เพราะเหตุใดจึงต้องมีการเเยกเเยะหลักฐานระหว่างข้อเท็จจริงกับความคิดเห็น

          การฝึกใช้ความคิดไตร่ตรองในขณะที่อ่าน ฟังและดู  จะทำให้เรากระจ่างชัดในเจตนาและความคิดของผู้เขียนและผู้พูดว่า  มีความประสงค์และมีเหตุผลอย่างไร   การอ่านการฟังและดูโดยใช้หลักการวิเคราะห์เช่นนี้  ทำให้เราเป็นผู้มีปัญญาที่สามารถรู้หรือให้เหตุผลได้ถูกต้อง

4.พงศาวดาร 5.เพราะ ข้อเท็จจริง คือ ความจริงที่เกิดขึ้น แต่ ความคิดเห็น คือ การที่ผู้ค้นพบแสดงค.คิดเห็นส่วนตัวลงไป 6.ความน่าเชื่อถือ ของข้อมูลและหลักฐานต่างๆ และ แหล่งที่มาว่ามีค.น่าเชื่อถือหรือไม่ 7.ข้อเท็จจริง เนื่องจากมีการนำข้อมูลจากแห่งหนังสือพิมพ์มาพูดในการนำเสนอข่าว
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษรจะมีการเขียนเรื่องราวทางประวัติศาสตร์  เรื่องราวที่จดบันทึกไว้เรียกว่า  ข้อมูล  เมื่อจะใช้ข้อมูลควรต้องดาเนินการ ดังนี้

  1. การแยกแยะความแตกต่างระหว่างข้อเท็จจริงกับความคิดเห็น  ข้อมูลเรื่องราวทางประวัติศาสตร์นั้นจะมีทั้งข้อเท็จจริงกับความคิดเห็นของผู้เขียน  ผู้บันทึก  หรือผู้แต่ง  ข้อเท็จจริง เป็นข้อมูลจากหลักฐานต่าง ๆ ซึ่งอาจตรงกันบ้าง ไม่ตรงกันหรือขัดแย้งกันบ้าง  แต่ความคิดเห็น เป็นส่วนที่ผู้เขียน  ผู้บันทึก  หรือผู้แต่ง   ผู้ใช้หลักฐาน  คิดว่าข้อมูลที่ถูกต้องน่าจะเป็นอย่างไร

  2. การแยกแยะระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงข้อมูลหรือเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ เรียกว่า ข้อเท็จจริง คำว่า ข้อเท็จจริง แยกออกเป็น ข้อเท็จจริงกับข้อจริง เรื่องราวทางประวัติศาสตร์จึงประกอบด้วย  ข้อเท็จจริงกับข้อจริงหรือความจริง เช่น เรื่องราวการเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 1 (พ.ศ. 2112) การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ( พ.ศ. 2310 ) ความจริง คือ ไทยเสียกรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ. 2112  และ พ.ศ. 2310 ส่วนข้อเท็จจริง  คือ  ข้อมูลที่เป็นคำอธิบายที่ปรากฏในหลักฐานทั้งหลายว่า  ทำไมไทยจึงเสียกรุงศรีอยุธยา  เช่น คนไทยเตรียมตัวไม่พร้อม  ผู้น่าอ่อนแอและมีความแตกแยกภายใน  ทหารมีจำนวนน้อย  มีอาวุธล้าสมัยและมีจำนวนไม่พอเพียง ข้าศึกมีผู้นำที่เข้มแข็งและมีความสามารถสูง  มีทหารจำนวนมากกว่าและมีอาวุธดีกว่า คำอธิบายดังกล่าวอาจถูกต้องหรือไม่ถูกต้อง  ซึ่งเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเป็นความจริงหรือไม่เป็นความจริง  ดังนั้นจึงเรียกคำอธิบายหรือเหตุผลว่า  ข้อเท็จจริง ดังนั้น  ในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์  นักเรียนจึงต้องค้นคว้าข้อมูลจากหลักฐาน หลายแหล่งหรืออ่านหนังสือหลายเล่ม  เพื่อจะได้สามารถแยกแยะว่าเรื่องใดเป็นความจริง เรื่องใดเป็นข้อเท็จจริง  เรื่องนี้ยังเป็นประโยชน์ในการรับรู้  รับฟังข้อมูลหรือเรื่องราวทั้งหลายในชีวิตประจำวันว่าเรื่องใดควรเชื่อ  และเรื่องใดไม่ควรเชื่อ



ขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์



ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดเป้าหมาย

ขั้นการกำหนดเป้าหมาย เป็นขั้นตอนแรก นักประวัติศาสตร์ต้องมีจุดประสงค์ชัดเจนว่าจะศึกษาอะไร อดีตส่วนไหน สมัยอะไร และเพราะเหตุใด เป็นการตั้งคำถามที่ต้องการศึกษา นักประวัติศาสตร์ต้องอาศัยการอ่าน การสังเกต และควรต้องมีความรู้กว้างๆ ทางประวัติศาสตร์ในเรื่องนั้นๆมาก่อนบ้าง ซึ่งคำถามหลักที่นักประวัติศาสตร์ควรคำนึงอยู่ตลอดเวลาก็คือทำไมและเกิดขึ้นอย่างไร



ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ให้ข้อมูล มีทั้งหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร และหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร มีทั้งที่เป็นหลักฐานชั้นต้น(ปฐมภูมิ) และหลักฐานชั้นรอง(ทุติยภูมิ) ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน

ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน

วิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์ คือ การตรวจสอบหลักฐานและข้อมูลในหลักฐานเหล่านั้นว่า มีความน่าเชื่อถือหรือไม่ ประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐานและวิพากษ์ข้อมูลโดยขั้นตอนทั้งสองจะกระทำควบคู่กันไป เนื่องจากการตรวจสอบหลักฐานต้องพิจารณาจากเนื้อหา หรือข้อมูลภายในหลักฐานนั้น และในการวิพากษ์ข้อมูลก็ต้องอาศัยรูปลักษณะของหลักฐานภายนอกประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐานหรือวิพากษ์ภายนอก



ขั้นตอนที่ 4 การตีความหลักฐาน

การตีความหลักฐาน หมายถึง การพิจารณาข้อมูลในหลักฐานว่าผู้สร้างหลักฐานมีเจตนาที่แท้จริงอย่างไร โดยดูจากลีลาการเขียนของผู้บันทึกและรูปร่างลักษณะโดยทั่วไปของประดิษฐ์กรรมต่างๆเพื่อให้ได้ความหมายที่แท้จริงซึ่งอาจแอบแฟงโดยเจตนาหรือไม่ก็ตาม



ขั้นตอนที่ 5 การสังเคราะห์และการวิเคราะห์ข้อมูล

จัดเป็นขั้นตอนสุดท้ายของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ซึ่งผู้ศึกษาค้นคว้าจะต้องเรียบเรียงเรื่อง หรือนำเสนอข้อมูลในลักษณะที่เป็นการตอบหรืออธิบายความอยากรู้ ข้อสงสัยตลอดจนความรู้ใหม่ ความคิดใหม่ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้านั้นลักษณะ ประเภท และความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ความหมายและความสำคัญของประวัติศาสตร์

ประวัติศาสตร์ เป็นวิชาที่ว่าด้วยพฤติกรรมหรือเรื่องราวของมนุษย์ที่เกิดขึ้นในอดีต ร่องรอยที่คนในอดีตสร้างเอาไว้ เป้าหมายของการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ คือ การเข้าใจสังคมในอดีตให้ใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากที่สุด เพื่อนำมาเสริมสร้างความเข้าใจในสังคมปัจจุบัน

ถึงตอนนี้มีชาวปาเลสไตน์หลายร้อยคน และตำรวจอิสราเอลมากกว่า 20 นาย ที่ได้รับบาดเจ็บจากการปะทะกันในนครเยรูซาเลม ส่วนยอดผู้เสียชีวิตมีหลายสิบคน

