตามชื่อ White Pages มีหมวด

รัฐบาลพร้อมด้วยรายละเอียดเพื่อการติดต่อสำหรับท้องถิ่น รัฐหรือเขตปกครองตนเองและหน่วยงาน รฐั บาลออสเตรเลยี

สมุดโทรศัพท์จะได้รับแจกฟรีและจัดส่งไปตามบ้านทุกๆปี มีสมุดโทรศัพท์จะมีให้ในที่ทำการไปรษณีย์ใน ห้องสมุดด้วย ทางออนไลน์จะมี Yellow Pages ท่ี www.yellowpages.com.au และ White Pages ที่ www.whitepages.com.au หรอื โทรไปขอความช่วยเหลือสำหรับเบอรโ์ ทรศพั ทไ์ ดท้ ี่ 1223 (โทรฟรี)

43

สัญญาโทรศพั ทแ์ ละอนิ เทอร์เนต็ • โดยปกตแิ ลว้ ถ้าตอ้ งจ่ายเงนิ คา่ ติดตงั้ • ทา่ นอาจจะต้องทำสญั ญาหนงึ่ ปีสองปี • การบริการมือถือส่วนมากรวมค่าโทรหรือค่าจำนวนข้อมูลที่ได้รับอนุญาตในแต่ละเดือนสำหรับบรอด แบนตเ์ คลือ่ นที่ และทา่ นอาจตอ้ งจ่ายเพม่ิ ข้ึนถ้าท่านใช้เกนิ จำนวนทไ่ี ด้รบั อนุญาต • หลายบรกิ ารจะรวมการแจง้ เตอื นการจดั การการใช้ด้วยการสง่ SMS หรืออีเมลแจง้ ใหท้ ่านทราบว่าท่านใช้ บริการเกินทตี่ กลงไวใ้ นสญั ญา • ทา่ นอาจเลือกทจี่ ะใช้บริการจ่ายล่วงหน้าหรือบริการทจ่ี า่ ยหลังใช้

เมื่อท่านได้รับใบแจ้งหนี้สำหรับค่าโทรศัพท์ หรือค่าอินเตอร์เน็ต และท่านไม่สามารถชำระเงินภายในวัน กำหนด ท่านควรติดตอ่ บริษทั

การโทรศัพท์ไปต่างประเทศ มักจะไม่รวมอยู่ในแผนค่าโทรศัพทท์ ี่ได้รับต่อเดือน ท่านต้องคอยเฝ้าดูการใช้ โทรศัพทไ์ ปตา่ งประเทศของท่านอยา่ งระมดั ระวัง หรือใชบ้ ตั รโทรศัพทท์ จี่ า่ ยลว่ งหนา้

การโทรศพั ท์จากออสเตรเลยี มาไทย 0011+66+รหสั เมอื ง+หมายเลขที่ตอ้ งการ เชน่ โทรมาทีก่ รุงเทพฯ (รหัส เมือง 02) หมายเลข 02-123-4567 ใหต้ ดั 0 ตวั แรกสดุ ของ รหัสเมอื งออก ก่อนโทร คือ 00-66-2-123-4567 เป็น ตน้

ถ้าท่านต้องการท่จี ะติดตง้ั อินเตอร์เน็ตท่บี ้านของทา่ น หรือจะใชผ้ ่านทางอุปกรณไ์ ร้สาย ท่านต้องทำสัญญา กับผู้ให้บริการอนิ เตอรเ์ นต็ ก่อนทีท่ ่านจะเซ็นสญั ญา และต้องแนใ่ จว่าทา่ นสามารถทีจ่ ะชำระเงินคา่ บริการได้

ทา่ นสามารถใชอ้ นิ เตอร์เนต็ แบบไร้สายประเภทจ่ายล่วงหน้าไดม้ ีโปรแกรมมากมายทใ่ี ห้บรกิ ารฟรีหรือให้ใช้ บริการอินเตอร์เน็ตรวมในราคาไม่แพงตัวอย่าง เช่น ตามห้องสมุดสาธารณะ และเทศบาลในท้องถิ่นอาจจะมี อินเตอรเ์ นต็ ใหใ้ ช้ฟรี

ท่านควรใช้บริษัทโทรศัพท์และอินเตอร์เน็ตที่เป็นสมาชิกของโครงการ หากท่านมีปัญหาเกี่ยวกับบริการ โทรศัพท์หรืออินเตอร์เน็ตและบรษิ ัทไม่สามารถที่จะแก้ปัญหาได้ทา่ นสามารถร้องเรียนได้ฟรีไปยัง TIO โดนโทร 1800 062 058 หรือไปที่ www.tio.com.au/making- a-complaint

44

ในออสเตรเลยี จะมีการให้บริการซมิ การ์ดอยู่ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ Prepaid และ Contract • Prepaid การให้บริการแบบ prepaid เป็นบริการที่มีความยืดหยุ่น เราสามารถควบคุมค่าใช้จ่ายได้ สามารถหาซื้อซิมการ์ดได้ตามร้านค้าและซุปเปอร์มาเก็ตทั่วไป หลังจากทำการลงทะเบียนซิม เราจะได้ หมายเลขมือถือออสเตรเลียพรอ้ มใช้งาน และสามารถเติมเงนิ เทา่ ไหรก่ ็ไดต้ ามตอ้ งการ คลา้ ยกับบริการซิม การ์ดแบบเตมิ เงนิ ของไทย • Contract สำหรับน้อง ๆ ที่มีการวางแผนจะใช้เครือข่ายมือถือเป็นจำนวนมาก การทำสัญญากับผู้ ใหบ้ ริการเครอื ข่าย หรอื การซอื้ แพก็ เกจเป็นระยะเวลาตามสัญญา อาจคมุ้ ค่ากบั การใช้งานมากกว่า ซ่ึงผู้ ให้บริการมือถือในออสเตรเลียจะมีตัวเลือกแผนการใช้งานให้เลือกมากมาย สามารถจ่ายค่าบริการราย เดอื นตามการใชง้ านทเี่ ลอื กได้

Big 3 Providers : 3 ผใู้ หบ้ รกิ ารเครอื ข่ายโทรศัพทม์ อื ถอื ที่ใหญท่ ่สี ุดในออสเตรเลยี • Telstra เป็นผใู้ หบ้ ริการเครือขา่ ยโทรศัพทท์ ีใ่ หญท่ ่สี ดุ ในออสเตรเลีย จึงไมแ่ ปลกหากบริษทั น้ีจะมีแผนการ

ใชง้ านให้เลือกอย่างจุใจ แถมสวัสดิการอ่ืน ๆ เพิ่มเตมิ จากการเป็นลูกค้าอีกด้วย โดยมีแพ็กเกจรายเดือน เริ่มต้นท่ี 55 ดอลลารอ์ อสเตรเลยี หรือประมาณ 1,300 บาท • Optus แบรนด์ชื่อดังของออสเตรเลีย ที่ให้บริการทั้งเครือข่ายมือถือและระบบอินเทอร์เน็ต มีบริการ สัญญาณ 5G สำหรบั โทรศพั ท์มือถือทร่ี องรับ แถมยงั มีโปรโมช่นั พิเศษสำหรับนกั เรียน – นกั ศกึ ษาอีกด้วย โดยมีแผนการใช้งานให้เลือกมากมาย แพ็กเกจมีราคาเริ่มต้นที่ 45 ดอลลาร์ออสเตรเลียต่อเดือน หรือ ประมาณ 1,000 บาท • Vodafone จากการเป็น 1 ใน 3 บริษัทผู้ให้บริการยักษ์ใหญ่ Vodafone จึงมีตัวเลือกแผนให้บริการที่ หลากหลายไม่แพ้ 2 ลำดับแรก โดยมีแพ็กเกจบริการรายเดือนเริ่มต้นที่ 30 ดอลลาร์ออสเตรเลียเท่านน้ั หรอื ประมาณ 718 บาท

เบอร์ตดิ ตอ่ เหตุด่วนเหตรุ ้าย • Triple Zero (000) เป็นเบอร์เพื่อสำหรับติดต่อเจ้าหน้าที่ตำรวจ ดับเพลิง หรือรถพยาบาลเมื่อเกิดเหตุ ฉกุ เฉิน ควรโทรกต็ อ่ เมอื มภี ัยคกุ คามถึงชีวิต เกดิ เหตุด่วนเหตรุ า้ ย ตกอยใู่ นสถานการณ์ที่จำเป็นต้องได้รับ การชว่ ยเหลอื อย่างเร่งด่วน • Police Assistance Line (131 444) สำหรับตดิ ต่อเจ้าหน้าที่ตำรวจในเรือ่ งอ่นื ๆ ท่ไี มฉ่ ุกเฉิน • Crime Stopper (1800 333 000) หมายเลขสำหรับรายงานเก่ยี วกับการกอ่ อาชญากรรม การถกู คกุ คาม หรือข้อมูลทช่ี ว่ ยแกป้ ญั หาอาชญากรรมได้ • Covid-19 และการฉีดวคั ซีน (1800 020 080) สำหรบั ขอ้ มลู เก่ยี วกับไวรัสโคโรนาและวัคซีน โทรหาสาย ด่วนไวรัสโคโรนาแห่งชาติ (National Coronavirus Hotline) สามารถตดิ ตอ่ ได้ตลอด 24 ชว่ั โมง

45

• Lifeline (131 114) องค์กรการกุศลระดับชาติแห่งที่ให้การปรึกษาแนวทางการใช้ชีวิต ด้วยการเข้าถึง บรกิ ารสำหรับภาวะวกิ ฤตนต้ี ลอด 24 ชว่ั โมง

• 1800RESPECT (1800 737 732) สายด่วนใหค้ ำปรกึ ษาการล่วงละเมิดทางเพศ ความรนุ แรงในบ้านและ ครอบครัวตลอด 24 ชว่ั โมง

• Beyond Blue (1300 224 636) บริการให้คำปรึกษาตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อแก้ไขปญั หาที่เกี่ยวกบั ภาวะ โรคซึมเศรา้ การฆ่าตวั ตาย ภาวะวิตกกงั วล และปญั หาด้านสขุ ภาพจติ ทเี่ ก่ยี วข้อง

• Australian Translating and Interpreting Service (ATIS) (131 450)บริการแปลภาษาสำหรับคนท่ี ตอ้ งการล่าม รวมถึงภาคธุรกิจต่าง ๆ ทีต่ อ้ งการส่ือสารกบั ลูกคา้ ท่ไี มไ่ ดพ้ ดู ภาษาองั กฤษ

• SES (132 500) เบอรโ์ ทรฉกุ เฉินภยั พิบตั ิ เช่น น้ำท่วม พายุ สนึ ามิ และแผ่นดนิ ไหว เปน็ ต้น

แอปพลเิ คชัน่ แนะนำ

เช็คอนิ (Check-In) ได้ดว้ ยแอพ Service Victoria

Link : https://service.vic.gov.au/check-in

check-in-with-your-phone

Transport Apps

Opal Travel : เป็นแอป Transport อย่างเปน็ ทางการเพียงแห่งเดียวสำหรับ NSW นอกจากนีย้ ังใช้บริการได้ฟรี โดยแอปนี้สามารถใช้ในการจัดการเดินทางได้ทั้งในซิดนีย์และภายในรัฐนิวเซาท์ เวลส์ แอปพลิเคชันสามารถดู ประวัติการเดนิ ทาง วางแผนการเดนิ ทางไดอ้ ย่างง่ายดาย รวมถงึ การเขา้ ถงึ ข้อมูลขนสง่ สาธารณะทีเป็นประโยชน์ อื่นๆ ทั้งหมด โดยสามารถใช้ได้กับระบบขนส่งสาธารณะใน Sydney, the Blue Mountains, Central Coast, Central Coast, the Hunter the Illawarra. โดยมบี ัตรที่ใช้ในการเดินทางเรียกวา่ Opal Card บตั รเดยี วเทีย่ วได้ ทัว่ ซดิ นีย์ แถมเติมเงนิ งา่ ยๆดว้ ยการเตมิ ผ่านแอพ (top up online with Opal Travel app) หรือตามรา้ นสะดวก ซอื้ ท่ีเปน็ ตวั แทนมากกวา่ 2,100 แห่ง หรอื เติมทเ่ี คร่อื ง Opal top up ทมี่ ีอยตู่ ามสเตช่ันต่างๆ สะดวกและรวดเร็ว มากๆ

ทำความรู้จักบัตร Opal Card เพิ่มเติมไดท้ ี่ https://www.eduyoungth.com/opal-card-บัตรเดียวเท่ียวได้ท/ั่ และ Link : https://transportnsw.info/tickets-opal/opal#/login

Moovit : Public Transport live แอปพลิเคชั่นรวบรวมข้อมูลแบบเรียลไทม์จาก Transport สำหรับ NSW ให้ เข้ากบั ขอ้ มลู แบบ live จากผู้ใชร้ ถใช้ถนนหรือบริการอื่น ณ ขณะน้ัน โดยแอปพลเิ คชันจะแสดงเส้นทางท่ีเร็วที่สุด

46

โดยข้อมูลที่ได้จากผู้ใช้จริงนี้จะช่วยการประมาณเวลาในการเดินทางได้แม่นยำมากขึ้น การรายงานข้อมูลหรือ ประสบการ์ณเดินทางนี้ สามารถระบุไดต้ ้งั แต่ ท่วี า่ งบนรถบัส ความสะอาด การใหบ้ รกิ าร เป็นตน้

TripView – Sydney and Melbourne

แอปพลเิ คชัน่ ท่ีช่วยวางแผนการเดนิ ทางสำหรับระบบขนส่งสาธารณะอยา่ ง รถไฟใตด้ นิ รถไฟ รถบสั เรือ เฟอร์รี่ รถไฟรางเบา (light rail) และรถโค้ช (coach) โดยสามารถค้นหาเส้นทาง ดูสรุปการเดินทางคร้ังไปต่อไป ระหว่างสถานีต่างๆ ดูตารางเวลาทั้งหมด เวลาที่คาดว่าจะไปถึงที่หมาย และติดตามการเดินทางแบบเรียลไทม์ สำหรับทกุ การเดนิ ทางเลยทีเดยี ว

นอกจากการเดินทางด้วยระบบขนสง่ สาธารณะแล้ว แอปพลเิ คชนั ทอ่ี ำนวยความสะดวกในการเดินทางท่ี เราคนุ้ เคย กไ็ ดร้ บั ความนิยมไมแ่ พก้ ัน Uber, Didi

การคมนาคม

การเดินทางในประเทศออสเตรเลียมีระบบคมนาคมขนส่งหลากหลาย ทันสมัย และครอบคลุม เช่น รถ ประจำทาง รถยนต์ รถราง รถไฟฟา้ รถไฟ เรอื เฟอร์รี่ หรือ เรือขา้ มฟาก รวมไปถงึ สายการบินในระดบั ภมู ิภาคและ สายการบินระดับชาติ ในแต่ละรฐั /เมืองจะมกี ารคมนาคมแตกต่างกันไปเชน่ Brisbane เน้นการใช้ รถประจำทาง รถไฟ และ เรอื เฟอรร์ ่ี-City Cat ซึง่ ทุกประเภทให้บริการจะตรงเวลาเสมอ ทำให้เราคาดการณ์ ได้ว่าจะถงึ ทหี่ มายกี่ โมงและใช้เวลาเดินทางกี่นาที โดยในการเดินทางจะต้องมีบัตรโดยสารหรือต๋ัวเดินทาง ที่ใช้ในการโดยสารรถเมล์ รถไฟ และเรือขา้ มฟากน้นั จะมีใหเ้ ลือกเปน็ บัตรโดยสารแบบรายสัปดาห์ แบบรายเดอื น แบบรายสามเดือน ขึน้ ไป จนถงึ บตั รโดยสารแบบรายปี

ในออสเตรเลียรถไฟถือเป็นการเดินทางที่ค่อนข้างสะดวกเพราะมีสถานีครอบคลุมทั่วเมือง ราคาต๋ัว แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับว่าเราไป Zone ไหนและเลือกต๋ัวแบบใด อาทิ ตั๋ว One way, Return จะเป็นรายสัปดาห์ หรอื รายเดือน การจำหนา่ ยตัว๋ สามารถซือ้ ไดท้ ี่เคานเ์ ตอร์ หรือเครอ่ื งยอดเหรียญ สามารถเช็คราคาต๋ัวได้

สามารถขอข้อมูลและตารางเวลาได้ท่ีเทศบาลท้องถิ่น และที่ศูนย์นักท่องเที่ยวหลายแห่ง ทางออนไลน์ สถานีรถไฟ ห้องสมดุ และศนู ย์ขอ้ มูลสาธารณะ รัฐหรือเขตปกครองตนเอง ตัวแทนการขนสง่ มวลชน เว็บไซต์

ACT ACTION

www.action.act.gov.au

NSW Transport NSW www.transport.nsw.gov.au/

47

NT Department of Transport https://nt.gov.au/driving/public-transportcycling Qld Translink www.translink.com.au SA Transport SA www.sa.gov.au/topics/transport-travel-andmotoring/public-transport-and-travel Tas. Metro Tasmania www.metrotas.com.au Vic. Metlink www.metlinkmelbourne.com.au WA Public Transport Authority www.pta.wa.gov.au

รถไฟฟา้ ( City Rail )

การเดินทางโดยรถไฟแบ่งเป็น 3 แบบคือ บริการนครหลวง (Metropolitan Service), สายสนามบิน (Airport Link) และบรกิ ารระหวา่ งรัฐและภายในรัฐ (Interstate and Intrastate Services)

รถประจำทาง

รถประจำทางปรับอากาศจะมีต้นสายหลักอยใู่ นเมอื ง หากจะนง่ั ข้าม Suburb ตอ้ งมาตอ่ สายในเมือง หรือ ถ้าจะให้สะดวกในบางพื้นทีค่ วรเลือกขึ้นรถไฟ เพราะรวดเรว็ กว่า การโดยสารรถประจำทางจึงเป็นในระยะ การ เดินทางที่ไม่ไกลนัก หรือเดินทางใน Suburb นั้นๆจะสะดวกกวา่ ตั๋วโดยสารของรถประจำทางนั้นมีหลากหลาย สามารถซ้ือได้ในร้านสะดวกซื้อทวั่ เมอื งหรือจะจ่ายกับคนขับบนรถโดยตรงกรณีคนทไ่ี ม่ได้เดินทางโดย รถโดยสาร บอ่ ยนัก แตต่ อ้ งดูให้แนใ่ จกอ่ นวา่ รถสายนัน้ เป็น “Prepaid only” หรอื การชำระผ่านบตั รโดยสารเท่าน้นั หรือไม่