ความรุนแรงระลอกล่าสุดเป็นผลมาความตึงเครียดที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหนึ่งเดือนมานี้ อย่างไรก็ดี ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลและปาเลสไตน์นั้นยืดเยื้อต่อเนื่องมาหลายทศวรรษแล้ว

อังกฤษเข้ายึดครองดินแดนที่เรียกกันว่าปาเลสไตน์ หลังจากที่จักรวรรดิออตโตมัน - ผู้ปกครองพื้นที่แห่งนั้นในตะวันออกกลาง - พ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 1

ผู้ที่อาศัยในพื้นที่ดังกล่าวประกอบไปด้วยชาวยิวเป็นส่วนน้อย และชาวอาหรับเป็นส่วนใหญ่

ความตึงเครียดระหว่างคนสองกลุ่มนี้ทวีคูณมากขึ้นเรื่อย ๆ หลังนานาชาติยกหน้าที่ให้อังกฤษเป็นผู้กำหนดให้ปาเลสไตน์เป็น "บ้านแห่งชาติของคนยิว" ชาวยิวถือว่าที่นี่เป็นที่อยู่อาศัยของบรรพบุรษของพวกเขาอยู่ก่อนแล้ว แต่ชาวอาหรับในปาเลสไตน์ก็บอกว่านี่เป็นบ้านของพวกเขาเช่นกัน และไม่เห็นด้วยกับแผนของอังกฤษ

ระหว่างทศวรรษ 1920-1940 ชาวยิวย้ายถิ่นฐานมาที่นี่มากขึ้น หลายคนหนีการประหัตประหารในยุโรป และต้องการบ้านหลังใหม่หลังถูกไล่ล่าฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โดยนาซี

ความรุนแรงระหว่างชาวยิวและอาหรับเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งต่อคนอังกฤษด้วย

ในปี 1947 สหประชาชาติมีมติให้แบ่งปาเลสไตน์ออกเป็นรัฐของชาวยิวและชาวอาหรับแยกกัน โดยให้เยรูซาเลมเป็นเมืองนานาชาติ

ผู้นำชาวยิวตอบรับแผนนี้แต่ฝ่ายอาหรับปฏิเสธไม่ยอมทำตามแผนนั้น

คำบรรยายภาพ,

ชาวยิวที่สู้รบอยู่ใต้ดินก่อนสงครามที่จะนำมาสู่การประกาศเอกราชของอิสราเอลในปี 1948

ในปี 1948 ผู้ปกครองชาวอังกฤษและผู้นำชาวยิวประกาศสถาปนาอิสราเอลเป็นรัฐหลังจากไม่สามารถเจรจาแก้ไขปัญหาได้

ชาวปาเลสไตน์หลายคนไม่เห็นด้วย และเกิดเป็นสงครามขึ้น โดยกองทัพจากประเทศอาหรับโดยรอบเข้าร่วมด้วย

ชาวปาเลสไตน์หลายแสนคนถูกบังคับให้อพยพออกจากบ้านของตัวเอง และกว่าจะมีการประกาศหยุดยิงในปีถัดมา อิสราเอลก็เข้ายึดพื้นที่ส่วนใหญ่ของปาเลสไตน์สำเร็จ

จอร์แดนได้ควบคุมพื้นที่ที่เรียกกันว่าเวสต์แบงก์ อียิปต์ได้ครอบครองกาซา ส่วนเยรูซาเลมถูกแยกออกเป็นของกองกำลังอิสราเอลฝั่งตะวันตก และของกองกำลังจอร์แดนในฝั่งตะวันออก

ด้วยความที่ไม่มีการบรรลุข้อตกลงใด ๆ ต่างฝ่ายก็ต่างโทษกันและกัน ว่าเป็นที่มาของความขัดแย้งและการทำสงครามเรื่อยมาอีกหลายทศวรรษ

ในสงครามครั้งใหญ่อีกหนเมื่อปี 1967 ที่รู้จักกันในชื่อ สงคราม 6 วัน (Six Day War) อิสราเอลสามารถยึดครองเยรูซาเลมตะวันออก, เขตเวสต์แบงก์, ฉนวนกาซา, พื้นที่ส่วนใหญ่ของที่ราบสูงโกลันของซีเรีย และแหลมไซนาย ไว้ได้

ผู้อพยพชาวปาเลสไตน์ส่วนใหญ่และลูกหลานของพวกเขาอาศัยอยู่ในกาซาและเขตเวสต์แบงก์ และในประเทศเพื่อนบ้านอย่างจอร์แดน, ซีเรีย และเลบานอน ด้วย

คนเหล่านี้และลูกหลานไม่ได้รับอนุญาตให้กลับบ้าน โดยอิสราเอลบอกว่าจะทำให้คนล้นประเทศและเป็นภัยต่อความมั่นคงของรัฐยิว

คำบรรยายภาพ,

เหล่าผู้บัญชาการกองทัพอิสราเอลที่เยรูซาเลมตะวันออกหลังยึดพื้นที่นี้ไว้ได้หลังสงคราม 6 วัน

อิสราเอลถือว่าพื้นที่ในเยรูซาเลมทั้งหมดเป็นเมืองหลวงของตัวเอง ขณะที่ชาวปาเลสไตน์บอกว่าเยรูซาเลมตะวันออกจะเป็นเมืองหลวงในอนาคตของพวกเขา โดยสหรัฐฯ เป็นเพียงหนึ่งในไม่กี่ประเทศเท่านั้นยอมรับการอ้างเป็นเจ้าของเยรูซาเลมทั้งเมืองของอิสราเอล

ในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา อิสราเอลได้เข้ามาก่อสร้างและตั้งถิ่นฐานในพื้นที่เหล่านี้ ซึ่งตอนนี้มีชาวยิวกว่า 6 แสนคนอาศัยอยู่

ชาวปาเลสไตน์บอกว่าการลงหลักปักฐานนี้ผิดกฎหมายนานาชาติ และเป็นอุปสรรคต่อกระบวนการเพื่อสันติภาพ แต่อิสราเอลก็ปฏิเสธ

มักมีความตึงเครียดอยู่ตลอดเวลาอยู่แล้วระหว่างชาวปาเลสไตน์และอิสราเอลที่อาศัยอยู่ในเยรูซาเลมตะวันออก กาซา และเขตเวสต์แบงก์

กาซานั้นปกครองโดยกลุ่มติดอาวุธฮามาสซึ่งเคยสู้รบกับอิสราเอลมาหลายรอบ โดยอิสราเอลและอียิปต์ปิดกั้นพรมแดนไปสู่กาซาอย่างแน่นหนาเพื่อจะสกัดการขนส่งอาวุธไปให้กลุ่มฮามาส ชาวปาเลสไตน์ในกาซาและเขตเวสแบงก์บอกว่าพวกเขาเดือดร้อนเพราะมาตรการเหล่านี้ของอิสราเอล ส่วนอิสราเอลบอกว่าต้องทำเพื่อป้องกันตัวเองจากความรุนแรงจากปาเลสไตน์

ตั้งแต่เริ่มเดือนรอมฎอน หรือการถือศีลอดของชาวมุสลิม ในปีนี้ การปะทะระหว่างชาวปาเลสไตน์และตำรวจอิสราเอลรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ และปัจจัยของความโกรธแค้นสำคัญมาจากการขู่ไล่ครอบครัวชาวปาเลสไตน์ออกจากพื้นที่ในเยรูซาเลมตะวันออก

ปัญหาที่ตกลงกันไม่ได้สักทีมีหลายอย่าง เช่นควรทำอย่างไรกับผู้อพยพชาวปาเลสไตน์ ชาวยิวที่ย้ายถิ่นฐานไปในเขตเวสแบงก์ควรได้อยู่ต่อหรือต้องโดนขับไล่ออก และทั้งสองฝ่ายควรจะครองเยรูซาเลมร่วมกันหรือเปล่า

ปัญหาที่ใหญ่และน่าจะซับซ้อนที่สุดคือดินแดนปาเลสไตน์ควรได้รับการสถาปนาเป็นรัฐอิสระเทียบเคียงกับอิสราเอลหรือเปล่า

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita