ความค บหน ารถไฟฟ าสายส ม วง เตาป น-ราษฎร บ รณะพระประแดง

ขอ้ มลู สภาพทัว่ ไปของจังหวดั สมทุ รปราการ การวิเคราะห์สภาวการณ์และศักยภาพ ยุทธศาสตร์การพัฒนาจงั หวัดสมทุ รปราการ แบบ จ.1 เรียงตามประเดน็ ยุทธศาสตร์

บทนำ ตามพระราชบัญญัติระเบียบบรหิ ารราชการแผ่นดนิ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 มาตรา 53/1 และพระราช กฤษฎกี าวา่ ด้วยการบรหิ ารงานจังหวดั และกลุ่มจงั หวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริการกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 มีเจตนารมณ์ในการส่งเสริมและสนับสนุนการ พัฒนาในระดับพ้ืนท่ี เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน โดยกาหนดให้จังหวัดฯ มีคณะกรรมการ บรหิ ารงานจงั หวดั แบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) และให้มีการระดมความคิดเห็น และการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ในพ้ืนท่ีเพื่อรับทราบปัญหาและความต้องการที่สอดคล้องกับปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน โดยจังหวัดฯ มกี ารปรบั ปรุงวสิ ัยทศั น์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เพอื่ ให้สอดคลอ้ งกบั สถานการณท์ ีเ่ ปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในยุค โลกาภิวัตน์จานวน 2 ครั้ง โดยคร้ังที่ 1 ได้กาหนดวิสัยทัศน์การพัฒนาเม่ือปี พ.ศ. 2546 ว่า “เป็นศูนย์กลาง Logistics เพ่อื การสง่ ออกสินค้าเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม เป็นเมืองอุตสาหกรรมหลักของชาติ บ้านเมืองน่าอยู่ และเป็นแหล่งรองรับการขยายตัวของสนามบินสุวรรณภูมิ” และครั้งที่ 2 ได้กาหนดวิสัยทัศน์การพัฒนาเม่ือปี พ.ศ. 2553 วา่ “เมอื งอุตสาหกรรมน่าอยู่” ในการน้ี สานักงาน ก.พ.ร. ในฐานะฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.น.จ.) แจ้งว่าตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่ม จังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 มาตรา 17 และมาตรา 2 กาหนด ให้ ก.น.จ เป็นผู้กาหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจาปี เพ่ือให้ผู้ว่าราชการจังหวัด และ คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) รับไปดาเนินการ และให้จังหวัดสมุทรปราการจัดทา แผนพัฒนาจังหวัด 4 ปี (พ.ศ. 2561 – 2564) ให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล แผนการบริหารราชการ แผ่นดิน ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี พ.ศ. 2560-2579 ทิศทางแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 แผนยุทธศาสตร์รายสาขา/เฉพาะรายสาขา ข้อส่ังการนายกรัฐมนตรี และทิศทางการพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศ Thailand 4.0 (Micro Cluster) ให้เป็นไปตามแนวทาง/หลักเกณฑ์การทบทวน แผนพัฒนาจังหวัดฯ ที่ ก.น.จ กาหนด โดยได้จัดให้มีการประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกันระหว่างส่วนราชการทุกส่วน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินทุกแห่ง ผู้แทนภาคเอกชน/ผู้แทนภาคประชาสังคม และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพ่ือ ระดมความคิดเห็น และให้ข้อเสนอแนะการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัดฯ ให้ครอบคลุมการพัฒนาในทุกมิติ ตลอดจนสอดคลอ้ งกบั ปญั หาความตอ้ งการของประชาชนในพน้ื ท่ี แผนพัฒนาจังหวัดสมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561 – 2564) ฉบับน้ี ได้ผ่านการพิจารณาและ ให้ความเห็นจากคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) สมุทรปราการ โดยได้กาหนด วิสัยทัศน์ในการพัฒนาจังหวัดว่า “เมืองอุตสาหกรรมสะอาด ปลอดภัย น่าอยู่” วิสัยทัศน์ในการพัฒนาพื้นท่ีว่า “เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เกษตรปลอดภัย แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติ ศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีความสมดุลกับการพัฒนาเมือง ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี สังคมม่ันคง ปลอดภัย” ซ่ึงจังหวัดฯ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าทุกภาคส่วนจะได้นาไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาจังหวัดและ บูรณาการงบประมาณเพอื่ ให้บรรลผุ ลตามวสิ ัยทัศนท์ ี่ได้กาหนดไว้ตอ่ ไป กลุ่มงำนยุทธศำสตรก์ ำรพฒั นำจังหวัด สำนกั งำนจงั หวดั สมุทรปรำกำร

สำรบญั ส่วนท่ี 1 ข้อมูลสภำพทัว่ ไปของจงั หวัดสมุทรปรำกำร ................................................................................1 1.1 ความเป็นมา................................................................................................................................. 2 1.2 ขอ้ มูลท่ัวไปจังหวัด....................................................................................................................... 3 1.3 คาขวัญจังหวัด ............................................................................................................................. 4 1.4 ลกั ษณะทางกายภาพ ................................................................................................................... 5 1.5 ขอ้ มูลการปกครองและประชากร................................................................................................. 7 1.6 ขอ้ มูลเศรษฐกจิ .......................................................................................................................... 10 1.7 ลักษณะทางสังคม...................................................................................................................... 19 1.8 โครงสรา้ งพ้นื ฐานและการเข้าถงึ การบริการ ............................................................................... 28 1.9 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม........................................................................................... 38 1.10 สรุปผลการดาเนนิ การตามแผนฯ ที่ผา่ นมา .............................................................................. 43 สว่ นที่ 2 กำรวเิ ครำะหส์ ภำวกำรณ์และศักยภำพ .........................................................................................64 2.1 ขอ้ มลู การวิเคราะห์ความตอ้ งการและศกั ยภาพของประชาชนในทอ้ งถ่นิ .................................... 64 2.2 ข้อมูลการวิเคราะห์ศกั ยภาพ...................................................................................................... 66 2.3 การวิเคราะห์ข้อมลู จากตัวชีว้ ดั การพัฒนาจังหวดั สมุทรปราการ...............................................105 2.4 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ตามดัชนคี วามกา้ วหน้าของคน (Human Achievement Index- HAI).....109 2.5 เครื่องมือการวเิ คราะห์ทางการบริหาร......................................................................................114 ส่วนที่ 3 ยุทธศำสตรก์ ำรพฒั นำจงั หวดั สมุทรปรำกำร ...............................................................................121 3.1 วสิ ัยทัศนจ์ งั หวัดสมทุ รปราการ (Vision)...................................................................................121 3.2 พันธกิจ (Mission) ...................................................................................................................121 3.3 เปา้ ประสงค์รวม (Ultimate Goals)........................................................................................121 3.4 ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) (จัดลาดับความสาคัญ) ..............................................122 3.5 ตาแหน่งการพฒั นาจงั หวัดสมทุ รปราการ (Positioning)..........................................................122 3.6 ความสอดคล้องประเดน็ ยุทธศาสตร์ เปา้ ประสงค์ กลยุทธ์ ตัวช้วี ดั คา่ เปา้ หมาย.......................123 3.7 สรปุ ภาพรวมการจัดทาแผนของจังหวดั สมุทรปราการ..............................................................127 สว่ นท่ี 4 แบบ จ.1 เรียงตำมประเดน็ ยทุ ธศำสตร์ 4.1 ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 1 และบญั ชชี ุดโครงการ 4.2 ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 2 และบญั ชีชดุ โครงการ 4.3 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 และบญั ชีชดุ โครงการ 4.4 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 และบัญชชี ดุ โครงการ 4.5 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 และบญั ชีชดุ โครงการ ภำคผนวก ภำคผนวก ก. รายการตรวจสอบการดาเนินการตามพระราชกฤษฎกี าว่าด้วยการบรหิ ารงานจงั หวดั และกลุม่ จงั หวัดแบบบรู ณาการ พ.ศ. 2551 ภำคผนวก ข. สรุปผลการทบทวนแผนพัฒนาจงั หวดั สมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564)

สำรบญั ตำรำง ตารางท่ี 1.1 แสดงจานวนหม่บู า้ น ตาบล เทศบาลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2558.......................... 8 ตารางที่ 1.2 แสดงจานวนประชากรแยกตามอาเภอ พ.ศ. 2556 – สิงหาคม 2559.......................................... 9 ตารางที่ 1.3 แสดงเนือ้ ท่ีใช้ประโยชนท์ างการเกษตร จังหวัดสมุทรปราการ พ.ศ. 2552 - 2556..................... 14 ตารางท่ี 1.4 แสดงแหลง่ ท่องเทย่ี วท่สี าคญั ด้านต่าง ๆ .................................................................................... 14 ตารางที่ 1.5 แสดงจานวนประชากรแยกตามอาเภอ ณ เดอื นสงิ หาคม 2559................................................. 19 ตารางที่ 1.6 แสดงประชากรจาแนกตามกลมุ่ อายุ พ.ศ. 2555 - 2558 ........................................................... 21 ตารางท่ี 1.7 แสดงอตั ราสว่ นนกั เรยี น/ครู นักเรยี น/หอ้ งเรียน จาแนกตามสังกดั พ.ศ. 2557.......................... 23 ตารางที่ 1.8 แสดงจานวนโรงเรยี นในสงั กัดองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ พ.ศ. 2556 - 2557.......................... 24 ตารางที่ 1.9 แสดงขอ้ มลู จานวนสถานรักษาพยาบาลจาแนกตามประเภท...................................................... 24 ตารางท่ี 1.10 แสดงขอ้ มูลจานวนบุคลากรทางการแพทยจ์ าแนกวชิ าชพี หลัก................................................. 25 ตารางท่ี 1.11 แสดงข้อมูลรายชื่อสถานีอนามัยสถานทร่ี ับบาบดั และฟื้นฟูผเู้ สพ/ผตู้ ิดสารเสพตดิ ในพ้ืนท่ี 6 อาเภอ...... 25 ตารางที่ 1.12 แสดงจานวนศาสนสถานในพ้ืนที่ ............................................................................................ 27 ตารางท่ี 1.13 สถติ ิผู้ใชไ้ ฟฟ้า และการจาหน่ายพลังงานไฟฟ้าของการไฟฟ้านครหลวง จาแนกตามประเภทผู้ใช้ จังหวัดสมุทรปราการ พ.ศ. 2555 - 2558......................................... 25 ตารางที่ 1.14 สถิตกิ ารประปา เป็นรายอาเภอ พ.ศ. 2558 ............................................................................ 35 ตารางที่ 1.15 แสดงการใหบ้ ริการโทรศพั ท์ พ.ศ. 2554 – 2557..................................................................... 36 ตารางที่ 1.16 แสดงข้อมูลไปรษณีย์ไทย และร้านไปรษณียไ์ ทยในจงั หวัดสมุทรปราการ ................................. 37 ตารางที่ 1.17 แสดงข้อมูลรา้ นไปรษณียไ์ ทยในจังหวัดสมุทรปราการ.............................................................. 37 ตารางท่ี 1.18 แสดงข้อมูลรายชื่อคลองสายตา่ ง ๆ ในเขตจงั หวัดฝ่ังตะวนั ออก จาแนกตามความรับผิดชอบ ......... 38 ตารางท่ี 1.19 การจาแนกเขตการใชป้ ระโยชน์ทด่ี นิ ในพืน้ ทีป่ ่าชายเลน ตามเขตอาเภอ................................... 42 ตารางท่ี 1.20 ผลการดาเนินโครงการตามแผนปฏิบัตริ าชการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2557..................... 43 ตารางที่ 1.21 ผลการดาเนนิ โครงการตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2558..................... 46 ตารางที่ 1.22 ผลการดาเนนิ โครงการตามแผนปฏิบตั ริ าชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559..................... 50 ตารางท่ี 1.23 ผลการดาเนินโครงการตามแผนปฏบิ ตั ิราชการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560..................... 53 ตารางที่ 1.24 ยทุ ธศาสตรแ์ ละผลการดาเนนิ งานในช่วงปี พ.ศ. 2557 - 2560................................................ 58 ตารางที่ 1.25 สรปุ ผลการดาเนนิ งานโดยภาพรวมประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 1 ของปงี บประมาณ พ.ศ. 2557 – 2560 ...... 59 ตารางที่ 1.26 สรุปผลการดาเนินงานโดยภาพรวมประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 – 2560 ...... 60 ตารางท่ี 1.27 สรุปผลการดาเนินงานโดยภาพรวมประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 3 ของปงี บประมาณ พ.ศ. 2557 – 2560 ...... 61 ตารางที่ 1.28 สรปุ ผลการดาเนินงานโดยภาพรวมประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 4 ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 – 2560 ...... 62 ตารางท่ี 1.29 สรปุ ผลการดาเนินงานโดยภาพรวมประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 ของปงี บประมาณ พ.ศ. 2557 – 2560 ...... 63 ตารางท่ี 2.1 แสดงมลู คา่ ผลติ ภัณฑม์ วลรวมจงั หวัด (GPP : Gross Provincial Product) สูงสุด 5 อนั ดับแรก........ 67 ตารางท่ี 2.2 แสดงมลู คา่ ผลิตภณั ฑ์มวลรวมจงั หวัดเฉลี่ยตอ่ คน (GPP per capita) สงู สดุ 10 อนั ดับแรก....... 68 ตารางที่ 2.3 แสดงมลู คา่ ผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจงั หวดั สมทุ รปราการ ปี พ.ศ. 2557 ณ ราคาประจาปี................. 69

สำรบญั ตำรำง (ตอ่ ) ตารางท่ี 2.4 แสดงผลติ ภัณฑ์มวลรวมจงั หวัด ณ ราคาประจาปี จาแนกตามสาขาการผลติ จงั หวัดสมุทรปราการ พ.ศ. 2554 - 2557.................................................................................. 71 ตารางที่ 2.5 สถติ กิ ารขนส่งทางอากาศ พ.ศ. 2554 – 2558 ของจังหวัดสมทุ รปราการ .................................. 72 ตารางท่ี 2.6 แสดงขอ้ มลู พน้ื ท่กี ารเกษตรและจานวนครวั เรอื นเกษตรกรแยกตามรายอาเภอ พ.ศ. 2556-2558....... 73 ตารางที่ 2.7 ลักษณะการถอื ครองท่ีดนิ ทางการเกษตร พ.ศ. 2554 - 2557 .................................................... 74 ตารางที่ 2.8 แสดงข้อมลู พื้นท่ีการปลูกพชื แตล่ ะชนดิ แยกตามรายอาเภอ พ.ศ. 2556 - 2558....................... 75 ตารางที่ 2.9 แสดงข้อมูลพ้ืนท่ีเพาะเลี้ยงสตั ว์นา้ จดื ......................................................................................... 76 ตารางที่ 2.10 แสดงขอ้ มลู พ้นื ท่ีเพาะเลย้ี งสัตว์น้าชายฝัง่ ................................................................................ 77 ตารางท่ี 2.11 แสดงขอ้ มูลพน้ื ท่ีเพาะเลย้ี งสตั ว์น้าชายฝงั่ ................................................................................ 77 ตารางท่ี 2.12 แสดงข้อมลู จานวนเกษตรกรผเู้ ล้ยี งสตั ว์ พ.ศ. 2556-2558 ...................................................... 78 ตารางท่ี 2.13 แสดงข้อมูลจานวนครัวเรือนผู้เลี้ยงสตั วป์ กี พ.ศ. 2556-2558.................................................. 78 ตารางที่ 2.14 สถานประกอบการอุตสาหกรรม จานวนเงนิ ทนุ และจานวนคนงาน จาแนกรายอาเภอ พ.ศ. 2558 ....... 79 ตารางที่ 2.15 สถติ ิการท่องเท่ยี วของจงั หวัดสมุทรปราการ พ.ศ. 2556 - 2558............................................ 81 ตารางท่ี 2.16 แสดงยอดจาหน่ายสินค้า OTOP ของผลิตภัณฑท์ ุกประเภท ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 - 2557..... 82 ตารางที่ 2.17 แสดงยอดจาหนา่ ยสินค้า OTOP แยกตามรายอาเภอ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ..................... 82 ตารางที่ 2.18 เนือ้ ท่ีป่าไมต้ ่อเน้ือทีท่ ้งั หมดของจงั หวดั สมุทรปราการ ปี พ.ศ. 2556 – 2558.......................... 83 ตารางที่ 2.19 สรปุ ผลการตรวจวดั ฝ่นุ ละออง และก๊าซโอโซน ใน 5 จงั หวดั แรกท่มี ีมลพษิ ทางอากาศ เกนิ คา่ มาตรฐานมากทสี่ ดุ ........................................................................................................ 84 ตารางท่ี 2.20 คณุ ภาพอากาศในจังหวดั สมุทรปราการแยกตามรายสถานี ปี พ.ศ. 2558................................ 84 ตารางที่ 2.21 คา่ ดัชนีช้วี ัดคุณภาพนา้ ท่สี าคัญ และบริเวณที่มปี ญั หาแหล่งนา้ บริเวณเจ้าพระยาตอนลา่ ง ....... 86 ตารางท่ี 2.22 แสดงขอ้ มูลปริมาณขยะมูลฝอย เป็นรายจงั หวัดทส่ี าคัญ พ.ศ. 2555-2557 ............................. 90 ตารางที่ 2.23 บัญชีสรุปปรมิ าณวัสดุทไ่ี ม่ใช้แล้วทไี่ ดร้ ับอนญุ าต (สก.2) ของโรงงานอตุ สาหกรรม ในพ้ืนท่จี งั หวัดสมุทรปราการ ปี พ.ศ. 2558............................................................................. 91 ตารางที่ 2.24 บัญชีปรมิ าณวัสดทุ ่ีไมใ่ ชแ้ ล้ว (ไม่อันตราย) ท่ีได้รบั อนุญาต (สก.2) ของโรงงานอุตสาหกรรม ในพน้ื ท่จี ังหวัดสมุทรปราการปี พ.ศ. 2558.............................................................................. 91 ตารางท่ี 2.25 บญั ชีปรมิ าณวสั ดุทไ่ี ม่ใช้แลว้ (อันตราย) ท่ีไดร้ บั อนุญาต (สก.2) ของโรงงานอตุ สาหกรรม ในพื้นทจ่ี งั หวัดสมุทรปราการปี พ.ศ. 2558.............................................................................. 92 ตารางท่ี 2.26 สถติ เิ ร่ืองรอ้ งเรียนดา้ นมลพษิ ประเภทต่าง ๆท่ีกรมควบคุมมลพิษรับแจ้งของจังหวดั สมทุ รปราการ ปี พ.ศ. 2555 - 2558.............................................................................................................. 92 ตารางท่ี 2.27 ผ้ปู ว่ ยนอก จาแนกตามกล่มุ สาเหตุ (21 กลุ่มโรค) จากสถานบริการสาธารณสขุ พ.ศ. 2554 - 2557....... 94 ตารางที่ 2.28 แสดงจานวนผู้สูงอายุทีม่ ีสิทธริ บั เบ้ียผู้สูงอายุ จาแนกรายอาเภอ ปี พ.ศ. 2559........................ 98 ตารางท่ี 2.29 แสดงจานวนศูนย์พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ และส่งเสรมิ อาชพี ผสู้ งู อายุในจังหวดั สมทุ รปราการ......... 98 ตารางท่ี 2.30 แสดงจานวนสมาชกิ ของชมรมคลงั ปัญญาผ้สู งู อายุ................................................................... 99

สำรบญั ตำรำง (ต่อ) ตารางท่ี 2.31 สถานการณผ์ ู้สูงอายุทป่ี ระสบปัญหา........................................................................................ 99 ตารางที่ 2.32 สถติ ิขอ้ มูลคนพิการจาแนกตามประเภทความพิการ...............................................................100 ตารางที่ 2.33 แสดงขอ้ มูลดัชนคี วามมน่ั คงของมนุษย์ พ.ศ. 2557................................................................101 ตารางที่ 2.34 สถติ ขิ อ้ มลู คดีอาญา 5 กลุ่ม ในพื้นทีจ่ ังหวดั สมทุ รปราการ พ.ศ. 2556-2558.........................102 ตารางท่ี 2.35 แสดงข้อมูลการจับกุมการคา้ และการแพร่ระบาดยาเสพติดปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 - 2557......103 ตารางที่ 2.36 แสดงขอ้ มูลเปรยี บเทียบรายพื้นทตี่ ามแบบจาหน่ายสรปุ ผลการบาบดั ปงี บประมาณ พ.ศ. 2555 - 2557................................................................................................................104 ตารางที่ 2.37 แสดงข้อมูลตวั ช้วี ัดการพัฒนาของจงั หวดั เปรยี บเทยี บกับคา่ กลางของประเทศ ......................105 ตารางที่ 2.38 แสดงตวั ชี้วดั การพฒั นาประเทศเปรียบเทยี บกับจังหวดั สมุทรปราการ ...................................106 ตารางท่ี 2.39 แสดงการเปรยี บเทียบดัชนีความก้าวหน้าระหวา่ งคนจังหวัดสมุทรปราการกับภาคกลางและประเทศ......110 ตารางที่ 2.40 ทางเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ท้งั 4 กลุม่ ................................................................................117 ตารางท่ี 3.1 ความสอดคล้องประเดน็ ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ตัวช้วี ดั คา่ เป้าหมาย.......................123

สำรบญั ภำพ ภาพท่ี 1.1 พระสมุทรเจดยี ์ .............................................................................................................................. 1 ภาพที่ 1.2 ป้อมแผลงไฟฟ้า.............................................................................................................................. 2 ภาพท่ี 1.3 ภาพหมูข่ ้าราชการเมืองสมทุ รปราการ............................................................................................ 2 ภาพท่ี 1.4 ตราจงั หวัดสมุทรปราการ ............................................................................................................... 3 ภาพท่ี 1.5 ตน้ ไม้ประจาจงั หวดั สมุทรปราการ.................................................................................................. 3 ภาพที่ 1.6 คาขวญั จังหวัดสมุทรปราการ .......................................................................................................... 4 ภาพที่ 1.7 แสดงแผนทีจ่ ังหวัดสมุทรปราการ ................................................................................................... 5 ภาพที่ 1.8 แผนภาพแสดงผงั กาหนดการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ นิ ตามทไี่ ด้จาแนกประเภทไว้ ...................................... 6 ภาพท่ี 1.9 แสดงจานวนประชากร พ.ศ. 2556 – สงิ หาคม 2559 จาแนกรายอาเภอ...................................... 10 ภาพที่ 1.10 แสดงสัดส่วนผลิตภณั ฑม์ วลรวมจงั หวดั (GPP) สมทุ รปราการ รายสาขาการผลิต ปี 2557.......... 11 ภาพท่ี 1.11 แสดงพ้ืนทภี่ ายในนิคมอุตสาหกรรมบางปู ................................................................................... 12 ภาพที่ 1.12 แผนภาพแสดงพืน้ ท่ภี ายในนิคมอุตสาหกรรมบางพลี .................................................................. 13 ภาพท่ี 1.13 แสดงพืน้ ทีภ่ ายในนิคมอุตสาหกรรมเอเชยี (สวุ รรณภูมิ)............................................................... 13 ภาพที่ 1.14 แสดงสดั สว่ นประชากรท่เี ข้ามาอย่อู าศยั จรงิ และเขา้ มาทางานของจังหวดั สมุทรปราการ............. 20 ภาพที่ 1.15 แสดงประชากรจาแนกตามกลุ่มอายุ พ.ศ. 2555 - 2558 ............................................................ 21 ภาพที่ 1.16 แสดงประชากร จาแนกตามการนบั ถือศาสนา............................................................................. 22 ภาพที่ 1.17 แผนภาพผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่งในพ้ืนที่ ................................................................ 29 ภาพที่ 1.18 แสดงสถานีรถไฟฟา้ สายสเี ขยี ว ช่วงแบรงิ่ – สมุทรปราการ......................................................... 31 ภาพท่ี 1.19 แนวเส้นทางโครงการรถไฟฟ้าสายสีมว่ ง ชว่ งเตาปูน - ราษฎรบ์ ูรณะ (วงแหวนกาญจนาภิเษก)........ 32 ภาพท่ี 1.20 แนวเสน้ ทางโครงการรถไฟฟา้ สายสเี หลอื ง ชว่ งลาดพร้าว-สาโรง................................................. 33 ภาพท่ี 1.21 สถติ ิผู้ใช้ไฟฟา้ และการจาหน่ายพลังงานไฟฟา้ ของการไฟฟ้านครหลวง จาแนกตามประเภทผู้ใช้ จังหวดั สมทุ รปราการ พ.ศ. 2555 - 2558 ............................................ 34 ภาพที่ 2.1 แสดงมลู ค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม (GPP) สมทุ รปราการ ณ ราคาประจาปี พ.ศ. 2548-2557 ................ 67 ภาพที่ 2.2 แสดงมลู ค่าผลิตภณั ฑ์มวลรวมต่อหวั (GPP per capita) สมุทรปราการ ปี พ.ศ. 2548 –2557......... 68 ภาพท่ี 2.3 แสดงสดั สว่ นผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจงั หวัด (GPP) สมุทรปราการ รายสาขาการผลิต ปี 2557 ........... 70 ภาพท่ี 2.4 ผลิตภณั ฑ์มวลรวมจังหวดั ณ ราคาประจาปี จาแนกตามสาขาการผลติ ที่สาคญั ของจงั หวัดสมุทรปราการ ปี พ.ศ. 2548 - 2557 .......................................................................... 70 ภาพที่ 2.5 มลู คา่ ผลติ ภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตรของจงั หวดั สมุทรปราการ ปี พ.ศ. 2548 - 2557................... 73 ภาพที่ 2.6 แสดงสถานประกอบการ จาแนกตามขนาดของสถานประกอบการ พ.ศ. 2556 – 2558 .............. 80 ภาพท่ี 2.7 แสดงลกู จ้าง จาแนกตามขนาดของสถานประกอบการ พ.ศ. 2556 – 2558................................. 80 ภาพท่ี 2.8 แสดงเหตกุ ารณ์ไฟไหม้บอ่ ขยะท่ัวประเทศรวมถึง 15 ครัง้ ทั่วประเทศ ........................................... 85 ภาพท่ี 2.9 คุณภาพน้าทะเลชายฝง่ั รายจงั หวัด ปี 2558 ................................................................................. 88 ภาพท่ี 2.10 ตวั ชี้วัดการพฒั นาประเทศเปรียบเทยี บกบั จังหวัดสมทุ รปราการ ...............................................107 ภาพที่ 2.11 แสดงตัวช้ีวดั การพัฒนาประเทศเปรยี บเทยี บกบั จังหวดั สมทุ รปราการ ......................................107

สำรบญั ภำพ (ต่อ) ภาพท่ี 2.12 แสดงการเปรียบเทยี บดัชนีความก้าวหนา้ ในแตล่ ะดัชนยี ่อยระหว่างคนจงั หวัดสมทุ รปราการ กบั ภาคกลาง.............................................................................................................................111 ภาพท่ี 2.13 แสดงการเปรยี บเทยี บดัชนคี วามกา้ วหนา้ ในแต่ละดัชนยี ่อยระหว่างคนจงั หวัดสมุทรปราการ กบั ภาพรวมของประเทศ..........................................................................................................111 ภาพที่ 2.14 การกาหนดยุทธศาสตรโ์ ดยใช้เทคนิค (TOWS Matrix) .............................................................116 ภาพท่ี 2.15 ความสมั พันธร์ ะหว่างทางเลอื กประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ และประเด็นยุทธศาสตร์ ของจงั หวัดสมุทรปราการ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 – 2564...................................................120 ภาพท่ี 3.1 ตาแหนง่ การพฒั นาจังหวัดสมุทรปราการ (Positioning) ............................................................122 ภาพที่ 3.2 สรุปภาพรวมการจัดทาแผนของจงั หวดั สมทุ รปราการ ................................................................127 ภาพที่ 3.3 สรปุ ภาพรวมประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 .........................................................................................128 ภาพท่ี 3.4 สรปุ ภาพรวมประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 .........................................................................................129 ภาพท่ี 3.5 สรุปภาพรวมประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 3 .........................................................................................130 ภาพท่ี 3.6 สรปุ ภาพรวมประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 .........................................................................................131 ภาพที่ 3.7 สรุปภาพรวมประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ 5 .........................................................................................132

สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู สภาพทั่วไปของจงั หวัดสมทุ รปราการ 1.1 ความเป็นมา ภาพท่ี 1.1 พระสมุทรเจดยี ์ “สมุทรปราการ” เป็นเมืองที่มีความส้าคัญมาแต่โบราณ เนื่องจากที่ต้ังเป็นเขตยุทธศาสตร์ทางน้า ค้า วา่ \"สมุทรปราการ\" มาจาก ค้าว่า \"สมุทร\" ซ่ึงแปลว่าทะเล และ \"ปราการ\" ท่ีแปลว่า ก้าแพง จึงมีความหมาย โดยรวมวา่ \"กา้ แพงรมิ น้า\" และหากยอ้ นหลงั ไป 800 ปีเศษ ชนชาตขิ อมซึง่ มีความรงุ่ เรืองอยู่ในขณะนั้นได้สร้าง เมืองพระประแดงบริเวณปากแม่น้าเจ้าพระยาเพื่อเป็นเมืองหน้าด่านซึ่งสันนิษฐานว่าในปัจจุบันคือบริเวณ ท่าเรือคลองเตย และต่อมาแผ่นดินบริเวณรอบเมืองพระประแดงนั้นได้งอกออกไปในทะเลโดยทิศใต้แผ่นดิน งอกถึงแถบต้าบลปากคลองบางปลากดซ่ึงอยู่ทางฝ่ังขวาของแม่น้าเจ้าพระยา และทางฝั่งซ้ายของแม่น้า เจ้าพระยาแผ่นดินได้งอกถึงบริเวณต้าบลบางด้วน บางหมู และบางนางเกรง ท้าให้เมืองพระประแดงมี ความส้าคัญลดลง เน่ืองจากอยู่ห่างจากบริเวณปากแม่น้า ต่อมาประมาณปี พ.ศ. 2163-2171 สมเด็จพระเจ้า ทรงธรรมกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ได้โปรดให้สร้างเมืองสมุทรปราการขึ้นใหม่ เพ่ือเป็นเมืองปากน้าหน้าด่าน ของกรงุ ศรอี ยธุ ยา และใช้เปน็ สถานท่ีทา้ การค้าขายกับชาวฮอลันดาโดยทรงพระราชทานท่ีดินบริเวณคลองบาง ปลากด ใหช้ าวฮอลันดาไวเ้ ป็นเมืองการคา้ ซงึ่ เรียกว่า \"นิวอมั สเตอร์ดมั \" ในปี พ.ศ. 2306 สมัยกรุงธนบุรี เป็นสมัยท่ีสร้างราชธานีใหม่ สมเด็จพระเจ้าตากสินโปรดฯ ให้ร้ือก้าแพง เมอื งพระประแดงเดิมทต่ี ้าบลราษฎร์บรู ณะ เพ่อื ไปสร้างกา้ แพงพระราชวังเมืองพระประแดงสญู หายสิน้ ซากนับแตน่ น้ั มา ในปี พ.ศ. 2352 สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงเห็น ความสา้ คญั ทีจ่ ะตอ้ งสรา้ งเมอื งทางชายฝั่ง เพ่ือปอ้ งกนั ศตั รูท่ีจะรุกล้ามาจากทางทะเลสู่แม่น้าเจ้าพระยา ซึ่งเดิม มีเมืองพระประแดงและเมืองสมุทรปราการเป็นเมืองหน้าด่าน แต่อยู่ในสภาพทรุดโทรมมาก พระองค์จึงทรง ด้าริท่ีจะบูรณะเมืองพระประแดง ซ่ึงอยู่ทางด้านขวาของแม่น้าเจ้าพระยา ระหว่างเมืองสมุทรปราการและ กรุงเทพฯ โดยโปรดให้สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท ลงส้ารวจพ้ืนท่ีบริเวณปากน้าเจ้าพระยา เพื่อ สรา้ งเมืองขนึ้ ใหมแ่ ละสรา้ ง \"ป้อมวทิ ยาคม\" ทีฝ่ ั่งซา้ ยของแมน่ ้าเจา้ พระยา

แผนพัฒนาจังหวัดจังหวัดสมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) |2 ในปี พ.ศ. 2362 พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลา้ นภาลัย รัชกาลที่ 2 ทรงโปรดให้ด้าเนินการสร้าง ปอ้ มที่สา้ คัญหลายปอ้ ม และทรงพระราชทานนาม ใหมว่ ่า \"เมืองนครเขื่อนขันธ์\"และทรงมีพระมหากรุณาธิคุณ ให้อพยพครอบครัวชาวมอญ โดยมีชายฉกรรจ์ประมาณ 300 คน ซ่ึงมีพระยาเจ่งเป็นผู้น้าจากเมืองปทุมธานีมา อยู่ ณ เมืองนครเข่ือนขันธ์ เพื่อเป็นก้าลังส้าคัญในการรักษาเมือง นอกจากการสร้างเมืองนครเข่ือนขันธ์แล้ว พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ยังทรงสร้างเมืองสมุทรปราการข้ึนมาใหม่ เน่ืองจากทรงไม่ไว้วางใจ ญวนนัก ประกอบกับเมืองสมุทรปราการเองก็เป็นเมืองท่ีอยู่ติดกับทะเลมากกว่า จึงทรงโปรดให้สร้างป้อมเพิ่ม อีกจา้ นวน 6 ป้อมทง้ั ด้านซา้ ยและขวาของแม่น้าเจ้าพระยา ภาพท่ี 1.2 ป้อมแผลงไฟฟ้า ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงเปล่ียนชื่อเมืองนครเขื่อน ขันธ์กลับเป็น \"เมืองพระประแดง\" ดังเดิม เพราะยังคงบริเวณเดิมของพระประแดง และในปี พ.ศ. 2459 ทรง เปล่ียนค้าว่าเมืองเป็นจังหวัด เมืองสมุทรปราการจึงเปลี่ยนเป็น \"จังหวัดสมุทรปราการ\" ประกอบด้วยอ้าเภอ สมุทรปราการ อ้าเภอบ่อ อ้าเภอบางพลี และอ้าเภอสีชัง และเมืองพระประแดงเป็น จังหวัดพระประแดง ประกอบด้วยอ้าเภอพระประแดง อ้าเภอพระโขนง และอา้ เภอราษฎร์บูรณะ ภาพท่ี 1.3 ภาพหมู่ขา้ ราชการเมืองสมทุ รปราการ

แผนพฒั นาจังหวดั จังหวดั สมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) |3 ปี พ.ศ. 2475 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 7 เกิดวิกฤตการณ์ เศรษฐกิจตกต่้าทั่วโลก รัฐบาลต้องประหยัดการใช้จ่ายเงินของแผ่นดิน จึงโปรดฯ ให้ยุบจังหวัดพระประแดง ข้ึนกบั จังหวัดสมทุ รปราการ อา้ เภอพระโขนงขน้ึ กบั จังหวัดพระนคร และอา้ เภอราษฎรบ์ ูรณะขน้ึ กับจงั หวดั ธนบุรี ในปี พ.ศ. 2485 ได้มีพระราชบัญญัติรวมจังหวัดพระนคร ธนบุรี สมุทรปราการ และนนทบุรีเข้าไว้ ด้วยกัน รวมเรียกว่า นครบาล กรุงเทพฯ ธนบุรี และในปี พ.ศ. 2486 มีการปรับปรุงระเบียบการปกครองใหม่ ยุบจังหวัดสมุทรปราการขึ้นกับจังหวัดพระนคร และในปี พ.ศ. 2489 ได้มีพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัด สมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซ่ึงมีผลใช้บังคับ ต้ังแต่วนั ที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 1.2 ขอ้ มลู ทว่ั ไปจังหวดั ตราประจ้าจังหวัดสมุทรปราการ เป็นรูปพระสมุทรเจดยี แ์ ละพระอโุ บสถที่ประดิษฐาน พระพุทธรปู ปางหา้ มสมุทร ความหมาย พระเจดยี ์ หมายถงึ พระสมุทรเจดีย์ที่สร้างอยู่กลางแม่น้า ภายในเจดีย์บรรจุ พระบรมสารีริกธาตุ และพระไตรปฎิ ก พระอุโบสถ หมายถงึ พระอุโบสถทป่ี ระดษิ ฐานพระพุทธรูปยืนปางหา้ มสมทุ ร ภาพท่ี 1.4 ตราจังหวัดสมทุ รปราการ ตน้ ไมป้ ระจ้าจังหวดั สมุทรปราการ ต้นโพทะเล ชื่อพันธไ์ุ ม้ โพทะเล ภาพท่ี 1.5 ต้นไมป้ ระจา้ จงั หวดั สมุทรปราการ ลักษณะท่ัวไป เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางสูง 10–15 เมตร เปลือกสีน้าตาลอ่อนอมชมพู ขรุขระ ใบ เป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ แผ่นใบรูปหัวใจ ดอกสีเหลืองขนาดใหญ่ ออกตามง่ามใบ ออกดอกช่วงเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน ผลโตขนาด 4 ซ.ม. ผิวแข็ง เมล็ดเล็กยาว คล้ายเส้นไหม ถิ่นก้าเนดิ ป่าชายเลน พบมากทางภาคใต้ และภาค ตะวันออกเฉียงใต้

แผนพัฒนาจังหวดั จงั หวัดสมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) |4 1.3 ค้าขวญั จงั หวดั ปอ้ มยุทธนาวี พระเจดยี ก์ ลางน้า ฟารม์ จระเข้ใหญ่ งามวไิ ลเมืองโบราณ สงกรานตพ์ ระประแดง ปลาสลิดแหง้ รสดี ประเพณรี ับบัว ครบถ้วนท่ัวอตุ สาหกรรม ป้อมยทุ ธนาวี พระเจดยี ก์ ลางน้า ฟารม์ จระเข้ใหญ่ งามวิไลเมืองโบราณ สงกรานต์พระประแดง ปลาสลดิ แหง้ รสดี ประเพณีรับบวั ครบถ้วนทวั่ อตุ สาหกรรม ภาพท่ี 1.6 ค้าขวัญจงั หวดั สมุทรปราการ

แผนพฒั นาจงั หวดั จงั หวดั สมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) |5 1.4 ลกั ษณะทางกายภาพ ภาพที่ 1.7 แสดงแผนทจี่ ังหวดั สมุทรปราการ 1.4.1 ท่ีตังและขนาดพืนที่ จังหวัดสมุทรปราการตั้งอยู่ริมฝ่ังแม่น้าเจ้าพระยา โดยอยู่ตอนปลายสุด ของแม่นา้ เจ้าพระยาและเหนอื อา่ วไทย ระหว่างเส้นรงุ้ ที่ 13 – 14 องศาเหนือ และเส้นแวงท่ี 100 – 101 องศา ตะวันออก มีเน้ือท่ีประมาณ 1,004.092 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 627,557.50 ไร่ อยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เป็นระยะทางประมาณ 30 กิโลเมตร ซึ่งถ้าหากสังเกตแนวแบ่งเขตของจังหวัด สมุทรปราการตั้งแต่อ้าเภอพระสมุทรเจดีย์ อ้าเภอพระประแดง ไปจรดอ้าเภอบางบ่อ ด้วยจินตนาการก็จะ พบวา่ จังหวัดสมุทรปราการมีรูปร่างคล้ายส่วนหัวและล้าตัวของ “ฮิปโปโปเตมัส” ที่ห่ันหน้าออกสู่ฝ่ังอ่าวไทย เพอื่ คอยปกป้องประเทศชาติจากการรุกรานของมวลหมู่ปจั จามติ ร ดว้ ยจิตสา้ นึกและสัญชาติญาณรักษ์ถ่ินย่ิงชีพ ของตนเอง โดยพน้ื ท่ขี องจังหวัดฯ มอี าณาเขตติดต่อกบั พน้ื ท่ี ใกลเ้ คียง ดงั น้ี - ทศิ เหนือติดกบั กรุงเทพมหานคร ระยะทาง 55.00 กโิ ลเมตร - ทิศใตต้ ิดกบั อา่ วไทย (พนื้ ทีช่ ายฝ่ังทะเล) ระยะทาง 47.20 กโิ ลเมตร - ทศิ ตะวันออกติดกับจังหวดั ฉะเชิงเทรา ระยะทาง 42.60 กโิ ลเมตร - ทศิ ตะวันตกตดิ กับกรุงเทพมหานคร ระยะทาง 34.20 กโิ ลเมตร 1.4.2 สภาพภูมิประเทศ พื้นท่ีส่วนใหญ่เป็นท่ีราบลุ่มมี แม่น้าเจ้าพระยาไหลผ่าน ไม่มีภูเขา มีล้าคลอง รวม 63 สาย โดยเป็นคลองชลประทาน 15 สาย คลองธรรมชาติ 48 สาย ใช้ประโยชน์ทางคมนาคมและการ ขนส่งทางน้า รวมท้ังการประมงและการเกษตรกรรม จังหวัดฯ ไม่มีพื้นท่ีป่าไม้ (ป่าบก) มีแต่ป่าชายเลน ลักษณะภูมิประเทศของจงั หวดั แบ่งออกเปน็ 3 สว่ น คือ

แผนพฒั นาจงั หวดั จงั หวัดสมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) |6 1) บริเวณริมแม่น้าเจ้าพระยา บริเวณท้ังสองฝั่งเป็นท่ีราบลุ่มเหมาะแก่การท้านาท้าสวน และ เพาะเลย้ี งสตั ว์น้า แต่ปจั จบุ นั พ้นื ทีบ่ างสว่ นไดเ้ ปลย่ี นไปเป็นโรงงาน ทอี่ ยู่อาศัย และเขตพาณิชยกรรมตามสภาพ สภาวะเศรษฐกจิ ด้านการคา้ การลงทนุ และชุมชนเมอื งทเ่ี กดิ ข้ึนใหม่ 2) บริเวณตอนใต้ชายติดทะเล เป็นบริเวณที่ได้รับอิทธิพลของน้าทะเลท่วมถึง ส่วนใหญ่เป็นที่ ราบลุ่ม เป็นดนิ เหลวลมุ่ เหมาะแก่การท้าป่าจากป่าชายเลน และการเพาะเลีย้ งสัตว์ชายฝั่ง 3) บริเวณท่ีราบตอนเหนือและตะวันออก บริเวณน้ีเป็นที่ราบกว้างใหญ่ ส้าหรับระบายน้าและ เก็บกักน้า อ้านวยประโยชน์ในด้านการชลประทาน การท้านา การเพาะเล้ียงสัตว์น้า ปัจจุบันเป็นท่ีตั้งของ สนามบินสุวรรณภูมิ และมีธุรกรรมที่ต่อเนื่องเช่ือมโยงหรือ Supply Chain ท้ังด้านการค้า การลงทุน ภาคอตุ สาหกรรม เกษตรกรรมแปรรูป กิจกรรม Logistics และอสังหารมิ ทรัพย์ ฯลฯ 1.4.3 สภาพภูมิอากาศ จังหวัดสมุทรปราการมีสภาพภูมิอากาศแบบพื้นที่ชายทะเล ในฤดูร้อนมี ความชืน้ ในอากาศสงู เนอ่ื งจากอทิ ธิพลของลมทะเลและลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ฤดูฝนมีฝนตกมาก ฤดูหนาว ก็ไม่หนาวจนเกินไป อุณหภูมิเฉล่ียสูงสุด 32.60 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉลี่ยต่้าสุด 28.91 องศาเซลเซียส อณุ หภมู ิเฉลีย่ 29.75 องศาเซลเซยี ส 1.4.4 การใช้ประโยชน์ที่ดินจากผังเมืองรวม จังหวัดสมุทรปราการได้มีการใช้ผังเมืองรวมสมุทรปราการ ฉบบั ปี พ.ศ.2556 ตามท่ีได้ประกาศใหม้ ีผลบงั คับใชแ้ ลว้ ต้งั แตว่ ันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2557 ตามกฎกระทรวง ออก ตามความในมาตรา 5 แหง่ พระราชบัญญตั กิ ารผงั เมือง พ.ศ.2518 ผังเมืองรวมสมุทรปราการ ได้ก้าหนดแผนผัง ก้าหนดการใช้ประโยชน์ท่ดี ินตามทไ่ี ด้จา้ แนกประเภทไว้ ซง่ึ จะมีผลบงั คบั ใช้ 5 ปี ตั้งแต่วันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2557 ถงึ วันที่ 4 กมุ ภาพันธ์ 2562 ภาพท่ี 1.8 แผนภาพแสดงผังกา้ หนดการใช้ประโยชน์ทด่ี ินตามทไ่ี ดจ้ า้ แนกประเภทไว้

แผนพัฒนาจงั หวัดจงั หวัดสมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) |7 จังหวัดสมุทรปราการในปัจจุบันถือเป็นเมืองอุตสาหกรรมหลัก ซ่ึงมีความต้องการใช้แรงงาน ภาคอุตสาหกรรมจ้านวนมากมีทักษะฝีมือและต่้ากว่าจากนอกพื้นที่และในพื้นที่ ทั้งประเภทไปเช้า-เย็นกลับ และมาพักค้างคืน ประกอบกับเม่ือ 2554 ได้เกิดมหาอุทกภัยกับกรุงเทพมหานครและจังหวัดฯ ทั่วประเทศ แตจ่ ังหวัดสมุทรปราการไมไ่ ดร้ ับผลกระทบจากอทุ กภยั ดงั กลา่ ว จงึ สง่ ผลให้เกิดการขยายตัวของชุมชนที่อยู่อาศัยเดิม และเกิดชุมชนท่ีอยู่อาศัยใหม่ ท้ังในรูปแบบหมู่บ้านจัดสรร บ้านเช่า ห้องเช่า คอนโดมิเนียม อาคารชุด บ้านเอ้ืออาทร ท้าให้มีประชาชนมาอยู่อาศัยอยู่ในจังหวัดหนาแน่นเพ่ิมมากข้ึน โดยเฉพาะอย่างย่ิงการมีโครงการเอ้ืออาทรท้ัง 17 โครงการ มีทอี่ ยู่อาศยั 30,557 แหง่ รวมท้ังเป็นแหล่งสะสม Land bank ของบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ และกลุ่มประชาชนที่มีรายได้หรือเงินออมสูง ซึ่งจะส่งผลต่อแนวโน้มการเพิ่มข้ึนของประชากรและราคาท่ีดิน แบบก้าวกระโดด เมื่อรวมกับการขยายเส้นทางรถไฟฟ้า ช่วงแบร่ิง - การเคหะสมุทรปราการ ส่งผลให้เกิด ปัญหาด้านสาธารณูปโภค สาธารณูปการที่มีอยู่ไม่สามารถรองรับได้อย่างเพียงพอ เกิดปัญหาการจราจรติดขัด บริการสาธารณะต่าง ๆ ไม่เพียงพอ เกิดผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนในทุกด้าน ดังนั้น จึงเป็น ปัญหาส้าคัญท่ีจังหวัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่งด้าเนินการพัฒนาระบบสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ รองรบั การขยายตัวแบบกา้ วกระโดดทจ่ี ะเกิดขน้ึ ในอนาคต 1.5 ข้อมลู การปกครองและประชากร 1.5.1 การปกครอง แบ่งเขตการปกครองภายในจังหวัดออกเป็น 6 อ้าเภอ ซ่ึงมี 50 ต้าบล 399 หมู่บ้าน โดยมีองค์การบริหารราชการส่วนท้องถ่ินจ้านวน 49 แห่ง ประกอบด้วยองค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาล จ้านวน 18 แห่ง (1 เทศบาลนคร 4 เทศบาลเมือง และ 13 เทศบาลต้าบล) และองค์การบริหารส่วนต้าบล จา้ นวน 30 แหง่ สามารถจ้าแนกตามรายอ้าเภอได้ดงั นี้ 1) อ้าเภอเมืองสมุทรปราการ ประกอบด้วย เทศบาล 7 แห่ง : เทศบาลนครสมุทรปราการ เทศบาลเมืองปากน้าสมุทรปราการ เทศบาลต้าบลส้าโรงเหนือ เทศบาลต้าบลบางปู เทศบาลต้าบลแพรกษา เทศบาลต้าบลดา่ นส้าโรง และเทศบาลต้าบลบางเมือง อบต. 4 แห่ง : แพรกษา บางด้วน บางโปรง เทพารักษ์ และแพรกษาใหม่ 2) อา้ เภอบางบ่อ ประกอบด้วย เทศบาล 4 แห่ง : เทศบาลต้าบลบางบ่อ เทศบาลต้าบลคลองสวน เทศบาลต้าบลคลองดา่ น และเทศบาลต้าบลบางพลีน้อย อบต. 7 แห่ง : บางเพรียง บ้านระกาศ คลองด่าน บางบ่อ คลองนิยมยาตรา คลองสวน และเปร็ง 3) อา้ เภอบางพลี ประกอบด้วยเทศบาล 1 แห่ง : เทศบาลต้าบลบางพลี อบต. 6 แห่ง : บางพลีใหญ่ บางแก้ว บางโฉลง บางปลา ราชาเทวะ และหนองปรอื 4) อ้าเภอพระประแดง ประกอบด้วยเทศบาล 3 แห่ง : เทศบาลเมืองพระประแดง เทศบาลเมืองลัดหลวง และเทศบาลเมืองปูเ่ จ้าสมงิ พราย อบต. 6 แหง่ : ทรงคนอง บางกระสอบ บางยอ บางน้าผง้ึ บางกะเจ้า และบางกอบวั 5) อ้าเภอพระสมุทรเจดีย์ ประกอบด้วยเทศบาล 2 แห่ง : เทศบาลต้าบลพระสมุทรเจดีย์และ เทศบาลตา้ บลแหลมฟา้ ผ่า อบต. 4 แห่ง : บ้านคลองสวน ในคลองบางปลากด แหลมฟา้ ผ่า และนาเกลือ 6) อ้าเภอบางเสาธง ประกอบด้วยเทศบาล 1 แห่ง : เทศบาลต้าบลบางเสาธง อบต. 3 แห่ง : บางเสาธง ศีรษะจรเขน้ ้อย และศีรษะจรเข้ใหญ่

แผนพัฒนาจงั หวัดจังหวัดสมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) |8 ตารางท่ี 1.1 แสดงจ้านวนหมูบ่ า้ น ต้าบล เทศบาลและองค์การบรหิ ารส่วนต้าบล พ.ศ. 2558 อา้ เภอ พนื ที่ (ตร. ตา้ บล หมู่บา้ น เทศบาล อบต. หมายเหตุ กม.) (แหง่ ) (แหง่ ) (แหง่ ) (แห่ง) จังหวดั สมทุ รปราการ 1,004.09 50 399 18 30 1 เทศบาลนคร 4 เทศบาลเมือง 13 เทศบาลตา้ บล เมืองสมุทรปราการ 190.55 13 95 7 5 1 เทศบาลนคร 1 เทศบาลเมอื ง 5 เทศบาลตา้ บล พระประแดง 73.37 15 67 3 6 3 เทศบาลเมอื ง บางพลี 243.89 6 83 1 6 1 เทศบาลตา้ บล พระสมทุ รเจดีย์ 120.38 5 42 2 4 2 เทศบาลตา้ บล บางบอ่ 245.01 8 74 4 6 4 เทศบาลตา้ บล บางเสาธง 130.89 3 38 1 3 1 เทศบาลตา้ บล แหลง่ ท่ีมา: ข้อมลู จากส้านกั นโยบายและแผน กระทรวงมหาดไทย 1.5.2 การบรหิ ารราชการในพืนทีจ่ ังหวัดฯ มหี น่วยงานราชการ รัฐวสิ าหกิจ และองค์กรปกครองส่วน ท้องถ่นิ แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ 1) สว่ นราชการสังกดั สว่ นภมู ภิ าค มีจ้านวน 31 หนว่ ยงาน 2) ส่วนราชการสงั กดั ส่วนกลาง มีจ้านวน 52 หน่วยงาน 3) สว่ นราชการสังกดั ส่วนท้องถน่ิ มจี า้ นวน 49 หนว่ ยงาน 4) สว่ นราชการอสิ ระ มีจา้ นวน 5 หน่วยงาน 5) รฐั วสิ าหกิจ มีจ้านวน 15 หนว่ ยงาน 1.5.3 ประชากรและโครงสร้างประชากร 1) จ้านวนประชากร จังหวัดสมุทรปราการมีประชากรตามทะเบียนราษฎรมากเป็นอันดับ 14 ของประเทศ และอนั ดับ 2 ของภาคกลาง รองจากกรงุ เทพมหานคร เนื่องจากเป็นจังหวัดฯ รองรับการขยายตัว จากกรงุ เทพฯ และสนามบนิ นานาชาติสุวรรณภูมิ ท้ังในด้านการผลิตภาคอุตสาหกรรม การค้า การบริการและ การกระจายตัวของประชากร จึงท้าให้จังหวัดฯ มีประชากรท่ีย้ายถ่ินจากท่ีอื่นมาอาศัยอยู่ในพ้ืนท่ีเป็นจ้านวนมาก ซง่ึ มที ้งั ประชากรทเ่ี คล่ือนยา้ ยเขา้ มาโดยแจ้งย้ายทีอ่ ยูอ่ ยา่ งถูกตอ้ ง และไม่แจ้งย้ายทอ่ี ยู่เขา้ มาอาศัยท้าให้จ้านวน ประชากรท่ีมีอยู่จริงสูงกว่าจ้านวนประชากรตามทะเบียนราษฎรเกือบเท่าตัว (บทวิเคราะห์อยู่ในหัวข้อท่ี 1.7 ลกั ษณะทางสังคม) โดยเฉพาะอย่างย่ิงผู้ท่ีอยู่ในวัยท้างานจะมีรายชื่ออยู่ในทะเบียนราษฎรต่้ากว่ากลุ่มอ่ืน โดยข้อมูล ณ เดือนสิงหาคม 2559 จังหวัดฯ มีประชากรตามทะเบียนราษฎรท้ังสิ้น 1,288,158 คน แยกเป็นชาย 617,406 คน หญิง 670,752 คน ซ่ึงจะพบว่าประชากรส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในพ้ืนท่ีอ้าเภอเมืองสมุทรปราการมากท่ีสุด รองลงมา คอื อ้าเภอบางพลี และอ้าเภอพระประแดง ตามล้าดับ โดยมีอัตราการขยายตัวเพิ่มข้ึนเรื่อย ๆ เม่ือเปรียบเทียบ กบั จา้ นวนประชากรตอ่ พน้ื ท่ีจงั หวดั ฯ โดยเฉลีย่ ประมาณ 1,253 คนต่อตารางกิโลเมตร

แผนพฒั นาจงั หวดั จงั หวัดสมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) |9 ตารางท่ี 1.2 แสดงจ้านวนประชากรแยกตามอ้าเภอ พ.ศ. 2556 – สิงหาคม 2559 ปี พ.ศ. อา้ เภอ รวม ชาย หญงิ จา้ นวนบ้าน ความหนาแน่น ประชากร 2556 เมอื งสมุทรปราการ 520,258 248,755 271,503 221,584 (หน่วย: คน/ตร.กม.) พระประแดง 201,357 97,606 103,751 83,608 2,730.30 2,744.41 บางพลี 220,820 104,647 116,173 126,020 905.41 1,034.79 พระสมทุ รเจดยี ์ 124,568 60,650 63,918 53,304 414.27 558.54 บางบ่อ 101,500 49,646 51,854 36,754 1,236.55 2,760.34 บางเสาธง 73,107 35,440 37,667 49,336 2,725.98 941.85 รวมทังสนิ 1,241,610 596,744 644,866 570,561 1,064.96 420.89 2557 เมอื งสมุทรปราการ 525,982 251,188 274,794 226,721 569.27 1,256.39 พระประแดง 200,005 96,952 103,053 84,093 2,784.29 2,710.22 บางพลี 229,708 108,737 120,971 133,461 974.25 1,094.98 พระสมุทรเจดีย์ 128,200 62,273 65,927 55,822 427.58 578.55 บางบอ่ 103,123 50,433 52,690 39,291 1,274.10 2,792.13 บางเสาธง 74,512 36,119 38,393 50,525 2,692.48 995.11 รวมทังสนิ 1,261,530 605,702 655,828 589,913 1,112.59 431.52 2558 เมอื งสมุทรปราการ 530,547 253,082 277,465 232,856 582.28 1,282.91 พระประแดง 198,849 96,252 102,597 84,877 บางพลี 237,611 112,369 125,242 140,498 พระสมทุ รเจดยี ์ 131,814 64,087 67,727 56,698 บางบอ่ 104,762 51,255 53,507 40,867 บางเสาธง 75,727 36,733 38,994 52,641 รวมทงั สิน 1,279,310 613,778 665,532 608,437 2559 เมืองสมุทรปราการ 532,040 253,521 278,519 240,678 (ณ เดือน พระประแดง 197,547 95,496 102,051 86,517 สงิ หาคม) บางพลี 242,698 114,722 127,976 144,697 พระสมุทรเจดีย์ 133,933 65,053 68,880 58,983 บางบอ่ 105,726 51,676 54,050 41,858 บางเสาธง 76,214 36,938 39,276 53,609 รวมทังสนิ 1,288,158 617,406 670,752 626,342 แหล่งทม่ี า: ขอ้ มลู จากท่ที า้ การปกครองจงั หวดั สมุทรปราการ ณ เดอื นสิงหาคม 2559

แผนพัฒนาจงั หวดั จงั หวัดสมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 10 2556 2557 2558 2559 บางเสาธง 73,107 บางบ่อ 74,512 75,727 พระสมทุ รเจดีย์ 76,214 บางพลี 101,500 พระประแดง 103,123 เมืองสมุทรปราการ 104,762 105,726 0 124,568 128,200 131,814 133,933 220,820 229,708 237,611 242,698 201,357 200,005 198,849 197,547 520,258 525,982 530,547 532,040 100,000 200,000 300,000 400,000 500,000 600,000 จา้ นวนประชากร (คน) ภาพท่ี 1.9 แสดงจ้านวนประชากร พ.ศ. 2556 – สิงหาคม 2559 จา้ แนกรายอ้าเภอ 1.6 ข้อมลู เศรษฐกจิ 1.6.1 อัตราการขยายตัวของมูลคา่ ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP : Gross Provincial Product) จังหวัดสมุทรปราการ มีฐานเศรษฐกิจส่วนใหญ่ อยู่ในภาคอุตสาหกรรมและภาคพาณิชย์กรรม โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการผลิต ยานยนต์ ช้ินส่วนยานยนต์ อุปกรณ์เคร่ืองจักร ผลิตภัณฑ์โลหะ เคมีภัณฑ์ พลาสติก เคร่ืองใช้ไฟฟ้า/อิเล็กทรอนิกส์ อาหารแปรรูป การขนส่งสินค้าและบริการ (Logistics) และธุรกิจ ค้าขายของภาคเอกชน ซ่ึงจากการวิเคราะห์ข้อมูล GPP พบว่าในปี พ.ศ. 2557 จังหวัดฯ มีมูลค่าผลิตภัณฑ์ มวลรวมจังหวัด (GPP : Gross Provincial Product) จากกิจกรรมการผลิตสินค้าและบริการทุกชนิดในพื้นท่ี จังหวัดฯ 655,304 ล้านบาท สูงเป็นอันดับ 4 ของประเทศรองจากกรุงเทพมหานคร ระยอง และ ชลบุรี ซ่ึงมี อัตราการขยายตัวจากปี พ.ศ. 2556 เล็กน้อยเพียงร้อยละ 0.53 และมีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเฉลี่ยต่อคน (GPP per capita) อยู่ที่ 331,142 บาท ซ่ึงมีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 8 ของประเทศ รองจากระยอง กรุงเทพมหานคร ชลบรุ ี ฉะเชงิ เทรา พระนครศรอี ยุธยา ปราจีนบุรี และสมทุ รสาคร จากการวเิ คราะห์มลู ค่าผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจังหวัดสมทุ รปราการ ปี พ.ศ. 2557 ณ ราคาประจ้าปี พบว่า สัดส่วนโครงสร้างเศรษฐกิจของจังหวัดสมุทรปราการ ปี พ.ศ. 2557 ส่วนใหญ่เป็นภาคอุตสาหกรรม ร้อยละ 47 การขนส่ง Logistics ร้อยละ 21 การค้าสง่ ค้าปลกี รอ้ ยละ 14 และการบริการด้านอสังหาริมทรัพย์ การให้เชา่ และบรกิ ารทางธรุ กิจ รอ้ ยละ 6

แผนพฒั นาจังหวัดจังหวดั สมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 11 บริการด้านอสงั หาริมทรัพย์ อื่นๆ การให้เชา่ และบริการทางธุรกิจ 12% 6% อุตสาหกรรม 47% การขายสง่ การขายปลีก การซอ่ มแซมยานยนต์ จกั รยานยนต์ 14% การขนส่ง สถานท่เี ก็บสินคา้ และการคมนาคม 21% ภาพที่ 1.10 แสดงสดั ส่วนผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจงั หวดั (GPP) สมุทรปราการ รายสาขาการผลติ ปี 2557 1.6.2 โครงสร้างรายไดห้ ลกั 1) เศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรม จังหวัดสมุทรปราการเป็นแหล่งวัตถุดิบท่ีน้าเข้าจากต่างประเทศ และเป็นคลังสินค้าที่ส้าคัญ นอกจากน้ยี งั เป็นศูนย์กลางการขนส่งท้ังทางบก ทางน้า และทางอากาศ ซ่ึงมีความสะดวก รวดเร็ว และช่วยในการ ลดต้นทุนการผลิตของภาคอุตสาหกรรม จึงส่งผลนักลงทุนเข้ามาประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรมเป็น จ้านวนมาก โดยดูได้จากการขอจดทะเบียนโรงงานของจังหวัดฯ พบว่ามีโรงงานอุตสาหกรรมท่ีได้รับการจดทะเบียน ท้ังสิ้น 8,439 แห่ง เงินทุน 583,940.27 ล้านบาท มีคนงานจ้านวน 532,600 คน แบ่งเป็น เพศชาย จ้านวน 323,860 คน และเพศหญิงจ้านวน 208,740 คน นับได้ว่าเป็นจังหวัดท่ีมีโรงงานอุตสาหกรรมเป็นจ้านวนมาก ท่ีสุดแห่งหนึ่งในประเทศ และมีอุตสาหกรรมการผลิตท่ีส้าคัญ ได้แก่ ยานยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ เคร่ืองจักร/ อุปกรณ์ผลิตภัณฑ์โลหะ ไฟฟ้า/ช้ินส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ส่ิงทอ ผลิตภัณฑ์อาหาร แปรรูป เคมีภัณฑ์/พลาสติก ฯลฯ โดยต้ังอยู่ในนิคมอุตสาหกรรม และนอกนิคมอุตสาหกรรม ประกอบกับจังหวัดฯ ถูกก้าหนดให้อยู่ในเขตส่งเสริม การลงทุนของ BOI ที่เป็นเขต 1 ท้าให้ได้รับสิทธิประโยชน์ต้่าสุด และการก้าหนดผังเมืองรวมท้าให้มีข้อจ้ากัด ในการขออนญุ าตต้ังและขยายโรงงานไดเ้ ฉพาะบางพื้นท่ีและบางชนิดประเภทของโรงงาน ดังน้ัน จึงส่งผลท้าให้ การลงทนุ ในปัจจบุ ันชะลอตวั ลง นิคมอุตสาหกรรม การแบ่งพ้ืนท่ีในนิคมอุตสาหกรรม สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ (1) เขตอุตสาหกรรมทั่วไป (General Industrial Zone) คือ เขตพื้นที่ที่ก้าหนดไว้ส้าหรับการประกอบ อุตสาหกรรม การบริการหรือกิจการอื่นที่เป็นประโยชน์ หรือเก่ียวเนื่องกับการประกอบอุตสาหกรรมหรือ การบริการ (2) เขตประกอบการเสรี (I-EA-T Free Zone) คือ เขตพ้ืนที่ที่ก้าหนดไว้ส้าหรับการประกอบ อุตสาหกรรมพาณิชยกรรม หรือกิจการอื่นท่ีเก่ียวเน่ืองกับการประกอบอุตสาหกรรมหรือพาณิชยกรรม เพ่ือประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ การรักษาความม่ันคงของรัฐ สวัสดิภาพของประชาชนการจัดการด้านส่ิงแวดล้อม หรือความจ้าเป็นอ่ืนตามที่คณะกรรมการก้าหนด โดยของท่ีน้าเข้าไปในเขตดังกล่าวจะได้รับสิทธิประโยชน์ ทางภาษีอากรและค่าธรรมเนียมเพิ่มข้ึนตามท่ีกฎหมายบัญญัติซ่ึงจังหวัดสมุทรปราการมีนิคมอุตสาหกรรม ท่อี ยู่ในพนื้ ที่ จ้านวน 3 แห่งประกอบดว้ ย

แผนพัฒนาจังหวดั จังหวดั สมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 12 1) นคิ มอุตสาหกรรม บางปู Bangpoo Industrial Estate ก่อตั้งเม่ือปี พ.ศ. 2520 ต้ังอยู่กิโลเมตรที่ 34-37 ถ.สุขุมวิท ต.บางปูใหม่ และ ต.แพรกษา อ.เมือง จ.สมุทรปราการ ระยะทางจากสถานที่ต่างๆ โดยอยู่ห่างจากสนามบินสุวรรณภูมิ 25 กิโลเมตร กรุงเทพมหานคร 37 กิโลเมตร ท่าเรือกรุงเทพ 24 กิโลเมตร ท่าเรือแหลมฉบัง 100 กิโลเมตร และ มีพ้ืนที่โครงการท้ังหมดจ้านวน 5,472 - 2-68 ไร่ แบ่งเป็นเขตอุตสาหกรรมท่ัวไปจ้านวน 3,659 - 0-96 ไร่ เขตประกอบการเสรีจ้านวน 377-3-56 ไร่ เขตที่พักอาศัย/พาณิชย์จ้านวน 149-1-60 ไร่ และพื้นที่ สาธารณปู โภคและสงิ่ อา้ นวยความสะดวกจ้านวน 1,286-0-56 ไร่ 2) นคิ มอุตสาหกรรมบางพลี Bangplee Industrial Estate ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2532 ต้ังอยู่เลขท่ี 136/2 หมู่ 17 ถนนเทพารักษ์ ต้าบลบางเสาธง กง่ิ อา้ เภอบางเสาธง จงั หวดั สมุทรปราการ 10540 ระยะทางจากสถานที่ต่างๆ โดยห่างจากสนามบินสุวรรณภูมิ 20 กิโลเมตร สนามบินดอนเมอื ง 50 กิโลเมตร ท่าเรอื แหลมฉบงั 60 กโิ ลเมตร ท่าเรือมาบตาพุด 150 กิโลเมตร นิคมอุตสาหกรรมบางปู 25 กิโลเมตร นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง 23 กิโลเมตร สถานที่ตากอากาศบางปู 24 กิโลเมตร จังหวัดสมุทรปราการ 30 กิโลเมตร กรุงเทพฯ 60 กิโลเมตร และมีพื้นท่ีโครงการท้ังหมด 1,004 ไร่ แบ่งเป็น เขตอตุ สาหกรรมท่ัวไป 793 ไร่ เขตสา้ นักงาน 14 ไร่ พื้นทส่ี าธารณูปโภคและส่งิ อ้านวยความสะดวก 194 ไร่ 3) นิคมอตุ สาหกรรมเอเชยี (สุวรรณภูมิ) ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2551 ต้ังอยู่ท่ีหลักกิโลเมตรท่ี 13-14 ถนนสาย ฉช.3001 (ถนนหลวงแพร่ง) และบริเวณทางหลวงชนบทหมายเลข สป.73001 (ถนนรัตนโกสินทร์สมโภช 200 ปี) ต้าบลบ้านระกาศ ต้าบล คลองสวน ต้าบลบางพลีน้อย ต้าบลเปร็ง ต้าบลจระเข้น้อย อ้าเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ และพื้นที่โครงการ ทั้งหมดจ้านวน 3,700 ไร่ แบ่งเป็นเขตอุตสาหกรรม 2,886 ไร่ 3 งาน 80 ตารางวา พ้ืนท่ีสาธารณูปโภคและ ส่ิงอ้านวยความสะดวก 457 ไร่ 3 งาน 52 ตารางวา พ้ืนที่สีเขียว 207 ไร่ 1 งาน 60 ตารางวา ระยะทางจากสถานท่ีต่างๆ โดยอยหู่ ่างจากสนามบินสุวรรณภมู ิ 21 กิโลเมตร ภาพท่ี 1.11 แสดงพนื ทภ่ี ายในนิคมอตุ สาหกรรมบางปู

แผนพัฒนาจังหวัดจงั หวัดสมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 13 ภาพที่ 1.12 แผนภาพแสดงพืนทภ่ี ายในนคิ มอตุ สาหกรรมบางพลี ภาพท่ี 1.13 แสดงพืนท่ภี ายในนิคมอตุ สาหกรรมเอเชีย (สวุ รรณภมู ิ) 2) เศรษฐกิจภาคเกษตรกรรม จังหวัดสมุทรปราการมีพื้นที่ท้าเกษตรกรรมลดลง เน่ืองมาจาก การพัฒนาเมือง การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม และความเจริญด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน ประกอบกับราคา ท่ีดินมีราคาสูงท้าให้เกษตรกรท่ีเคยเป็นเจ้าของที่ดินประสบปัญหาในการท้าการเกษตรและทยอยขายที่ดิน ให้กับนายทุน ซึ่งในปี พ.ศ. 2556 มีพ้ืนที่ใช้ประโยชน์ทางการเกษตร จ้านวน 211,449 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 33.69 พ้ืนที่ใช้ประโยชน์นอกการเกษตร จ้านวน 407,467 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 64.93 และพ้ืนที่ป่าไม้/ป่าชายเลน จ้านวน 8,642 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.38 ซ่ึงเมื่อวิเคราะห์ข้อมูลระหว่างปี พ.ศ. 2553 - 2556 จะเห็นได้ว่าพื้นที่ ท่ีเป็นท่ีอยู่อาศัย/ปลูกพืชไร่/ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ และท่ีรกร้างลดลงต้ังปี พ.ศ. 2555 แต่พ้ืนท่ีใช้ประโยชน์ นอกการเกษตรมอี ตั ราการขยายตวั เพิ่มขน้ึ ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2555 ซึ่งมีแนวโนม้ จะเพ่ิมข้ึนเรอื่ ย ๆ

แผนพฒั นาจงั หวดั จังหวดั สมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 14 ตารางท่ี 1.3 แสดงเนือทใ่ี ช้ประโยชนท์ างการเกษตร จังหวัดสมทุ รปราการ พ.ศ. 2552 - 2556 ปี เน้ือท่ี เนื้อท่ี เนอื้ ท่ี ขนาด จา้ นวน เนอ้ื ทกี่ ารใชป้ ระโยชน์ทางการเกษตร เนอ้ื ที่ พ.ศ. ทัง้ หมด ป่าไม้ ใชป้ ระโยชน์ ของฟารม์ ฟารม์ ทางการเกษตร นาข้าว พืชไร่ สวนไมผ้ ล สวนผัก เนือ้ ทใ่ี ชป้ ระโยชน์ ใชป้ ระโยชน์ 11,381 7,903 36,216 ไม้ยืนตน้ ไมด้ อก/ไม้ประดับ ทางการเกษตรอื่นๆ นอกการเกษตร 10,730 41,169 2552 627,558 6,995 205,556 18.06 10,803 41,424 0 9,309 253 159,778 415,007 4,966 41,377 2553 627,558 6,995 209,800 26.55 41,505 0 7,915 256 160,460 410,763 2554 627,558 6,995 212,117 19.77 0 7,163 396 163,134 408,446 2555 627,558 6,995 211,838 19.61 0 7,108 358 162,995 408,725 2556 627,558 8,642 211,449 42.58 0 7,191 323 162,430 407,467 แหลง่ ที่มา: สา้ นกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร 3) เศรษฐกิจภาคการท่องเท่ียว จังหวัดสมุทรปราการมีสถานท่ีท่องเที่ยวท่ีส้าคัญที่หลากหลาย อาทิ เช่น สถานที่ท่องเที่ยว เชิงศิลปวัฒนธรรม เชิงศาสนา เชิงประวัติศาสตร์ เชิงนิเวศ และประเพณีที่ส้าคัญ เนื่องจากมีพื้นท่ีติดต่อกับ กรุงเทพฯ และจังหวัดปริมณฑลที่มีแหล่งท่องเท่ียวท่ีหลากหลายเชื่อมโยงเป็นเส้นทางการท่องเท่ียว ทั้งน้ี สามารถเดินทางไปกลับได้เพียง 1 วันจึงท้าให้นักท่องเท่ียวมีความสะดวกในการเดินทาง และในอนาคตจะมี นักท่องเท่ียวเพิ่มข้ึนอย่างก้าวกระโดด ซ่ึงเป็นผลมาจากการเดินทางที่สะดวกจากรถไฟฟ้า และการจัดระบบ จราจรท่ีมีประสิทธิภาพผนวกกับนโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยว แบบ One Day Trip และศักยภาพด้านแหล่ง ทอ่ งเทยี่ วในพืน้ ที่ โดยสามารถจ้าแนกแหลง่ ทอ่ งเที่ยวท่สี ้าคัญได้ แหล่งท่องท่องเทยี่ วทีส่ ้าคญั ในจังหวดั สมทุ รปราการ จังหวัดสมุทรปราการมีสถานท่ีท่องเที่ยว ทส่ี ้าคญั ท่ีหลากหลาย โดยสามารถจา้ แนกแหล่งทอ่ งเท่ยี วทีส่ ้าคญั และมชี ่ือเสียง ไดด้ งั นี้ ตารางที่ 1.4 แสดงแหล่งท่องเที่ยวท่ีส้าคญั ด้านตา่ ง ๆ ท่ี แหล่งทอ่ งเทยี่ ว ความเปน็ มา/กิจกรรมสา้ คัญ ทต่ี ัง แหลง่ ท่องเทีย่ วด้านโบราณสถาน 1 เมืองโบราณ เป็นพพิ ิธภัณฑ์กลางแจง้ ทใี่ หญ่ท่ีสุดในโลกปัจจุบันมีส่ิงก่อสร้าง ถ.สขุ มุ วิท กม. 33 สถานท่ีส้าคัญๆ ท้ังท่ีเป็นแบบจ้าลองจากภาคเหนือ ต.บางปูใหม่ อ.เมืองฯ ตะวันออกเฉียงเหนือ กลางและใต้ ซ่ึงส่ิงก่อสร้างมีท้ังขนาด ยอ่ ส่วนและเท่าขนาดจริง 2 อทุ ยานประวตั ิศาสตร์ เป็นป้อมที่ทันสมัยและมีบทบาทส้าคัญยิ่งในการปกป้องอธิปไตย รมิ ปากแม่นา้ เจ้าพระยา ทหารเรือ หรอื ป้อมพระ ของชาติ ซึง่ เป็นที่ท้าการยิงต่อสู้กับอริราชศัตรูมาแล้วครั้งหน่ึงเม่ือ ต.แหลมฟ้าผา่ จลุ จอมเกลา้ ฯ ร.ศ. 112 (พ.ศ. 2436) และทจ่ี ารกึ อยูใ่ นความทรงจ้าของคนไทย อ.พระสมทุ รเจดีย์ 3 ป้อมแผลงไฟฟ้า เป็นป้อมปราการแห่งหน่ึงของ ฐานทัพเมืองนครเขื่อนขันธ์ ต้าบลตลาด เป็นเสมือนหน่ึงฐานทัพด้านปากแม่น้าเจ้าพระยา และเป็น ติดกับโรงเรียนเทศบาล เมืองท่ีมีป้อมปราการหลายแห่ง เนื่องด้วย พระบาทสมเด็จ พระประแดง พระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) มีพระราชด้าริ ที่จะใช้ป้องกันพระราชอาณาจักร ปัจจุบันเทศบาลเมืองพระ ประแดงได้ท้าการบูรณะเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจของประชาชน โดยบรเิ วณขา้ งบนของป้อมได้จัดปนื ใหญโ่ บราณหลายกระบอก ตั้งไว้ให้ชมรอบๆ บรเิ วณจดั ปลกู ตน้ ไม้รม่ รน่ื

แผนพัฒนาจังหวัดจงั หวัดสมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 15 ตารางท่ี 1.4 (ต่อ) ที่ แหลง่ ท่องเทีย่ ว ความเปน็ มา/กิจกรรมส้าคัญ ทตี่ งั แหล่งทอ่ งเที่ยวด้านสถาปัตยกรรม 1 องค์พระสมุทรเจดยี ์ พระเจดีย์น้ตี ง้ั อยบู่ นเกาะกลางปากแมน่ ้าเจ้าพระยา ท้ายป้อมผีเสื้อ ถ.สขุ สวสั ด์ิ สมุทร รูปทรงพระเจดีย์เป็นแบบระฆังคว่้า สูง 38 เมตร ภายใน ต.ปากคลองบางปลากด บรรจพุ ระบรมสารีรกิ ธาตุพระชัยวัฒนแ์ ละพระปางหา้ มสมุทร อ.พระสมทุ รเจดีย์ 2 พพิ ิธภัณฑช์ ้างเอราวณั เป็นสถานท่ีเก็บรักษาศิลปวัตถุ มรดกทางวัฒนธรรมด้านต่าง ๆ ซ่ึง ถ.สขุ มุ วทิ ช้างเอราวัณหรือช้างสามเศียร เป็นประติมากรรมลอยตัวด้วยวิธี ต.บางเมอื งใหม่ เคาะมือแห่งแรกที่ใหญ่ท่ีสุดในโลกท้าจากโลหะทองแดง แผ่น อ.เมอื ง เลก็ สดุ ขนาดเท่าฝ่ามือ 3 ศาลเจา้ มลู นิธธิ รรมกตญั ญู เป็นศาลเจ้าที่สวยงาม สถาปัตยกรรมเพียบพร้อมไปด้วย ถนนสุขุมวทิ (เสยี นหลอไตเ้ ทียนกง) ศิลปวัฒนธรรมของชาวจีนโบราณ ฝีมอื แกะสลกั หินอันปราณตี เป็น ตา้ บลบางปูใหม่ ที่ประดิษฐานเทพเจ้าขุนศึกที่ศักดิ์สิทธิ์ของชาวไต้หวัน 5 องค์ คือ อ้าเภอเมือง เทพเจ้าตระกูลหล่ี เทพเจ้าตระกูลฉือ เทพเจ้าตระกูลอู่ เทพเจ้า ตระกูลจู และเทพเจ้าตระกูลฟ่าน ซึ่งเรียกช่ือรวมกันว่า \"อู๋ฟุ่เซียน ส้วย\" (โหวงหวงั เอ้ยี ) ภายในบรเิ วณศาลเจ้าสามารถชมภาพแกะสลัก หินเขียว เกี่ยวกับเทพนิยายจีน และตะเกียงไม้ชุบทองค้าซึ่ง ตกแตง่ อยบุ่ นฝ้าเพดาน นอกจากนี้ยังมีศาลเจ้าแม่กวนอิม และเทพ เจ้าองค์อื่นๆ เพ่ือให้ประชาชนสักการะ เทพเจ้าตระกูลท้ัง 5 หรือ โหวงหวังเอี้ย เป็นยอดขุนพลที่มีความสุจริตมาก เป็นขุนนางที่ จงรักภักดีสมัยราชวงศ์หมิงได้เสด็จเดินทางลงใต้จากมณฑล ฮกเก้ียนถึงเกาะหนานคุนเซินประเทศไต้หวัน เป็นที่เลื่อมใสในหมู่ ประชาชน แต่ส่ิงท่ีเป็นจุดเด่นท่ีนักท่องเที่ยวจะต้องชมและเก็บ ภาพไว้เป็นที่ระลึก คือ สิงโตคู่ ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย แกะสลัก จากหินหยกเขียว น้าเข้าจากประเทศจีน สิงโตคู่ตามความเช่ือของ ชาวจีน ถือว่าเป็นส่ิงที่สร้างข้ึนเพื่อเป็นสิริมงคล มีสง่าราศี มองดู น่าเกรงขามย่งิ ใหญเ่ กรยี งไกร 4 พพิ ิธภัณฑท์ หารเรือ เป็นสถานท่ีรวบรวมและอนุรักษ์วัตถุสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ และ ถนนสุขุมวิท ต้าบล รวบรวมข้อมูลทางประวตั ศิ าสตร์เก่ียวกับกองทัพเรือไทยและยุทธนาวี ปากน้า ตรงข้ามกับ ครั้งส้าคัญ แบ่งเป็น 2 อาคาร คือ อาคาร 1 จัดแสดงประวัติ โรงเรียนนายเรือ บุคคลสา้ คญั ท่เี กีย่ วกับกองทพั เรือ อาทิ สมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราช กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ องค์พระบิดาของ ทหารเรอื ไทย และห้องจัดแสดงเคร่อื งแบบต่างๆ ของทหารเรอื ไทย อาคาร 2 ชน้ั ลา่ งจัดแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ต่าง ๆ ชั้น 2 จัด แสดงเกี่ยวกับเรือพระราชพิธี ชั้น 3 เป็นการจัดแสดง นิทรรศการพเิ ศษ หมุนเวยี นตามช่วงเวลาและเหตุการณ์ส้าคัญ เชน่ ยทุ ธนาวที ี่เกาะช้าง สงครามเอเชยี มหาบรู พา วีรกรรมท่ีดอน น้อย เรือด้าน้าแห่งราชนาวี และการปฏิบัติการของทหารนาวิก โยธิน เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีการจัดแสดงวัตถุอาวุธ ยุทโธปกรณ์ขนาดใหญ่ในบริเวณโดยรอบ อาทิ เรือด้าน้า รถ สะเทนิ น้าสะเทินบก รวมท้ังยังสามารถชมประภาคารแห่งแรก ของประเทศไทยได้

แผนพัฒนาจงั หวดั จงั หวัดสมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 16 ตารางท่ี 1.4 (ต่อ) ที่ แหลง่ ท่องเทย่ี ว ความเปน็ มา/กิจกรรมสา้ คญั ทต่ี ัง แหล่งทอ่ งเทีย่ วด้านประติมากรรม 1 พระมาลยั หนา้ อุโบสถเก่า มีลักษณะเหมือนพระสงฆ์ธรรมดา วดั พชิ ยั สงคราม วดั พิชยั สงคราม ต.ปากน้า อ.เมอื ง ฯ 2 พระประธานในอโุ บสถ เป็นพระพทุ ธรูปส้าริดสมยั สุโขทัย วัดชัยมงคล วดั ชัยมงคล ต.ปากน้า อ.เมอื ง ฯ 3 พระประธานในอุโบสถเกา่ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง 205 ซ.ม. สร้างด้วย วดั กลางวรวิหาร วดั กลางวรวหิ าร ศิลาแลง หุ้มปูนปิดทอง และใบเสมาที่แกะสลักจากหินแกรนิต ต.ปากน้า อ.เมือง ฯ ส่วนยอดแกะสลักเป็นพระเกี้ยว ซุ้มเสมารูปกูบ เอวเสมาคอดเล็ก มีลายนาคสามเศยี รเปน็ ตัวเหงา ตวั เสมาตรงกลางแกะสลักเปน็ แถวยาว กลางแถบเป็นลายประจ้ายาม ดา้ นบนมลี ายรูปดอกไม้ 4 หลวงพอ่ สนิ สมุทร เป็นพระประธานในอุโบสถวัดอโศการามเป็นพระพุทธรูป วัดอโศการาม ทองเหลอื ง ปางสมาธอิ ยา่ งอินเดีย ต.บางปใู หม่ อ.เมอื งฯ 5 พระประธานในอโุ บสถ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย สมัยสุโขทัย พระบาทสมเด็จพระ วัดทรงธรรมวรวหิ าร วดั ทรงธรรมวรวิหาร จลุ จอมเกลา้ เจ้าอยูห่ วั พระราชทานให้ อ.พระประแดง 6 พระประธานในอโุ บสถ เป็นพระพุทธรปู ปูนป้นั บทุ อง วดั ไพชยนตพ์ ลเสพย์ วัดไพชยนตพ์ ลเสพย์ 7 พระพทุ ธรูปปางห้าม สร้างในรัชสมัยพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและมีพระพุทธรูปปางนี้ใน วดั พระสมุทรเจดยี ์ สมทุ รในพระวหิ ารหนา้ พระอุโบสถวัดโปรดเกศเชษฐาราม อกี สององค์ วดั โปรดเกศเชษฐาราม พระสมทุ รเจดยี ์ อ.พระสมุทรเจดีย์ 8 หลวงพอ่ โต เปน็ พระพุทธรปู สา้ รดิ ตามประวัตมิ วี ่าลอยนา้ มาจากกรุงเก่า วดั บางพลใี หญ่ใน ต.บางพลใี หญ่ อ.บางพลี 9 พระประธานในอโุ บสถ เป็นพระปูนปั้น ลงรักปิดทอง ปางมารวิชัย ประดิษฐานชุกชี วดั ป่าเกด วดั ปา่ เกด ปนู ปน้ั ปดิ ทอง ประดบั กระจก 10 พระไสยาสน์ (พระนอน) พระพุทธรูปปางไสยาสน์ท่ีใหญ่ท่ีสุดในประเทศไทย ยาว วัดบางพลใี หญก่ ลาง ประมาณ 53 เมตร แล้วสร้างพระวิหารคลุมทีหลัง ความสูง ต.บางพลีใหญ่ อ.บาง ของวิหารเทา่ อาคาร 4 ชั้น ภายในองค์พระใหญ่พอที่จะแบ่งให้ พลี มหี อ้ งปฏบิ ตั ธิ รรม เสาและผนัง มีภาพเขียนเรื่องราวของเทวดา นรก สวรรค์ คติธรรม จ้านวนมากมาย กว่า 100 รูป และมีห้อง หวั ใจพระซึ่งประชาชนนิยมมาปดิ ทองเพอื่ เปน็ ศิริมงคล 11 เจดีย์หลวงปเู่ ผอื ก รอบองคเ์ จดยี ์ประดบั ด้วยกระเบอ้ื งสีส้มและประดับดว้ ย ครฑุ วัดก่งิ แกว้ ต.ราชาเทวะ อ.บางพลี 12 หลวงพ่อสจุ ติ ดาราม เรม่ิ สร้างต้ังแต่สมยั กรงุ ศรีอยุธยาเปน็ ราชธานี เดมิ เรียกว่า “วดั วัดบางดว้ นนอก (หลวงพ่อดา้ ) สุจติ ดาราม”ซึง่ ในสมยั นนั้ ยังไม่มีความเจริญเท่าใดนักต่อมาถึง ต.บางดว้ น อ.เมอื ง สมัยกรุงตนโกสินทร์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิร ญาณวโรรสได้เสด็จมา ณ วัดสุจิตตาราม พระองค์ได้ทราบว่า ประชาชนแถบน้ี เรียกท้องถ่ินนี้ว่า “บางด้วน” ดังนั้นพระองค์ จงึ คดิ ทจ่ี ะขนานชื่อ วดั สจุ ติ ตาราม เสยี ใหม่

แผนพฒั นาจังหวัดจงั หวดั สมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 17 ตารางท่ี 1.4 (ตอ่ ) ที่ แหล่งทอ่ งเทยี่ ว ความเปน็ มา/กจิ กรรมส้าคญั ที่ตัง 12 หลวงพ่อสจุ ิตดาราม เร่ิมสรา้ งตั้งแต่สมยั กรุงศรีอยุธยาเปน็ ราชธานี เดมิ เรยี กว่า “วดั วัดบางด้วนนอก (หลวงพอ่ ดา้ ) สจุ ติ ดาราม”ซง่ึ ในสมัยนั้นยังไม่มีความเจริญเท่าใดนักต่อมาถึง ต.บางด้วน อ.เมอื ง สมัยกรุงตนโกสินทร์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิร ญาณวโรรสได้เสด็จมา ณ วัดสุจิตตาราม พระองค์ได้ทราบว่า ประชาชนแถบนี้ เรียกท้องถ่ินนี้ว่า “บางด้วน” ดังนั้นพระองค์ จงึ คดิ ทจี่ ะขนานช่ือ วัดสจุ ิตตาราม เสยี ใหม่ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วประเภทการละเล่นพนื บา้ น 1 สะบ้ามอญ เ ป็ น ป ร ะ เ พ ณี วั ฒ น ธ ร ร ม ดั้ ง เ ดิ ม ข อ ง ช า ว ม อ ญ ที่ อ.พระประแดง พระประแดงเพ่ือให้หนุ่มสาวพบปะพูดคุยกัน โดยจะเล่นในวัน นกั ขตั ฤกษ์ 2 สะบ้าทอย เป็นการละเล่นของผ้ชู ายในวนั สงกรานตพ์ ระประแดง แตกต่าง วดั ทรงธรรมวรวหิ าร จากสะบา้ มอญตรงที่เปน็ เร่อื งของผ้ชู าย เป็นการประลองความ อ.พระประแดง แขง็ แรงและความแม่นย้าของการทอยสะบ้า ขนบธรรมเนียมและประเพณที ้องถ่ิน 1 ประเพณีรับบัว เกิดจากชาวมอญพระประแดงที่ไปท้านาในฤดู ท้านา ณ อ้าเภอ วดั บางพลีใหญ่ใน บางพลี และเม่ือหมดฤดูก็จะกลับไปพระประแดง ซึ่งจะพอดีกับ ต.บางพลีใหญ่ เทศกาลออกพรรษา จึงเก็บดอกบัวท่ีมีอยู่มากมายท่ีต้าบลบาง อ.บางพลี พลีใหญ่กลับไปด้วย ต่อมาชาวอ้าเภอบางพลีเห็นว่าชาวมอญ มักจะเก็บดอกบัวกลับไปทุกปี จึงเก็บดอกบัวเตรียมไว้ให้ด้วย ความเอ้ือเฟ่ือเผื่อแผ่ ต่อมาเกิดความคุ้นเคยกันมากข้ึน จึงโยน บัวให้กันหากอยู่ไกล ต่อมาชาวบ้านซ่ึงนิยมถวายดอกบัวแก่พระ ในวนั ออกพรรษาจงึ ไดส้ ร้างกจิ กรรม งานประเพณีรับบัว ให้ได้มี การระลึกถึงกันและเป็นโอกาสให้ได้ร่วมท้าบุญท้ากุศล อีกทั้งยัง เปน็ การร่วมสนุกกันเปน็ ประจ้าทุกปี 2 สงกรานต์พระประแดง เป็นงานประเพณีสงกรานต์ท่ียิ่งใหญ่ จัดโดยชาวไทยเชื้อสาย อ.พระประแดง มอญ โดยจะเร่ิมในวันอาทิตย์แรกหลังวันที่ 13 เมษายน ซ่ึง เดิมเรียกว่า สงกรานต์ปากลดั ในงานมีขบวนแห่นางสงกรานต์ การละเล่นพ้ืนเมืองของชาวมอญ เช่น การสรงน้าพระ รดน้า ขอพรผู้ใหญ่ ปล่อยนกปล่อยปลา การเล่นสะบ้า และเล่นสาด น้ากันอย่างสนุกสนาน ขบวนแห่นางสงกรานต์จะมีสาวงาม แตง่ ชุดไทยหรอื ชดุ รามญั (มอญ) 3 งานนมัสการหลวงพ่อปาน เป็นงานประจ้าปีของชาวอ้าเภอบางบ่อ งานนี้เกิดข้ึนจากคุณ วดั มงคลโคธาวาส วดั มงคลโคธาวาส ความดแี ลคุณธรรมอนั สงู สง่ ของหลวงพ่อปาน พุทธศาสนิกชน อ.บางบ่อ หลั่งไหลกันมาวัดมงคลโคธาวาส เพื่อนมัสการรูปหล่อจ้าลอง ของหลวงพอ่ ปาน ทุกปีงานนมัสการหลวงพ่อปาน จัดขึ้นในวัน ข้ึน 5-7 ค่้า เดือน 12 ของปี รวม 3 วัน 3 คืน โดยในวันแรก ของงานจะมีการอันเชิญรูปหล่อของหลวงพ่อปานแห่ทางเรือ ไปตามลา้ คลองปีกกา เพือ่ ใหป้ ระชาชนสักการะแล้วแห่กลับวัด มงคลโคธาวาส หลังจากเสร็จส้ินการกราบไหว้บูชาแล้ว ประชาชนจะสนกุ สนานร่ืนเรงิ กบั มหรสพต่าง ๆ

แผนพฒั นาจังหวัดจงั หวดั สมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 18 ตารางที่ 1.4 (ต่อ) ที่ แหล่งท่องเทีย่ ว ความเป็นมา/กจิ กรรมส้าคัญ ที่ตงั 4 งานนมสั การ เป็นงานประเพณีท่ีสืบสานกันมายาวนานกว่า 185 ปี เพราะ อา้ เภอพระสมทุ รเจดีย์ องค์พระสมุทรเจดยี ์ องคพ์ ระสมุทรเจดีย์เป็นที่เคารพสักการะที่ถือเป็นสิ่งศักดิ์สิทธ์ิ ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของแม่น้าเจ้าพระ ยา ชาว สมุทรปราการจึงจัดให้มีการสมโภชเป็นเวลา 9 วัน 9 คืน ตั้งแต่วันแรม 5 ค้่า เดือน 11 ในงานประเพณีจะมีมหรสพ สมโภชมกี ารแข่งเรอื และการจา้ หน่ายสนิ คา้ ชุมชน 5 งานประเพณี มีมานานกว่า 30 ปี จะจัดขึ้นทุกวันที่ 13 เมษายนของทุกปี อา้ เภอพระประแดง แห่หงส์ธงตะขาบ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อร้าลึกถึงบรรพบุรุษชาวมอญ หงส์ เป็น สัญลกั ษณต์ ัวแทนตา้ นานการกา้ เนิดถิ่นฐานของมอญ ณ กรุง หงสาวดี และตะขาบเปน็ สญั ลกั ษณ์ของคติธรรม ความเชอ่ื ทาง พุทธศาสนาทเี่ ปรยี บดงั สดั ส่วนในอวยั วะ ต่าง ๆ ของตวั ตะขาบ ชาวมอญทั้ง 7 หมู่บ้าน จะร่วมกันจัดท้าธงตะขาบของหมู่บ้าน ตน และหมุนเวียนกันเป็นเจ้าภาพ โดยมารวมตัวกันท่ีศูนย์ วัฒนธรรมอ.พระประแดง ต้ังขบวนแห่ไปตามจุดต่าง ๆ ของ ตลาดพระประแดงหลังจากเสร็จการแห่ ชาวมอญแต่ละ หมู่บ้านก็จะน้าธงตะขาบไปแขวนท่ีเสาหงส์ของแต่ละวัดใน หมบู่ า้ น แหลง่ ทอ่ งเท่ียวเชงิ นิเวศและสนั ทนาการ 1 ตลาดโบราณบางพลี เดิมชอื่ “ตลาดศิริโสภณ” เปน็ ตลาดเก่าแก่ตลาดหน่ึงพื้นตลาด รมิ คลองสา้ โรงติดกับ ท้าจากพ้ืนไม้ สามารถเดินติดต่อกันได้ถึง 500 เมตร มีอายุ วัดบางพลใี หญ่ใน ป ร ะ ม า ณ 1 4 1 ปี ต ล า ด น้ี ต้ั ง อ ยู่ บ น ฝั่ ง เ ห นื อ ข อ ง ต.บางพลใี หญ่ คลองสา้ โรงช่วงอา้ เภอบางพลี อ.บางพลี 2 ตลาดคลองสวน 100 ปี ก่อตั้งข้ึนโดยชาวจีนกลุ่มหน่ึงเมื่อราว พ.ศ. 2444 นับถึง ต.คลองสวน ปัจจุบันเป็นเวลามากกว่า 100 ปี ตลาดแห่งน้ีต้ังอยู่บนฝั่ง อ.บางบ่อ คลองประเวศบุรีรมย์เช่ือมต่อคลองพระยานาคราช ตลาด คลองสวนเป็นศูนย์รวมของการติดต่อค้าขาย และแลกเปลี่ยน สินค้าของผู้คนจากหมู่บ้านต่าง ๆ หลายหมู่บ้าน บริเวณใกล้ กับตลาดคลองสวนมีฟาร์มเพาะเล้ียงเป็ดมากกว่า 10 แห่ง อาหารข้ึนชือ่ ของที่น้ีคอื เปด็ พะโล้ 3 ตลาดนา้ บางน้าผ้ึง จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2547 นับเป็นตลาดใกล้กรุงท่ีมีสินค้า หมู่ 10 หลากหลายท้งั ของกินของใชข้ องฝากนานาชนดิ จัดเปน็ ซุ้มให้มี ทางเดินยาวกว่า 2 กิโลเมตร ขนานไปกับคลองซอยสายเล็ก ๆ ท่ีแตกแขนงจากแม่น้าเจา้ พระยาเขา้ มาในพื้นท่ีท่ีท้าการเกษตร ของชาวบ้าน จัดจ้าหน่ายต้นไม้นานาพันธุ์, ปลาสวยงามหลาก ชนิด, และผลิตผลของชาวบ้าน นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์รวม สินค้า OTOP ที่สร้างสรรค์จากคนในชุมชนบางน้าผึ้งและ ต้าบลใกลเ้ คียงในจังหวัด สมทุ รปราการ เชน่ ดอกไม้เกล็ดปลา บ้านธูปสมุนไพร ผลิตภัณฑ์จากทะเล โมบายล์ ลูกตีนเป็ด รปู ร่างแปลกตา เปน็ ตน้

แผนพฒั นาจงั หวดั จงั หวดั สมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 19 ตารางที่ 1.4 (ตอ่ ) ความเปน็ มา/กิจกรรมสา้ คญั ทต่ี งั ท่ี แหลง่ ท่องเท่ียว เป็นสถานทีพ่ กั ผอ่ น ซงึ่ บรเิ วณโดยรอบปกคลมุ ลอ้ มรอบดว้ ยปา่ เลขที่ 164 4 สถานตากอากาศบางปู ชายเลนที่ยังคงความสมบูรณ์ตามระบบนิเวศวิทยา “สะพาน หมู่ 2 ถ.สขุ ุมวิท 5 ฟาร์มจระเข้และสวน สัตว์สมุทรปราการ สุขตา” ยืนออกไปสู่ทะเลประมาณ500 เมตร และมี “ศาลา 6 บึงตะโก้ สุขใจ” ซ่ึงเป็นร้านอาหารสวัสดิการของกองอ้านวยการสถาน 7 สวนศรนี ครเขื่อนขนั ธ์ พักผ่อนกรมพลาธิการทหารบก สามารถน่ังรับประทานอาหาร พร้อมท้ังชมทัศนียภาพอ่าวไทยได้ นอกจากนี้ยังมีเส้นทาง การศึกษาธรรมชาติให้ประชาชนอีกด้วย โดยก่อต้ังขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2493 ปัจจุบันเป็นฟาร์มจระเข้ 555 หมู่ 7 ท่ีใหญ่ท่ีสดุ ในโลก ภายในเป็นสถานเพาะเลี้ยงจระเข้ขนาดต่างๆ กว่า ถ.ท้ายบา้ น 60,000ตัว เสอื ลงิ ชิมแปนซี ชะนี เต่า งู นก อูฐ ฮิปโปโปเตมัส ต.ทา้ ยบ้าน อ.เมืองฯ กวาง และปลาจ้านวนมาก เป็นบึงที่นักท่องเที่ยวนิยมเล่นกีฬาทางน้า ได้แก่ เคเบ้ิลสกี 175/1 หมู่ 12 และวินดเ์ ชริ ฟ์ ถ.บางนา – ตราด กม.13 ต.บางพลีใหญ่ อ.บางพลี เป็นสวนสาธารณะท่ีมีเนื้อท่ี 200 ไร่เศษ แวดล้อมไปด้วยสวน ถ.เพช็ รหงึ ษ์ หมากสวนผลไม้ และเป็นพื้นที่สีเขียวที่รัฐบาลก้าหนดให้เป็น ต.บางกระเจา้ ปอดของประชาชนอีกแหง่ หน่งึ เปน็ สถานท่ีพักผ่อน ออกก้าลัง อ.พระประแดง กายและศึกษาระบบนิเวศน์ของพนั ธุพ์ ืชและพันธส์ุ ตั ว์ 1.7 ลกั ษณะทางสังคม 1.7.1 สถานการณด์ า้ นประชากร 1) ประชากรตามทะเบยี นราษฎร จังหวัดสมุทรปราการมีประชากรตามทะเบียนราษฎรท้ังส้ิน 1,288,158 คน แยกเป็นชาย 617,406 คน หญงิ 670,752 คน ซงึ่ จะพบว่าประชากรสว่ นใหญอ่ าศัยอยู่ในพน้ื ทอี่ า้ เภอเมืองสมุทรปราการมาก ทส่ี ุด รองลงมาคืออา้ เภอบางพลี และอ้าเภอพระประแดง ตามล้าดับ (ข้อมลู ณ เดือนสงิ หาคม 2559) ตารางท่ี 1.5 แสดงจ้านวนประชากรแยกตามอ้าเภอ ณ เดอื นสิงหาคม 2559 ปี พ.ศ. อ้าเภอ รวม ชาย หญงิ จ้านวนบ้าน ความหนาแนน่ ประชากร 2559 เมอื งสมุทรปราการ 532,040 253,521 278,519 240,678 (คน/ตร.กม.) 102,051 86,517 (ณ เดือน พระประแดง 197,547 95,496 127,976 144,697 2,792.13 68,880 58,983 2,692.48 สิงหาคม) บางพลี 242,698 114,722 54,050 41,858 39,276 53,609 995.11 พระสมทุ รเจดีย์ 133,933 65,053 1,112.59 670,752 626,342 บางบอ่ 105,726 51,676 431.52 582.28 บางเสาธง 76,214 36,938 1,282.91 รวมทังสิน 1,288,158 617,406 แหลง่ ทมี่ า: ท่ีท้าการปกครองจงั หวัดสมทุ รปราการ

แผนพฒั นาจงั หวัดจังหวดั สมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 20 2) ประชากรแฝง อย่างไรก็ตาม จังหวัดสมุทรปราการมีกลุ่มประชากรแฝงท่ีไม่มีช่ือในทะเบียนราษฎร และ เดินทางเข้ามาท้างานไปเช้า – เย็นกลับ ซึ่งท้าให้ประชากรที่อาศัยอยู่จริงมากกว่าประชากรท่ีปรากฏตาม ทะเบียนราษฎร จากการส้ารวจข้อมูลสัดส่วนประชากรแฝงของจังหวัดสมุทรปราการ โดยส้านักวิจัยเศรษฐกิจ และการประเมินผลของบริษัทเอกเซลเลนท์บิสเนส จ้ากัด พบว่า จังหวัดฯ มีสัดส่วนประชากรท่ีมีชื่อใน ทะเบียนราษฎร คิดเป็นร้อยละ 51.1 ประชากรที่ไม่มีชื่อในทะเบียนราษฎร คิดเป็นร้อยละ 47.5 และ ประชากรที่เดินทางเช้าไปเย็นกลับ ประมาณร้อยละ 1.4 ของจ้านวนประชากรท่ีเข้ามาอาศัยอยู่จริง ดังนั้น เม่อื วิเคราะหค์ าดการณ์จังหวัดสมุทรปราการน่าจะมีประชากรที่เข้ามาอยู่อาศัยจริงและเข้ามาท้างานทังสิน ประมาณ 2,525,857 คน ซ่ึงประกอบด้วยประชากรที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนราษฎร จ้านวน 1,288,158 คน ประชากรทไี่ ม่มีชอ่ื อยู่ในทะเบียนราษฎร จา้ นวน 1,197,407 คน และประชากรที่เดินทางแบบไปเช้า - เย็น กลับ จ้านวน 35,292 คน ซ่ึงเป็นภาระรับผิดชอบของภาครัฐท่ีจะให้บริการ และดูแลในเร่ืองของสุขอนามัย การศึกษา และสาธารณูปโภคให้เพยี งพอและท่ัวถงึ ประชากรทเ่ี ดินทางแบบไป เช้า - เย็นกลบั จา้ นวน 35,292 คน รอ้ ยละ 1.4 ประชากรทไ่ี มม่ ชี ื่ออยู่ใน ประชากรที่เขา้ มา ประชากรทมี่ ีชอื่ อยูใ่ น ทะเบยี นราษฎร อยู่อาศัยจริงและเข้ามาทา้ งาน ทะเบียนราษฎร 1,288,158 คน จา้ นวน 1,197,407 คน ทงั สินประมาณ รอ้ ยละ 51.1 ร้อยละ 47.5 2,525,857 คน ภาพท่ี 1.14 แสดงสัดส่วนประชากรทเ่ี ขา้ มาอยู่อาศัยจริงและเข้ามาท้างานของจงั หวัดสมทุ รปราการ 3) ประชากรจา้ แนกตามกล่มุ อายุ จังหวัดสมุทรปราการ มีโครงสร้างประชากรท่ีสามารถจ้าแนกตามกลุ่มอายุ ประกอบด้วย อายุตา้่ กวา่ 5 ปี (วัยเด็ก) อายุ 5-14 ปี (วัยเรียน) อายุ 15-59 ปี (วัยแรงงาน) และอายุ 60 ปีข้ึนไป (วัยสูงอายุ) มีรายละเอียดดงั น้ี

แผนพัฒนาจงั หวัดจังหวัดสมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 21 ตารางท่ี 1.6 แสดงประชากรจา้ แนกตามกลุ่มอายุ พ.ศ. 2555 - 2558 ประชากร พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 จา้ แนกตามกล่มุ อายุ จ้านวน ร้อย จา้ นวน รอ้ ย จ้านวน ร้อย จา้ นวน รอ้ ย (คน) ละ (คน) ละ (คน) ละ (คน) ละ 71,433 5.58 อายุตา่้ กว่า 5 ปี (วัยเดก็ ) 71,877 5.88 71,769 5.78 71,956 5.70 150,871 11.79 868,127 67.86 อายุ 5-14 ปี (วยั เรียน) 152,898 12.50 152,223 12.26 151,798 12.03 164,744 12.88 24,135 1.89 อายุ 15-59 ปี (วยั แรงงาน) 846,386 69.19 851,035 68.54 860,113 68.18 อายุ 60 ปีขึ้นไป (วยั สูงอายุ) 135,073 11.04 166,583 13.42 177,663 14.08 ไมท่ ราบ 17,068 1.40 - - - - แหล่งทม่ี า: กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย 2558 2557 2556 2555 อายุ 60 ปขี ึนไป (วยั สงู อายุ) 13511,061674763,7,75,4684633 8848586616,0,308,813,1615237 อายุ 15-59 ปี (วัยแรงงาน) 111155550122,,,,872879291838 อายุ 5-14 ปี (วัยเรยี น) 77771111,,,,478936753976 อายตุ ้่ากว่า 5 ปี (วัยเด็ก) 100,000 200,000 300,000 400,000 500,000 600,000 700,000 800,000 900,000 1,000,000 0 จา้ นวนประชากรจ้าแนกตามกลมุ่ อายุ (คน) ภาพท่ี 1.15 แสดงประชากรจ้าแนกตามกลุ่มอายุ พ.ศ. 2555 - 2558 จากการวิเคราะห์โครงสร้างประชากร โดยจ้าแนกตามกลุ่มอายุ/กลุ่มประชากร ปี พ.ศ. 2558 พบว่า จังหวัดสมุทรปราการมีประชากรส่วนใหญ่อยู่ในวัยแรงงาน (อายุ 15-59 ปี) คิดเป็นร้อยละ 68 รองลงมาคือ วัยสูงอายุ (อายุ 60 ปีข้ึนไป) วัยเรียน (อายุ 5- 14 ปี) และวัยเด็ก (อายุต่้ากว่า 5 ปี) คิดเป็นร้อยละ 13 , 12 และ 5 ตามล้าดบั หากวิเคราะห์สถิติโครงสร้างประชากร จ้าแนกตามกลุ่มอายุ/กลุ่มประชากร ในช่วง ปี พ.ศ. 2555 – 2558 พบวา่ ประชากรวัยแรงงาน มีจ้านวนเพิ่มมากข้ึนในทุก ๆ ปี แต่มีสัดส่วนลดลงเล็กน้อยเม่ือเปรียบเทียบ กับจ้านวนประชากรในภาพรวม ในขณะที่ประชากรวัยเรียน มีจ้านวนลดลงเล็กน้อยในทุก ๆ ปี และมีสัดส่วน ลดลงเม่ือเปรียบเทียบกบั ประชากรในภาพรวม ส่วนประชากรวยั เดก็ มสี ัดสว่ นลดลงเร่ือย ๆ เม่ือเปรียบเทียบกับ ประชากรในภาพรวม จากสถิติโครงสร้างประชากรในกลุ่มประชากรวัยสูงอายุ พบว่า จังหวัดสมุทรปราการ มีจ้านวน ประชากรวยั สูงอายุเพิ่มขึ้นทกุ ๆ ปี และมสี ัดส่วนของประชากรกลุ่มวัยสูงอายุสูงขึ้นเร่ือย ๆ จากปี พ.ศ. 2555 – 2557 และมีจ้านวนลดลงในปี พ.ศ. 2558 อย่างไรก็ตาม สัดส่วนของจ้านวนประชากรวัยสูงอายุของจังหวัด สมทุ รปราการ ในปี พ.ศ. 2555 – 2558 นั้นมีสัดสว่ นประชากรเกินกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งจังหวัด ซึ่ง แสดงใหเ้ ห็นวา่ จังหวัดสมุทรปราการนนั้ เปน็ สงั คมทก่ี ้าวเขา้ สู่สังคมผสู้ งู อายุ (Aging society)

แผนพฒั นาจังหวัดจังหวัดสมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 22 4) ประชากรจา้ แนกตามการนับถอื ศาสนา จังหวัดสมุทรปราการ มีประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 93.53 (1,187,750 คน) รองลงมาคอื ศาสนาอิสลาม ครสิ ต์ และพราหมณ์ ฮินดู คดิ เป็นรอ้ ยละ 3.86 , 2.26 และ 0.31 ตามล้าดับ คริสต์ 28,700 2% พราหมณ์ ฮินดแู ละอืน่ ๆ อสิ ลาม 49,025 4% 3,937 0% พุทธ 1,187,750 94% ภาพที่ 1.16 แสดงประชากร จา้ แนกตามการนบั ถือศาสนา แหลง่ ที่มา: สา้ นักงานพระพุทธศาสนาจงั หวัดสมทุ รปราการ 5) กลุ่มชาติพนั ธ์ุ จังหวัดสมุทรปราการมีกลุ่มทางชาติพันธ์ุท่ีหลากหลาย ได้แก่ กลุ่มคนไทยพ้ืนเมือง มลายู ลาว มอญ จีน ฯลฯ ปัจจยั ส้าคญั ทก่ี ่อให้เกดิ ความหลากหลายทางชาติพนั ธุน์ มี้ หี ลายสาเหตุดว้ ยกันคือ กลุ่มมอญ ท่ีเข้ามาต้ังถ่ินฐานสร้างชุมชนเมืองหน้าด่านป้องกันศึกทางทะเล กลุ่มลาวที่ถูกกวาดต้อนมาในสมัยสงคราม แถบคลองมหาวงษ์และส่วนใหญ่ย้ายกลับไปอยู่แถบนครนายก กลุ่มมลายูมุสลิมท่ีเข้ามาท้าการเกษตรและ เป็นแรงงานในการขุดคลองเพื่อชลประทาน กลุ่มคนจีนท่ีเข้ามาค้าขาย กลุ่มชาติพันธ์กลุ่มต่างๆ เหล่าน้ี กลายเปน็ ประชากรในจังหวดั ฯ สบื ทอดมาถึงปัจจบุ ัน เชน่ - พระประแดงแหล่งมอญ ในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมีชาวมอญ อพยพหนีภัยสงครามเข้ามามากจึงโปรดเกล้าฯ ให้ไปต้ังภูมิล้าเนาในแขวงเมืองธนบุรี นนทบุรี และนครเข่ือนขันธ์ หรือพระประแดง พระประแดงจงึ กลายเป็นชุมชนมอญขนาดใหญม่ าจนถงึ ปจั จุบัน ต่อมาได้ขยายการตั้งถ่ินฐาน ไปยังอ้าเภอบางพลีและอ้าเภอบางบ่อมีอาชีพท้านาเป็นหลัก ในอ้าเภอพระประแดงมีวัดทรงธรรม และวัดคันลัด ซ่ึงเป็นศูนย์กลางชุมชน กลุ่มชาวไทยเชื้อสายมอญเหล่านี้ยังสามารถรักษาความเช่ือขนบธรรมเนียมประเพณี ของตนไว้ไดจ้ นถึงปัจจบุ ัน เช่น การนับถือผี การสวดมนต์ การเผาศพ ประเพณีสงกรานต์ และการตงั้ บ้านเรือน ฯลฯ

แผนพัฒนาจงั หวัดจงั หวัดสมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 23 - จีนผู้กุมฐานเศรษฐกิจ บริเวณอ้าเภอเมืองเป็นย่านชุมชนท่ีอยู่อาศัยของชาวจีน ซ่ึงเข้ามา ต้งั รกรากค้าขายริมแมน่ ้าเจ้าพระยาบรเิ วณเมืองสมุทรปราการและริมคลองส้าโรงและคลองสาขา มีศาลเจ้าจีน และเจว็ดไม้ ได้แก่ ศาลเจ้าแม่ทับทิม ศาลเจ้าพ่อบางพลีใหญ่ และศาลเจ้าต้ัวปูนเถ่ากง ส่วนศาลเจ้าหลักเมืองเดิม เป็นอาคารทรงไทย แต่เมื่อทรุดโทรมลงผู้ท่ีเคารพบูชาซ่ึงส่วนใหญ่มีเชื้อสายจีนจึงร่วมกันสร้างรูปแบบศาลเจ้าจีน และเม่ือมีการขยายตัวของชุมชน รวมทั้งการให้ความส้าคัญกับถนนศาลเจ้าจึงเปล่ียนมาอยู่ริมถนนแทน ศาลเจา้ รุ่นหลังๆ ท่ีเพงิ่ สร้างขน้ึ มาใหม่บางแหง่ สรา้ งโดยชาวจีนไตห้ วันทเ่ี ขา้ มาทา้ โรงงานอตุ สาหกรรม 1.7.2 การบริการทางสงั คม 1) สถานศึกษา 1.1) สถานศึกษาสงั กดั สพป. สมทุ รปราการ เขต 1,2 และ สพม.6 จังหวัดสมุทรปราการมีสถานศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชนจ้านวนท้ังส้ิน 278 แห่ง มีจ้านวนนักเรียนทั้งสิ้น 191,1023 คน ครู 8,989 คน และห้องเรียน 5,925ห้อง คิดเป็นอัตราส่วนครูต่อ นักเรียน 22:1 และนักเรียนต่อห้องเรียน 33:1 แสดงว่าจังหวัดฯ อัตราส่วนครูต่อนักเรียน และนักเรียนต่อ ห้องเรียน เป็นไปตามเกณฑ์ท่ีส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และส้านักงานคณะกรรมการ ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาก้าหนด ตารางท่ี 1.7 แสดงอตั ราส่วนนกั เรยี น/ครู นกั เรยี น/หอ้ งเรยี น จ้าแนกตามสงั กดั พ.ศ. 2557 สงั กัด โรงเรยี น ภาครัฐและภาคเอกชน หอ้ งเรยี น นักเรียน:ครู นกั เรยี น:หอ้ ง นักเรยี น ครู 32:1 สพป.สมุทรปราการ เขต 1 154 91,044 4,395 2,848 21:1 27:1 40:1 สพป.สมุทรปราการ เขต 2 99 49,476 2,759 1,806 18:1 33:1 สพม.6 25 50,586 1,835 1,271 28:1 รวมแต่ละสังกัด 278 191,102 8,989 5,925 22:1 แหล่งที่มา: สพป.สมทุ รปราการ เขต 1,2 สพม.6 1.2) สถานศึกษาสงั กดั องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น ในปี พ.ศ. 2557 จังหวัดสมุทรปราการมีสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมจ้านวน 119 แหง่ แบ่งเปน็ โรงเรียนในสงั กัดจ้านวน 25 แหง่ มนี ักเรยี นจ้านวน 11,264 คน และศนู ย์พัฒนา เด็กเลก็ ในสงั กัด จ้านวน 94 แหง่ มีนักเรียนจ้านวน 7,867 คน ซึ่งจ้านวนนักเรียนและโรงเรียนในสังกัด อปท. มีแนวโนม้ เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2556 ดงั ตารางท่ี 1.8

แผนพัฒนาจังหวดั จังหวดั สมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 24 ตารางที่ 1.8 แสดงจ้านวนโรงเรยี นในสงั กัดองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ พ.ศ. 2556 - 2557 สถานศึกษาในสังกัด อปท. พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 นกั เรยี น โรงเรยี น นกั เรียน โรงเรียน โรงเรยี น 10,642 24 11,268 25 ศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ 8,089 96 7,867 94 รวม 18,731 120 19,135 119 แหลง่ ท่ีมา: ส้านกั งานท้องถนิ่ จงั หวัดสมุทรปราการ 1.3) สถานศกึ ษาในระดบั อุดมศกึ ษา จังหวัดสมุทรปราการมีสถานศึกษาในระดับอุดมศึกษาท้ังหมด 6 แห่ง โดยแบ่งเป็น ภาครัฐจ้านวน 2 แห่ง ได้แก่ (1) มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี วิทยาเขตสมุทรปราการ อ้าเภอบางพลี และ (2) ศนู ย์ฝึกพาณิชย์นาวสี ถาบันการศึกษาในสังกัดกรมเจ้าท่า กระทรวงคมนาคม และภาคเอกชน 4 แห่ง ได้แก่ (1) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาเขตสุวรรณภูมิ (บางนา) อ้าเภอบางเสาธง (2) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ อ้าเภอบางพลี (3) วทิ ยาลยั เซาทอ์ สี บางกอก อา้ เภอบางพลี และ (4) สถาบนั เทคโนโลยีแหง่ สวุ รรณภูมอิ า้ เภอบางพลี 1.4) สถานศกึ ษาในระดบั อาชีวศกึ ษา จังหวัดสมุทรปราการมีสถานศึกษาในระดับอาชีวศึกษาทั้งหมด 8 แห่ง โดยแบ่งเป็น ภาครัฐจ้านวน 2 แห่ง (1) วิทยาลัยเทคนิคสมุทรปราการ อ้าเภอเมืองสมุทรปราการ (2) วิทยาลัยเทคนิค กาญจนาภเิ ษกสมุทรปราการ อ้าเภอบางบ่อ (3) วิทยาลัยสารพัดช่างสมุทรปราการ อ้าเภอเมืองสมุทรปราการ (4) วิทยาลัยการอาชีพพระสมุทรเจดีย์ อ้าเภอพระสมุทรเจดีย์ และภาคเอกชน 4 แห่ง ได้แก่ (1) โรงเรียน เทคโนโลยบี รหิ ารธรุ กจิ สมทุ รปราการ อา้ เภอบางพลี (2) โรงเรยี นเกริกวทิ ยาลยั อ้าเภอบางพลี (3) วิทยาลยั เทคโนโลยี สมุทรปราการ อ้าเภอเมอื งสมทุ รปราการ (4) โรงเรยี นสวุ รรณภูมเิ ทคโนโลยแี ละบริหารธุรกิจ อา้ เภอบางพลี 2) การบริการด้านสาธารณสขุ 2.1) สถานรกั ษาพยาบาล จังหวัดสมุทรปราการมีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต้าบล (รพ.สต.) หรือสถานีอนามัย เดิม จ้านวนท้ังส้ิน 48 แห่ง ซ่ึงมีจ้านวนไม่เพียงพอ เมื่อเปรียบเทียบเกณฑ์ที่ส่วนกลางก้าหนด รพ.สต.1 แห่ง ควรรับผิดชอบประชากรไม่เกิน 10,000 คน ซ่ึงจังหวัดสมุทรปราการมีจ้านวนประชากรท้ังส้ิน 1,269,912 คน ดังนนั้ ควรมี รพ.สต. จ้านวน 126 แหง่ ตารางที่ 1.9 แสดงข้อมลู จ้านวนสถานรกั ษาพยาบาลจา้ แนกตามประเภท สถานรักษาพยาบาล เมอื ง บางบอ่ บางพลี พระสมุทรเจดีย์ พระประแดง บางเสาธง รวม จา้ แนกตามประเภท - 3/665 1. โรงพยาบาลทว่ั ไป (แห่ง/เตียง) 1/395 1/120 1/150 - - 1/30 3/120 9/1,010 2. โรงพยาบาลชุมชน (แหง่ /เตียง) - - - 1/30 1/60 - 12/1,453 3. โรงพยาบาลรัฐสังกัดกระทรวงอืน่ ๆ 2/180 1/100 4/520 1/10 1/200 1/100 48 3 295 (แหง่ /เตียง) 25 61 3 48 4. โรงพยาบาลเอกชน (เตยี ง/แห่ง) 4/750 - 3/62 1/100 3/441 6 5. สถานพยาบาลอนามยั ชมุ ชน (แห่ง) 12 8 6 5 14 6. คลนิ กิ เอกชน (แหง่ ) 191 1 5 13 60 7. คลินิกสัตว์ (แหง่ ) 31 13 7 2 5 8. โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพต้าบล 17 - - 9 16 แหลง่ ท่มี า: ส้านกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสมุทรปราการ

แผนพัฒนาจงั หวัดจังหวัดสมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 25 2.2) บคุ ลากรทางการแพทยข์ องภาครัฐ จังหวัดสมุทรปราการมีโรงพยาบาลภาครัฐ จ้านวน 5 แห่ง ซึ่งพบว่าจังหวัดฯ มี บุคลากรทางการแพทย์ทุกสาขาวิชาชีพรวมจ้านวน 831 คน ซึ่งตามเกณฑ์ควรมีจ้านวน 1,641 คน ยังขาด บุคลากรทางการแพทย์ในทุกสาขาวิชาชพี หลกั จ้านวน 810 คน ดงั ตารางที่ 1.10 ตารางท่ี 1.10 แสดงข้อมูลจา้ นวนบุคลากรทางการแพทย์จ้าแนกวิชาชีพหลัก บุคลากรจ้านกตามวิชาชีพ จา้ นวนทม่ี ีจริง จา้ นวนที่ควรมีตามเกณฑ์ จา้ นวนขาด 88 แพทย์ 115 203 76 32 ทันตแพทย์ 43 119 614 810 เภสชั กร 78 110 พยาบาล 595 1,209 รวม 831 1,641 แหลง่ ที่มา: ส้านักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สมทุ รปราการ 3) สถานที่รับบา้ บดั ฟน้ื ฟูผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด จังหวัดสมุทรปราการมีสถานท่ีรับบ้าบัดและฟ้ืนฟูผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด ซึ่งตั้งอยู่ในสถานี อนามัยในพ้ืนท่ีท้ัง 6 อ้าเภอ จ้านวนรวมท้ังสิ้น 63 แห่ง โดยรับบ้าบัดฟ้ืนฟูผู้เสพ/ผู้ติดฯ ระบบสมัครใจใน รูปแบบ matrix program ดงั นี้ (ตารางท่ี 1.11) ตารางท่ี 1.11 แสดงข้อมูลรายช่ือสถานีอนามัยสถานทร่ี บั บา้ บดั และฟืน้ ฟผู เู้ สพ/ผู้ตดิ สารเสพติดในพนื ที่ 6 อ้าเภอ อา้ เภอ รายช่ือสถานอี นามัยสถานทรี่ ับบ้าบดั และฟ้นื ฟผู ู้เสพ/ผตู้ ิดสารเสพติด อ้าเภอเมอื งฯ 1. สสอ.เฉลมิ พระเกยี รตฯิ บ้านคลองบางป้งิ 2. สสอ.ต.บางโปรง 3. สสอ.ต.เทพารักษ์ 4. สสอ.แพรกษา 5. สสอ.ต.บางปู 6. สสอ.ต.บางปใู หม่ 7. สสอ.ต.ทา้ ยบา้ น 8. สสอ.ต.ทา้ ยบา้ นใหม่ 9. สสอ.ต.บางเมือง 10. สสอ.ต.บางเมืองใหม่ 11. สสอ.ต.บางด้วน 12. สสอ.ต.สา้ โรงเหนอื 13. สสอ.ต.บ้านคลองเก้า 14. ศนู ย์สขุ ภาพชมุ ชนบญุ ศิริ 15. ศูนย์สขุ ภาพชุมชนรม่ โพธิ์ 16. ศูนยส์ ขุ ภาพชุมชนพุทธรักษา

ตารางท่ี 1.11 (ตอ่ ) แผนพัฒนาจงั หวดั จงั หวดั สมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 26 อา้ เภอ รายช่ือสถานอี นามัยสถานทร่ี ับบา้ บดั และฟน้ื ฟูผเู้ สพ/ผูต้ ดิ สารเสพตดิ อ้าเภอบางบ่อ 1. คลองดา่ น หมู่ 13 2. คลองดา่ นหมู่ 1 อ้าเภอบางพลี 3. นยิ มยาตรา 4. บางบ่อ อา้ เภอพระประแดง 5. บ้านระกาศ หมู่ 3 6. บา้ นระกาศ หมู่ 8 7. บางพลีนอ้ ย หมู่ 3 8. บางพลีน้อย หมู่ 5 9. บางพลนี อ้ ย หมู่ 8 10. บางเพรยี ง 11. คลองสวน 12. เปรง็ 1. บางแกว้ 2. ราชาเทวะ 3. บางปลา 4. บางโฉลง 5. วัดสลดุ 6. หนองปรอื 7. คลองส่ี 1. สา้ โรง 2. สา้ โรงกลาง 3. ส้าโรงใต้ 4. บางครุ 5. ทรงคนอง 6. บางยอ 7. บางหัวเสอื 8. บางหญ้าแพรก 9. บางกอบวั หมู่ 2 10. บางกอบวั หมู่ 12 11. บางพ่ึง 12. บางนา้ ผ้งึ 13. บางกระสอบ 14. บางกระเจา้ 15. บางจาก

แผนพัฒนาจงั หวดั จังหวดั สมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 27 ตารางที่ 1.11 (ต่อ) อา้ เภอ รายช่อื สถานีอนามยั สถานทร่ี ับบ้าบดั และฟืน้ ฟูผู้เสพ/ผ้ตู ิดสารเสพติด อา้ เภอพระสมุทรเจดยี ์ 1. บ้านขนุ สมทุ รไทย 2. บา้ นขุนสมุทร 3. คลองทะเล 4. บ้านคลองสวน 5. บา้ นคสู่ รา้ ง 6. ในคลองบางปลากด 7. นาเกลอื 8. แหลมฟา้ ผา่ อา้ เภอบางเสาธง 1. บางเสาธง 2. เมอื งใหมบ่ างพลี 3. เสาธงกลาง 4. ศีรษะจรเข้น้อย 5. ศีรษะจรเขใ้ หญ่ 6. วดั ศรวี ารนี ้อย แหล่งทม่ี า: แผนปฏบิ ัติการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หายาเสพตดิ จงั หวัดสมทุ รปราการระยะ 5 ปี (พ.ศ.2558 – 2562) 4) ศาสนสถาน จังหวัดสมุทรปราการ มศี าสนสถานทั้งสิ้น จ้านวน 138 แห่ง ประกอบด้วย วัด จ้านวน 123 แห่ง มัสยิด จ้านวน 12 แห่ง และโบสถ์คริสต์ จ้านวน 3 แห่ง วัดในศาสนาพุทธกระจายตัวมากในเขตพื้นที่ อ.พระประแดง อ.เมืองสมุทรปราการ และ อ.บางบอ่ ตามล้าดับ โดยท้ังด้านประวัติความเป็นมา สถาปัตยกรรม วัดท่ีอยใู่ นความศรทั ธาของประชาชนทั่วไปมีหลายแห่ง เช่น วดั พระสมทุ รเจดีย์ วัดโปรดเกศเชษฐาราม วัดอโศการาม วดั บางพลีใหญ่ใน ฯลฯ ตารางท่ี 1.12 แสดงจา้ นวนศาสนสถานในพืนที่ ศาสนา จา้ นวน (แหง่ ) พทุ ธ 123 แห่ง (ธรรมยุต 5 แหง่ มหานกิ าย 118 แห่ง) อสิ ลาม 12 แห่ง คริสต์ 3 แหง่ พราหมณ์ ฮินดูและอนื่ ๆ - แหลง่ ท่ีมา: ส้านกั งานพระพุทธศาสนาจังหวดั สมุทรปราการ

แผนพัฒนาจงั หวัดจังหวัดสมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 28 1.8 โครงสร้างพืนฐานและการเข้าถึงการบริการ 1.8.1 การคมนาคมและการขนส่ง 1) การคมนาคมทางบก 1.1) ทางหลวงสายหลัก ทางหลวงสายหลักซ่ึงอยู่ในความรับผิดชอบของแขวงทางหลวงสมุทรปราการท่ีส้าคัญ ในพื้นที่มีทั้งหมด 17 สายทาง ซ่งึ มีระยะทางรวม 219.62 กโิ ลเมตร ไดแ้ ก่ (รายละเอียดตามตารางท่ี 1-9) (1) ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 3 (ถนนสขุ ุมวิท) (2) ทางหลวงแผน่ ดิน หมายเลข 34 (ถนนบางนา – ตราด) (3) ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 303 (ถนนสขุ สวัสดิ์) (4) ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 354 (ทางแยกเข้าสนามบินสวุ รรณภูมิ ดา้ นทศิ ตะวนั ตก) (5) ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 3104 (ถนนเพชรหึงส)์ (6) ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 3113 (ถนนปเู่ จา้ สมิงพราย) (7) ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 3116 (ถนนบางป้งิ -แพรกษา) (8) ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 3117 (ถนนปานวถิ ี) (9) ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 3243 (ถนนแหลมฟา้ ผา่ ) (10) ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 3344 (ถนนศรีนครนิ ทร์) (11) ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 3256 (ถนนก่ิงแกว้ ) (12) ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 3268 (ถนนเทพารักษ)์ (13) ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 3413 (ถนนเลย่ี งเมอื งบางบอ่ ) (14) ทางหลวงแผน่ ดิน หมายเลข 3701 (ทางบริการพิเศษสายมอเตอรเ์ วยด์ า้ นซ้าย) (15) ทางหลวงแผน่ ดิน หมายเลข 3702 (ทางบริการพเิ ศษสายมอเตอร์เวยด์ ้านขวา) (16) ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 3901 (ทางบริการถนนกาญจนาภิเษกด้านซา้ ย) (17) ทางหลวงแผน่ ดิน หมายเลข 3902 (ทางบริการถนนกาญจนาภิเษกดา้ นขวา) 1.2) ทางหลวงสายรอง ทางหลวงสายรอง ท่ีอยู่ในความรับผิดชอบของแขวงทางหลวงชนบทสมุทรปราการ ที่ สา้ คญั ในพื้นท่มี ที ั้งหมด 13 สายทาง ซ่งึ มีระยะทางรวม 95.591 กโิ ลเมตร (รายละเอยี ดตาม ตารางที่ 1-10) (1) แยก ทล.หมายเลข 314 (กม.ที่ 14.800) – บ้านลาดกระบัง (ตอนสมุทรปราการ) (2) แยก ทล.หมายเลข 34 (กม.ที่ 18.165) – ออ่ นนชุ (3) แยก ทล.หมายเลข 3344(กม.ท่ี15.568) – บ้านบางพลใี หญ่ (4) แยก ทล.หมายเลข 34 (กม.ท่ี 26.150) - ทางหลวงพเิ ศษหมายเลข 7 (5) แยกทล.หมายเลข ฉช. 3001 (กม.ที่ 11.485) - บ้านคลองนยิ มยาตรา (6) แยก ทล.หมายเลข 3 (กม.ท่ี 60.250) – บา้ นบางพลนี ้อย (7) แยก ทล.หมายเลข 3 (กม.ที่52.600)- เคหะบางพลี (8) แยก ทลช.หมายเลข สป.5004 (กม.ท่ี 3.520)- บา้ นเทพราช

แผนพัฒนาจังหวดั จังหวดั สมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 29 (9) แยก ทล.หมายเลข 3256 (กม.ที่ 17.085)–วัดกงิ่ แกว้ (10) แยก ทล.หมายเลข 3344 (กม.ที่ 13.750) – สขุ มุ วทิ (11) เช่ือมทางหลวงหมายเลข 3243 (กม.ท่ี 5.317) – บางขุนเทียน (12) แยก ทล.หมายเลข 3 (กม.ที่ 49.035) – เทพารักษ์ (13) แยก ทล.หมายเลข 34 (กม.ท่ี 29.800) - รร.คลองหลุมลกึ 1.3) เสน้ ทางการคมนาคมอน่ื ๆ ทสี่ ้าคญั จังหวัดสมุทรปราการนอกจากจะมีทางหลวงสายหลัก-สายรองแล้ว ยังมีทางหลวง พิเศษซ่ึงอยู่ในความรับผิดชอบของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ได้แก่ ทางพิเศษสายมอเตอร์เวย์ และทาง ด่วนกาญจนาภิเษกท่ีเช่ือมต่อสายบางพลี-สุขสวัสดิ์ ทางพิเศษบูรพาวิถี ถนนวงแหวนอุตสาหกรรม พร้อมทั้งมี สะพานแขวนขา้ มแมน่ ้าเจา้ พระยา จ้านวน 2 แห่ง คือ สะพานกาญจนาภิเษก และสะพานภูมิพล 1 สะพานภูมิ พล 2 รวมท้ัง ทางเช่ือมเส้นทางด่วนกาญจนาภิเษกสายบางพลี-สุขสวัสด์ิ กับถนนวงแหวนอุตสาหกรรม (ช่วง บางหวั เสอื ) และทางพิเศษบรู พาวถิ ี (ช่วงด่านบางแก้ว) และมโี ครงขา่ ยเช่ือมโยงถนนสายหลักสายรองท่ีถ่ายโอน ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ดูแล จ้านวนท้งั ส้นิ 82 สายทาง ซ่ึงเส้นทางคมนาคมหลกั ในจังหวัดฯ จะใช้ในการ ขนส่งสินค้าของภาคอุตสาหกรรมและภาคการเกษตรของจังหวัดฯและพื้นท่ีติดต่อใกล้เคียง ท้าให้มีปริมาณ การจราจรหนาแนน่ และตดิ ขดั ในชั่วโมงเรง่ ด่วนส่งผลให้เกดิ วกิ ฤตดา้ นการจราจรอย่างหนัก ประกอบกับจังหวัด ฯ ได้มีการประกาศใชผ้ งั เมอื งรวมสมุทรปราการ ฉบับปี พ.ศ. 2556 ซ่ึงได้ก้าหนดแผนผังโครงการคมนาคมและ ขนสง่ ในพ้นื ท่ี ซึ่งจะมผี ลบงั คบั ใช้ 5 ปี นับต้ังแต่วันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2557 -วนั ท่ี 4 กุมภาพันธ์ 2562 ภาพที่ 1.17 แผนภาพผงั แสดงโครงการคมนาคมและขนส่งในพนื ที่

แผนพัฒนาจงั หวดั จงั หวดั สมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 30 2) การคมนาคมทางนา้ จงั หวัดสมุทรปราการมที า่ เทยี บเรือขนสง่ โดยสารสาธารณะ และท่าขนส่งสินค้าท่ีส้าคัญ รวม 32 แหง่ และมีทา่ เทียบเรือขนาดเกินกว่า 500 ตันจ้านวน 53 ทา่ โดยมที า่ เทียบเรอื ทีส่ า้ คญั ดังน้ี - ท่าเรอื พบิ ลู ยศ์ รี ตั้งอยู่ทต่ี ้าบลปากน้า อ้าเภอเมืองบางประกอก - ทา่ เรือพระประแดง ตั้งอย่ทู หี่ นา้ ทว่ี า่ การอา้ เภอพระประแดง - ทา่ เรอื คลองด่าน ตงั้ อยู่ทีต่ ้าบลคลองด่าน อ้าเภอบางบ่อ - ทา่ หอ้ งเยน็ ต้งั อย่ทู ตี่ ้าบลทา้ ยบ้าน อ้าเภอเมืองสมุทรปราการ - ท่าสะพานปลา ต้ังอยทู่ ่ตี ้าบลท้ายบ้าน อา้ เภอเมืองสมทุ รปราการ - ท่าเรือข้ามฝากเภทรา ใช้บรรทุกยานพาหนะข้ามฟากระหว่างอ้าเภอพระประแดงฝ่ังตะวันตก และตะวนั ออก - ท่าเรืออายิโนะโมโต๊ะ อยู่ในเขตอ้าเภอพระประแดง ใช้บรรทุกยานพาหนะข้ามฟากไปยัง บริเวณท่าเรอื ขา้ มฟาก อ้าเภอบางเสาธง 3) การคมนาคมทางอากาศ จังหวัดสมุทรปราการมี ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi International Airport) ซ่ึงเป็นศูนย์กลางการคมนาคมทางอากาศที่ส้าคัญของประเทศไทย ภูมิภาค และของโลก ต้ังอยู่ท่ีถนนบางนา-ตราด ประมาณกิโลเมตรที่ 15 ต้าบลราชาเทวะ อ้าเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ห่างจาก ใจกลางกรงุ เทพมหานคร 25 กโิ ลเมตร เปดิ ใช้งานวันที่ 28 กันยายน 2549 นับเป็นท่าอากาศยานท่ีมีพ้ืนท่ีขนาดใหญ่ ที่สุดของไทย (เนื้อท่ี 20,000 ไร่) มีปริมาณผู้โดยสารสูงถึง 58 ล้านคนต่อปี รองรับเท่ียวบิน 76 เที่ยวต่อช่ัวโมง และรองรับการขนส่งสินค้าทางอากาศ 3 ล้านตันต่อปี ขณะนี้ก้าลังขยายเฟส 2 เพื่อเพิ่มหลุมจอดอีก 28 หลุมจอด และเพมิ่ ทางว่งิ จาก 2 รันเวย์เป็น 4 รันเวย์ คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2563 ซ่ึงจะสามารถรองรับผู้โดยสารได้ 85 ล้านคนต่อปี และเป็นส่วนส้าคัญในการผลักดันให้ประเทศไทยสามารถพัฒนาไปสู่ความเป็นศูนย์กลางด้านการบิน ของภูมิภาค โดยทา่ อากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิเป็นศูนย์กลางการบินประตูสู่เอเชีย และเป็นแหล่งก้าเนิดกิจกรรม การขนส่งขนาดใหญ่ท่ีเป็นเขตอุตสาหกรรมหนาแน่น เขตพาณิชยกรรม เขตแหล่งท่องเที่ยวในอนาคตคาดว่า แหล่งกา้ เนดิ กจิ กรรมเหล่านี้จะขยายตวั และก่อใหเ้ กดิ ปริมาณการเดนิ ทางหลากหลายรูปแบบ 4) การคมนาคมระบบราง 4.1) โครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียว ช่วงแบร่ิง-สมุทรปราการ คณะรฐั มนตรีในคราวประชมุ เม่อื วนั ท่ี 27 พฤศจิกายน 2551 ได้มีมติเห็นชอบให้ รฟม. ดา้ เนนิ การก่อสรา้ งโครงการรถไฟฟา้ สายสเี ขยี ว ช่วงหมอชิต - สะพานใหม่ และช่วงแบร่ิง - สมุทรปราการ รวม เป็นระยะทางประมาณ 25 กิโลเมตร โดยแนวเส้นทางโครงการระบบขนส่งกรุงเทพมหานคร ช่วงแบริ่ง – สมุทรปราการ มีโครงสร้างรถไฟฟ้าแบบยกระดับตลอดเส้นทาง ระยะทาง 13 กิโลเมตร เป็นระบบรถไฟฟ้า ขนาดใหญ่ (Heavy Rail Transit System) แนวเส้นทางเร่ิมต้นต่อเนื่องจากแนวเส้นทางของโครงการระบบ ขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (BTS) ส่วนต่อขยายสายสุขุมวิท ตอนที่ 1 ช่วงอ่อนนุช - แบร่ิง บริเวณซอย สุขมุ วิท 107 (แบริ่ง) ไปตามแนวเกาะกลางของถนนสุขุมวทิ ผา่ นคลองสา้ โรง ผา่ นแยกเทพารักษ์ แยกปู่เจ้าสมิง พราย เม่ือถึงบริเวณจุดตัดกับโครงการถนนวงแหวนรอบนอกด้านใต้แนวจะเบ่ียงจากเกาะกลางไปทางทิศ ตะวันตกของถนนสุขุมวิท เพื่อข้ามทางต่างระดับสุขุมวิท จากน้ันจึงเบ่ียงกลับมาอยู่ในแนวเกาะกลางถนน

แผนพัฒนาจงั หวดั จงั หวดั สมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 31 สุขุมวิท ผ่านแยกศาลากลาง แยกการไฟฟ้า แยกแพรกษา แยกสายลวด จนถึงจุดสิ้นสุดโครงการบริเวณหน้า สถานีไฟฟ้าย่อยบางปิง้ โดยแนวเสน้ ทางจะเบี่ยงออกทางด้านทิศตะวนั ตก และลดระดับเพอื่ เข้าศูนย์ซอ่ มบ้ารงุ สถานีรถไฟฟ้าสายสีเขียว ช่วงแบริ่ง – สมุทรปราการประกอบด้วยสถานีท้ังหมด 9 สถานี ได้แก่ สถานีส้าโรง สถานีปู่เจ้าสมิงพราย สถานีเอราวัณ สถานีโรงเรียนนายเรือ สถานีสมุทรปราการ สถานีศรีนครินทร์ สถานีแพรกษา สถานีสายลวด และสถานีเคหะสมุทรปราการ โดยบางสถานีจะเชื่อมต่อกับ ระบบขนสง่ มวลชนสายอื่น ๆ เพ่ือให้ผู้โดยสารสามารถเดินทางได้อย่างสะดวก นอกจากน้ียังมีบันไดเล่ือน ลิฟต์ หอ้ งน้า ป้ายประชาสัมพันธแ์ ละสง่ิ อ้านวยความสะดวกตา่ ง ๆ เพื่อผู้พกิ ารอีกดว้ ย ปัจจุบัน (31 สิงหาคม 2559) การก่อสร้างรถไฟฟ้ามีความก้าวหน้าไปกว่า 95.04% ซ่ึงมี กา้ หนดการเปิดใหบ้ ริการในปี พ.ศ. 2561 หากเปดิ ใช้บรกิ ารแล้วก็จะช่วยอ้านวยความสะดวกในการเดินทางแก่ประชาชน ท่มี าพักอาศยั ประกอบธรุ กรรมและทอ่ งเท่ยี วในพน้ื ที่ รวมท้งั สามารถแก้ไขปัญหาการจราจรไดอ้ ีกทางหนึง่ ภาพที่ 1.18 แสดงสถานีรถไฟฟ้าสายสเี ขียว ช่วงแบร่ิง – สมทุ รปราการ แหลง่ ท่มี า : การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแหง่ ประเทศไทย 4.2) โครงการรถไฟฟ้าสายสมี ่วง ช่วงเตาปนู - ราษฎร์บรู ณะ (วงแหวนกาญจนาภิเษก) โครงสร้างรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน-ราษฎร์บูรณะ มีระยะทางทั้งสิ้น 23.6 กิโลเมตร เป็นโครงสร้างทางวิ่งใต้ดิน 12.6 กิโลเมตร และโครงสร้างทางยกระดับ 11 กิโลเมตร และมีสถานี ทงั้ ส้ิน 17 สถานี เปน็ สถานีใต้ดิน 10 สถานี และสถานียกระดบั 7 สถานี แนวเส้นทางโครงสร้างรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน-ราษฎร์บูรณะ เร่ิมจากจุด เช่อื มต่อโครงการรถไฟฟา้ สายสีมว่ ง ชว่ งบางใหญ่ - บางซือ่ ทบี่ ริเวณสถานีเตาปูน โดยเปล่ียนเป็นเส้นทางใต้ดิน แลว้ เบ่ยี งเข้าสู่ ถนนสามเสน ผ่านรฐั สภาแหง่ ใหม่ (โรงเรียนโยธนิ บรู ณะเดมิ ) โรงเรียนราชินีบน กรมชลประทาน โรงพยาบาลวชิรพยาบาล หอสมุดแห่งชาติ คลองบางล้าพู เลี้ยวซ้ายเข้าถนนพระสุเมรุ ผ่านวัดบวรนิเวศราช วรวิหาร แยกผ่านฟ้า เข้าสู่ถนนมหาไชย ผ่านวัดราชนัดดารามวรวิหาร เข้าสู่ถนนจักรเพชร ลอดใต้แม่น้า เจ้าพระยาบริเวณสะพานพระปกเกล้า เข้าสู่ถนนประชาธิปก ผ่านสีแยกบ้านแขก ลอดใต้วงเวียนใหญ่ เข้าสู่ ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน ลอดแยกมไหสวรรย์ จากน้ันเปลี่ยนเส้นทางยกระดับผ่านแยกถนนจอมทองเข้าสู่ ถนนสุขสวัสด์ิ ผา่ นแยกถนนประชาอทุ ศิ ข้ามทางด่วนเฉลมิ มหานคร เขา้ ส่รู าษฎร์บูรณะข้ามคลองแจงร้อน ผ่าน สามแยกพระประแดง และสิ้นสุดเส้นทางบริเวณครใุ น โดยมีแผนก่อสรา้ งโครงการและทดสอบระบบ ในปี พ.ศ. 2560 – 2565 ซึ่งคาดวา่ จะเปดิ บริการในชว่ งเดอื นมกราคม พ.ศ. 2566

แผนพฒั นาจงั หวัดจงั หวดั สมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 32 ภาพท่ี 1.19 แนวเส้นทางโครงการรถไฟฟา้ สายสีม่วง ชว่ งเตาปนู - ราษฎร์บูรณะ (วงแหวนกาญจนาภิเษก) แหลง่ ท่ีมา : การรถไฟฟา้ ขนสง่ มวลชนแหง่ ประเทศไทย 4.3) โครงการรถไฟฟา้ สายสีเหลอื ง ช่วงลาดพรา้ ว-ส้าโรง โครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-ส้าโรง เป็นระบบขนส่งมวลชนประเภท รถไฟฟ้ารางเดย่ี ว (Straddle Monorail) มีลกั ษณะเปน็ โครงสร้างยกระดบั ตลอดแนวเส้นทาง มีระยะทางทั้งสิ้น 30.4 กิโลเมตรรวม 23 สถานี มีจุดประสงค์เพ่ือเช่ือมต่อการเดินทางระหว่างสายสีน้าเงินที่สถานีรัชดา (สถานี ลาดพรา้ วของสายสีน้าเงิน) กับระบบขนส่งมวลชน 4 สาย คือ สายสีเทาของกรุงเทพ สายสีส้มบริเวณทางแยก ลา้ สาลี รถไฟเช่ือมต่อท่าอากาศยาน (Airport Rail Link) บริเวณทางแยกต่างระดับพระราม 9 และสายสีเขียว ช่วงแบรง่ิ -สมทุ รปราการ ท่ีสถานสี า้ โรง โดยแนวเส้นทางโครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-ส้าโรง เริ่มต้นที่จุดเชื่อม ต่อกับระบบรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน้าเงินระยะแรก) ที่แยกรัชดา-ลาดพร้าว ไปตามแนว ถนนลาดพร้าว โดยเช่ือมต่อกับโครงการรถไฟฟ้าสายสีเทาของกรุงเทพมหานครที่แยกฉลองรัช และยกระดับ ข้ามทางด่วนฉลองรชั จนถึงทางแยกบางกะปิ จากนัน้ แนวเส้นทางจะเลี้ยวขวาไปทางทิศใต้ตามถนนศรีนครินทร์ เชื่อมต่อกับโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้มท่ีทางแยกล้าสาลี ต่อจากน้ันแนวเส้นทางจะยกระดับข้ามทางแยกต่าง

แผนพัฒนาจงั หวัดจังหวดั สมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 33 ระดบั พระราม 9 โดยเช่ือมต่อกับโครงการรถไฟฟ้าเช่ือมต่อท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Airport Rail Link) และ ผ่านแยกพัฒนาการ แยกศรีนุช แยกศรีอุดมสุข แยกศรีเอี่ยม จนถึงแยกศรีเทพา จากนั้นแนวเส้นทางจะเล้ียวขวา อีกครั้งไปทางทิศตะวันตก ตามแนวถนนเทพารักษ์ ผ่านจุดเช่ือมต่อกับโครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียวช่วงแบริ่ง- สมทุ รปราการ ที่สถานีส้าโรง และสิ้นสุดแนวเส้นทางบริเวณถนนปู่เจ้าสมิงพราย รวมระยะทางทั้งส้ินประมาณ 30.4 กิโลเมตร ประกอบด้วยสถานีท้ังหมด 23 แห่ง โรงจอดรถศูนย์ซ่อมบ้ารุง 1 แห่ง อาคารและลานจอดแล้วจร 1 แห่ง บริเวณพ้ืนท่ที างแยกตา่ งระดับศรเี อี่ยม ภาพที่ 1.20 แนวเสน้ ทางโครงการรถไฟฟา้ สายสีเหลือง ช่วงลาดพรา้ ว-ส้าโรง แหลง่ ทมี่ า : การรถไฟฟา้ ขนสง่ มวลชนแห่งประเทศไทย 1.8.2 การไฟฟ้า 1) การใหบ้ รกิ ารการไฟฟ้า จังหวัดสมุทรปราการอยู่ในเขตความรับผิดชอบของการไฟฟ้านครหลวง มีการบริการไฟฟ้า ครอบคลุมพ้นื ทท่ี ุกอา้ เภอ โดยแบง่ เขตความรับผดิ ชอบการให้บรกิ ารไฟฟา้ เปน็ 4 เขต ไดแ้ ก่ 1.1) การไฟฟา้ นครหลวง เขตสมุทรปราการ 1.2) การไฟฟา้ นครหลวง เขตบางพลี 1.3) การไฟฟา้ นครหลวง เขตประเวศ 1.4) การไฟฟ้านครหลวง เขตราษฎร์บูรณะ

แผนพฒั นาจงั หวดั จงั หวดั สมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 34 2) สถิติการใชไ้ ฟฟา้ สา้ หรับการใหบ้ รกิ ารไฟฟ้าในพน้ื ท่ี เม่อื ปี พ.ศ. 2557 พบว่า มจี ้านวนผใู้ ชก้ ระแสไฟฟ้าท้ังส้ิน 423,345 ราย ใช้กระแสไฟฟ้ารวม 9,352 ล้านกิโลวัตต์/ชั่วโมง โดยใช้ในท่ีอยู่อาศัยจ้านวน 1,244 ล้าน กิโลวัตต์/ชั่วโมง สถานธุรกิจและอุตสาหกรรม จ้านวน 8,051 ล้านกิโลวัตต์/ช่ัวโมง สถานท่ีราชการและ สาธารณะ 1 ลา้ นกิโลวัตต/์ ช่วั โมง และอื่น ๆ จา้ นวน 51 ลา้ นกโิ ลวตั ต/์ ช่วั โมง ซึ่งมแี นวโนม้ เพ่มิ ข้นึ เร่อื ย ๆ ตารางท่ี 1.13 สถติ ผิ ใู้ ชไ้ ฟฟา้ และการจ้าหน่ายพลงั งานไฟฟา้ ของการไฟฟ้านครหลวง จ้าแนกตามประเภทผ้ใู ช้ จังหวัดสมทุ รปราการ พ.ศ. 2555 - 2558 ประเภทผูใ้ ช้ พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 จา้ นวนผู้ใชไ้ ฟฟา้ (ราย) 385,523 413,082 433,057 450,979 พลังงานไฟฟา้ ทจี่ ้าหนา่ ยและใช้ 9,344,153,597 9,292,128,316 9,417,229,005 9,582,473,251 (กโิ ลวัตต-์ ชั่วโมง) บ้านอยู่อาศัย 1,165,284,863 1,175,627,359 1,244,319,237 1,354,600,291 กิจการขนาดเล็ก 817,922,077 841,427,453 837,964,312 867,586,151 กิจการขนาดกลาง 1,617,653,372 1,652,431,077 1,707,216,731 1,790,630,130 กิจการขนาดใหญ่ 5,503,846,938 5,436,242,822 5,416,398,400 5,341,589,138 อนื่ ๆ* 239,446,347 186,399,605 211,330,325 228,067,541 แหล่งทีม่ า: การไฟฟ้านครหลวง หมายเหตุ *ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภท กิจการเฉพาะอย่าง องค์กรท่ีไม่แสงหาก้าไร สูบน้าเพ่ือการเกษตร ไฟฟ้า ชัว่ คราวและ ไฟฟรี พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 อน่ื ๆ 222211231189,,,33,0433640076,,,33,5322445517 5,553,,4445111,5,6650,,8333999,8,8814,,3446800,90038 กจิ การขนาดใหญ่ 5,000,000,000 6,000,000,000 กจิ การขนาดกลาง 1,6111,,1777,007,67795,,0223,116,36637,,0772,3311130 กิจการขนาดเล็ก 888813367777,,,999,526682446,,,033,171157221 บ้านอยูอ่ าศัย 1,111,,6221544,,34425,,8334411,,69980,,6220333,27791 1,000,000,000 2,000,000,000 3,000,000,000 4,000,000,000 0 พลังงานไฟฟ้าท่จี า้ หนา่ ยและใช้ (กโิ ลวตั ต์-ช่ัวโมง) ภาพท่ี 1.21 สถติ ผิ ู้ใชไ้ ฟฟา้ และการจา้ หน่ายพลังงานไฟฟา้ ของการไฟฟา้ นครหลวง จ้าแนกตาม ประเภทผู้ใช้ จังหวัดสมุทรปราการ พ.ศ. 2555 - 2558

แผนพัฒนาจังหวัดจงั หวัดสมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 35 1.8.3 การประปา จังหวัดสมุทรปราการอยู่ในความรับผิดชอบของการประปานครหลวง โดยในภาพรวมจ้านวน ผู้ใช้น้าประปาทั้งส้ิน 334,483 ราย และมีปริมาณน้าที่จ้าหน่ายแก่ผู้ใช้ 243,081,032 ลูกบาศก์เมตร มีผู้ใช้น้า สงู สุดในอา้ เภอเมอื งสมทุ รปราการ อ้าเภอบางพลี และอ้าเภอพระประแดง ตามล้าดบั ดังตารางที่ 1.14 ตารางท่ี 1.14 สถติ กิ ารประปา เป็นรายอ้าเภอ พ.ศ. 2558 พืนท่ี ปรมิ าณนา้ ท่ีจา้ หนา่ ยแกผ่ ู้ใช้ (ลบ.ม.) ผใู้ ช้น้า (ราย) Water sales (Cu.M.) Consumers (Persons) จงั หวดั สมทุ รปราการ 243,081,032 334,483 140,142 เมืองสมทุ รปราการ 90,089,894 21,508 76,531 บางบอ่ 17,099,255 41,106 35,284 บางพลี 61,026,933 19,912 พระประแดง 33,386,145 พระสมทุ รเจดยี ์ 17,602,705 บางเสาธง 23,876,100 1.8.4 การบรกิ ารโทรศพั ท์ 1) ชมุ สายโทรศัพท์ทใี่ ห้บรกิ ารในพืนที่ จังหวัดสมุทรปราการมีชุมสายโทรศัพท์ที่เปิดด้าเนินการให้บริการประชาชนครอบคลุมทุก พ้ืนที่ ในจังหวดั สมุทรปราการ มีชมุ สายโทรศพั ทท์ ่เี ปิดด้าเนินการ จา้ นวน 9 ชุมสาย ไดแ้ ก่ (1) ชุมสายโทรศัพท์สมุทรปราการ ต้ังอยู่ถนนสุขุมวิท อ้าเภอเมืองสมุทรปราการ เขตรับผิดชอบ คือบริเวณสะพานวนั มหาวงษเ์ ขตเทศบาลเมืองสมุทรปราการ จนถึงบริเวณถนนสุขุมวิท (สายเก่า) กม.ท่ี 30 (2) ชุมสายโทรศัพท์บางปู ต้ังอยู่ในเขตอ้าเภอเมืองสมุทรปราการ เขตรับผิดชอบคือ บริเวณ กิโลเมตรที่ 30 ถนนสุขมุ วทิ ไปจนสุดเขตบางปูใหม่ (3) ชุมสายโทรศัพท์ปู่เจ้าสมิงพราย ต้ังอยู่ในเขตอ้าเภอพระประแดง เขตรับผิดชอบคือ บรเิ วณเชงิ สะพานวดั มหาวงษ์ ถนนเทพารกั ษ์ ปากซอยสขุ ุมวทิ 109 และในบริเวณวดั ด่านสา้ โรง (4) ชุมสายโทรศัพท์บางนา ต้ังอยู่ถนนบางนา-ตราด เขตรับผิดชอบคือบริเวณซอยสุขุมวิท 101/1 -10 (5) ชุมสายโทรศัพทบ์ างพลี ตง้ั อยู่ในเขตอา้ เภอบางพลี เขตรับผิดชอบคือ ถนนบางนา-ตราด กม.5 ถงึ กม.23 และถนนเทพารกั ษ์ กม. 12-กม. 17 ท้งั 2 ฝัง่ (6) ชุมสายโทรศัพท์บางพลี-บางบ่อ ตั้งอยู่ในเขตอ้าเภอบางพลี เขตรับผิดชอบคือ ถนนบางนา- ตราด กม. 23- กม. 25 และถนนเทพารักษ์ กม.17 ถงึ นิคมอตุ สาหกรรมบางพลี (7) ชุมสายโทรศพั ท์นคิ มบางปู (8) ชมุ สายโทรศพั ทบ์ างบอ่ (9) ชมุ สายโทรศพั ท์บางนาทาวเวอร์

แผนพฒั นาจงั หวดั จงั หวดั สมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 36 2) สถิตกิ ารใหบ้ รกิ ารโทรศพั ทใ์ นพนื ที่ จังหวัดสมทุ รปราการมีผู้ใช้บรกิ ารเลขหมายโทรศัพท์ของบริษัท ทีโอที จ้ากัด (มหาชน) ในปี พ.ศ. 2558 จ้านวน 83,349 หมายเลข โดยแบ่งผู้ขอเช่าหมายเลขเป็นผู้ประกอบธุรกิจ จ้านวน 32,590 หมายเลข บ้านพักอาศัยจ้านวน 10,629 หมายเลข และสถานท่ีราชการจ้านวน 857 หมายเลข รวมท้ังมีการ ให้บริการโทรศัพท์สาธารณะ จ้านวน 76,937 คู่สาย แบ่งเป็นของบริษัท ทีโอที จ้ากัด (มหาชน) ในปี พ.ศ. 2557 จ้านวน 437 คู่สายซ่ึงไม่รวมการเช่าตู้/เคร่ืองและที่ให้สิทธิแก่ กสท. และบริษัทสัมปทาน จ้านวน 76,400 คสู่ าย ตารางที่ 1.15 แสดงการให้บรกิ ารโทรศัพท์ พ.ศ. 2554 – 2557 รายการ พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 เลขหมายโทรศพั ทท์ ่มี ี(1) บรษิ ทั ทโี อที จา้ กัด (มหาชน) 80,349 83,349 83,349 83,349 บรษิ ัทสัมปทาน เลขหมายโทรศัพทท์ ม่ี ผี ูเ้ ชา่ บรษิ ัท ทีโอที จา้ กดั (มหาชน) ธุรกจิ 33,440 33,365 33,409 32,590 บา้ นพัก 10,976 10,955 10,926 10,629 ราชการ 1,134 953 912 857 บริษัท ทีโอที จ้ากดั (มหาชน) โทรศพั ทส์ าธารณะ(2) 953 895 718 537 บรษิ ทั สัมปทาน 129,400 123,795 123,079 76,400 แหล่งทม่ี า: บริษัท ทโี อที จ้ากัด (มหาชน) หมายเหตุ (1) ประกอบด้วยเลขหมายโทรศพั ท์ประจา้ ที่ และสาธารณะ (2) แสดงข้อมูลเฉพาะ ที่ บริษัท ทีโอที จ้ากัด (มหาชน) ด้าเนินการเอง ไม่รวมท่ีบริษัท ทีโอที จ้ากัด (มหาชน) เช่าตู/้ เครื่อง และทใี่ หส้ ิทธิแก่ กสท. 1.8.5 การบริการไปรษณยี ์ 1) ชุมสายโทรศพั ทท์ ีใ่ หบ้ ริการในพนื ที่ จงั หวัดสมทุ รปราการมที ท่ี ้าการไปรษณียค์ รอบคลุมและกระจายในทุกอ้าเภอ โดยมีที่ท้าการ ไปรษณีย์ทั้งหมด 16 แห่ง ซ่ึงมีมากในอ้าเภอเมืองสมุทรปราการ อ้าเภอพระประแดง และอ้าเภอบางพลี เนื่องจากเป็นศูนย์กลางของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และมีประชาชากรอาศัยอยู่หนาแน่น รวมท้ังยังมีร้าน ไปรษณีย์ ที่คอยใหบ้ รกิ ารในทกุ พ้นื ท่อี ีกจ้านวน 8 แหง่ ดงั ตารางท่ี 1.16 และ 1.17

แผนพัฒนาจงั หวัดจังหวดั สมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 37 ตารางท่ี 1.16 แสดงข้อมูลไปรษณยี ไ์ ทย และร้านไปรษณยี ์ไทยในจังหวดั สมุทรปราการ ที่ รหสั ไปรษณยี ์ ชือ่ ที่ท้าการ/หนว่ ยงาน ทอี่ ยู่ 1 10270 ปจ.สมุทรปราการ 87 ถ.สขุ มุ วิท ต.ปากนา้ อ.เมืองฯ 2 10270 ปณ.ด่านส้าโรง 173/1-2 ม. 5 ถ. ศรนี ครินทร์ ต.ส้าโรงเหนือ อ.เมืองฯ 3 10270 ปณ.บางปู 400 ม.2 ถ.สุขมุ วิท ต.ท้ายบ้าน อ.เมืองฯ 4 10270 ปณ.ปากน้า 5 ม.2 ถ.สทุ ธิภิรมย์ ต.ปากน้า อ.เมืองฯ 5 10270 ปณ.สา้ โรง 176-177 ม.9 ถ.สขุ มุ วิท ต.เทพารักษ์ อ.เมอื งฯ 6 10560 ปณ.บางบ่อ 323 ม.1 ถ.รตั นราช ต.บางบอ่ อ.บางบ่อ 7 10550 ปณ.คลองด่าน 151/1 ม. ต.คลองด่าน อ.บางบอ่ 8 10540 ปณ.บางพลี 99/4 ม.12 ถ.รัตนพิศาล ต.บางพลีใหญ่ อ.บางพลี 9 10540 ปณ.บางนาทาว์เวอร์ 2/3 ม. 14 ซ.อาคารบางนาทาว์เวอร์ ช้ัน เอ ถ.บางนา-ตราด ต.บางแก้ว อ.บางพลี 10 10540 ปณ.ท่าอากาศยานสวุ รรณภมู ิ ทา่ อากาศยานสวุ รรณภูมิ ต.หนองปรือ อ.บางพลี 11 10540 ศูนยไ์ ปรษณยี ์สวุ รรณภมู ิ ท่าอากาศยานสวุ รรณภมู ิ ม.7 ต.ราชาเทวะ อ.บางพลี 12 10542 ปณ.บางเสาธง 213/2 ม. 1 ต.บางเสาธง อ.บางเสาธง 13 10130 ปณ.พระประแดง 39 ม.18 ถ.สุขสวสั ดิ์ ต.บางพึง อ.พระประแดง 14 10130 ปณ.ปากลัด 40 ถ.ศรนี ครเขอ่ื นขันธ์ ต.ตลาด อ.พระประแดง 15 10130 ปณ.ส้าโรงใต้ 14/14-15 ถ.ปู่เจ้าสมิงพราย ต.สา้ โรงกลาง อ.พระประแดง 16 10290 ปณ.พระสมุทรเจดยี ์ 193 ม. 3 ถ.สุขสวสั ด์ิ ต.ปากคลองบางปลากด อ.พระสมทุ รเจดีย์ แหล่งที่มา: ท่ีท้าการไปรษณียไ์ ทย (Thailand Post) ตารางที่ 1.17 แสดงข้อมลู ร้านไปรษณยี ไ์ ทยในจงั หวัดสมทุ รปราการ ท่ี ชอ่ื ทท่ี ้าการ/หนว่ ยงาน ทอ่ี ยู่ 1 ปณร.สมุทรปราการ201 (ศรีสมุทร) 143 ถ.ศรีสมทุ ร ต.ปากน้า อ.เมอื งฯ 2 ปณร.สมทุ รปราการ 202 (เทพารักษ)์ 420/185 ม.5 ถ.เทพารักษ์ อ.เมืองฯ 3 ปณร.สมทุ รปราการ 201 (แพรกษา) 431/6 ม. 3 ต. แพรกษา อ. เมอื งฯ 4 ปณร.สมทุ รปราการ 203 (อมิ พเี รียลส้าโรง) CG 46 ชนั้ 1 เลขที่ 999 ถ.สุขมุ วิท ต.ส้าโรง อ.เมอื งฯ 5 ปณร.สมทุ รปราการ 204 (ทรพั ย์บญุ ชัย) 228 ม. 5 ต. บางเมอื ง อ.เมอื งฯ 6 ปณร.สมุทรปราการ 205 (ตลาดหนามแดง) 1054/9 ม. 6 ถ. เทพารกั ษ์ อ.เมอื งฯ 7 ปณร.บางพลี 201 (ตลาดไทยประกนั ) 128/25 ม. 1 ถ. เทพารักษ์ อ.บางพลี 8 ปณร.บางพลี 202 (กงิ่ แกว้ 4) 36/14 ม.1 ต.ราชาเทวะ อ.บางพลี แหล่งท่ีมา: ทีท่ ้าการไปรษณีย์ไทย (Thailand Post)

แผนพัฒนาจงั หวดั จังหวัดสมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 38 1.9 ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม 1.9.1 ทรพั ยากรนา้ 1) ลกั ษณะทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพของจังหวัดสมุทรปราการ เป็นท่ีราบลุ่มชายฝ่ังทะเล มีระดับความสูง ของผิวดินจากระดับน้าทะเลปานกลางระหว่าง +0.50 ถึง +1.50 เมตร.รทก. แหล่งน้าส้าคัญของจังหวัดมี 2 แหล่ง ได้แก่ แม่น้าเจ้าพระยาและคลองระบายน้าในพ้ืนที่ ซึ่งนอกจากจะท้าหน้าท่ีเป็นแหล่งน้าส้าหรับ เกษตรกรรม การประมงและเป็นเส้นทางคมนาคมทางน้าแล้ว ยังท้าหน้าที่ในการรองรับน้าเหนือในฤดูฝนเพ่ือ ระบายลงสู่ทะเลอา่ วไทย ซึง่ มแี หลง่ น้าท่สี า้ คญั ดังนี้ 1.1) แม่น้าเจา้ พระยา แม่น้าเจ้าพระยา เป็นแม่น้าส้าคัญที่ไหลผ่านเขตจังหวัดสมุทรปราการ มีแนวการไหล จากทิศเหนือลงสู่ทิศใต้ ต่อเน่ืองจากเขตกรุงเทพมหานคร โดยไหลผ่านอ้าเภอพระประแดง อ้าเภอพระสมุทร เจดยี ์ และอ้าเภอเมอื งสมุทรปราการ ระยะทางประมาณ 30 กิโลเมตร แม้ว่าแม่น้าเจ้าพระยาจะเป็นแหล่งน้าที่ หล่อเล้ียงพ้ืนที่การเกษตรในภาคกลาง แต่เน่ืองจากแม่น้าเจ้าพระยาช่วงท่ีไหลผ่านจังหวัดสมุทรปราการ มี คณุ ภาพนา้ ลดลงรวมท้ังไดร้ ับอิทธิพลจากความเค็มของน้าทะเล ประกอบกับเขตพ้ืนที่ที่แม่น้าไหลผ่านมีการท้า การเกษตรเพยี งส่วนนอ้ ยในเขตอา้ เภอพระประแดง ดังนน้ั การใช้ประโยชน์จากแมน่ ้าเจ้าพระยาจึงมีเฉพาะด้าน การระบายน้า และการคมนาคมทางน้าเป็นหลกั 1.2) คลองระบายนา้ คลองระบายน้า เป็นแหล่งน้าส้าคัญท่ีใช้ในการบริหารจัดการด้านการชลประทานของ จังหวัดสมุทรปราการ เน่ืองจากจังหวัดสมุทรปราการมีระบบคลองในพ้ืนที่เช่ือมโยงกันเป็นจ้านวนมาก คลอง บางสาย เชน่ คลองประเวศบุรรี มย์ คลองสา้ โรง คลองด่าน ถูกขุดขึ้นต้ังแต่สมัยอยุธยา ปัจจุบันพ้ืนท่ีการเกษตร ในจังหวัดสมุทรปราการได้รับน้าต้นทุนจากคลองสายต่าง ๆ ซึ่งได้รับปริมาณน้าจากแหล่งน้าในจังหวัดพ้ืนท่ี ตอนบนอีกทอดหนึ่ง ท้าให้ในฤดูแล้งประสบปัญหาขาดแคลนน้า โดยไม่สามารถก้าหนดปริมาณน้าได้ตาม ระยะเวลาท่ตี ้องการ ตารางท่ี 1.18 แสดงข้อมูลรายชื่อคลองสายต่าง ๆ ในเขตจงั หวดั ฝัง่ ตะวันออก จ้าแนกตามความรับผดิ ชอบ ลา้ ดับ ชือ่ คลอง ประเภท ความยาว ขนาดคลอง ความลึก ปริมาณน้า หน่วย คลอง (กม.) ทอ้ งคลอง ตลง่ิ กวา้ ง เฉล่ยี (ม.) เกบ็ กกั สูงสุด งาน 1 คลองดา่ น 9.000 เฉลีย่ (ม.) เฉล่ยี (ม.) 2 บางปลา ชป. 10.850 3.50 (ลบ.ม.) ชป. 3 เจริญราษฎร์ ชป. 10.480 25 60 3.20 ชป. 4 ชายทะเล ชป. 30.000 16 40 3.00 1,338,750 ชป. 5 จระเข้ใหญ่ ชป. 17.145 12 30 3.20 972,160 ชป. 6 ลาดบัว - บางพลี ชป. 14.550 15 40 3.00 660,240 ชป. 7 เสาธง - เพชรพิชยั ชป. 16.000 16 40 3.00 2,640,000 ชป. ชป. 8 30 3.00 1,440,180 ชป. 12 30 829,350 1,008,000

แผนพัฒนาจงั หวัดจงั หวดั สมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 39 ตารางท่ี 1.18 (ต่อ) ประเภท ความยาว ขนาดคลอง ความลกึ ปริมาณนา้ หน่วย คลอง (กม.) ทอ้ งคลอง ตลง่ิ กวา้ ง เฉลย่ี (ม.) เกบ็ กักสงู สุด งาน ล้าดับ ช่อื คลอง 38.150 เฉลยี่ (ม.) เฉล่ยี (ม.) ชป. 13.100 3.20 (ลบ.ม.) ชป. 8 สา้ โรง ชป. 6.000 16 45 3.00 ชป. 9 บางโฉลง ชป. 11.000 16 40 3.00 3,723,440 ชป. 10 กันยา ชป. 6.500 4 25 3.00 1,100,400 ชป. 11 ประเวศบรุ ีรมย์ ชป. 5.000 16 40 3.00 261,000 ชป. 12 บ้านระกาศ ชป. 7.000 12 30 3.00 924,000 ชป. 13 ชวดพรา้ ว ชป. 14.500 12 30 3.00 409,500 ชป. 14 เปรง็ ชป. 11.760 12 30 3.50 315,000 ชป. 15 พระองคไ์ ชยานชุ ิต ธรรมชาติ 8.220 25 50 2.50 441,000 อปท. 16 บางคล่ี ธรรมชาติ 4.670 4 25 2.50 1,903,125 อปท. 17 ป้นั หยา - บางเพรยี ง ธรรมชาติ 12.580 4 25 2.50 426,300 อปท. 18 โก่งประทุน ธรรมชาติ 2.500 4 20 2.50 297,975 อปท. 19 บางปลารา้ ธรรมชาติ 4.615 4 20 2.50 140,100 อปท. 20 บางปู ธรรมชาติ 10.430 4 20 2.50 377,400 อปท. 21 มหาชื้น ธรรมชาติ 3.230 4 20 2.50 75,000 อปท. 22 ลาดหวาย ธรรมชาติ 4.300 6 25 2.50 138,450 อปท. 23 สกดั ยส่ี ิบห้า ธรรมชาติ 6.190 4 15 2.50 404,163 อปท. 24 สกดั หา้ สบิ ธรรมชาติ 1.100 4 15 2.50 76,713 อปท. 25 หัวเกลือ ธรรมชาติ 4.450 4 20 3.20 102,125 อปท. 26 อ้อมคลองดา่ น ธรรมชาติ 11.300 20 50 2.50 185,700 อปท. 27 หกสว่ น ธรรมชาติ 3.100 4 18 2.50 123,200 อปท. 28 ทบั นาง - ต้าหรุ ธรรมชาติ 2.800 4 18 2.50 122,375 อปท. 29 ควาย ธรรมชาติ 6.000 6 25 2.50 310,750 อปท. 30 หนองคา ธรรมชาติ 6.000 4 18 2.50 120,125 อปท. 31 หน่งึ บางปลา ธรรมชาติ 6.000 4 18 2.50 77,000 อปท. 32 สองบางปลา ธรรมชาติ 9.500 4 18 2.50 165,000 อปท. 33 สามบางปลา ธรรมชาติ 9.500 4 18 2.50 165,000 อปท. 34 สบ่ี างปลา ธรรมชาติ 9.500 5 20 2.50 165,000 อปท. 35 ห้าบางปลา ธรรมชาติ 8.500 5 20 2.50 296,875 อปท. 36 หกบางปลา ธรรมชาติ 7.800 4 15 2.50 296,875 อปท. 37 เจ็ดบางปลา ธรรมชาติ 7.500 4 20 2.50 225,625 อปท. 38 แปดบางปลา ธรรมชาติ 11.200 4 15 2.50 255,000 อปท. 39 เกา้ บางปลา ธรรมชาติ 5.150 5 20 2.50 185,250 อปท. 40 บางน้าจดื ธรรมชาติ 7.240 12 30 2.50 234,375 อปท. 41 มอญ (จรเขน้ อ้ ย) ธรรมชาติ 6.800 5 25 2.50 588,000 อปท. 42 กาหลง ธรรมชาติ 2.280 5 20 2.50 193,125 อปท. 43 ชวดงเู หา่ ธรรมชาติ 1.600 4 20 2.50 226,250 อปท. 44 ชวดบวั ธรรมชาติ 5.420 4 20 2.50 204,000 อปท. 45 ชวดใหญ่ ธรรมชาติ 5 25 2.50 68,400 อปท. 46 ตาปู 4 20 60,000 162,600

แผนพฒั นาจังหวัดจงั หวัดสมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) | 42 1) พันธุไ์ มแ้ ละลักษณะโครงสร้างปา่ ชายเลน พันธ์ุไม้เด่นในป่าชายเลนพื้นท่ีจังหวัดสมุทรปราการ มีจ้านวน 2 วงศ์ 2 สกุล และ 4 ชนิด คือ แสมทะเล, แสมขาว, แสมดา้ และโกงกางใบเล็ก ความหนาแน่นเฉล่ียรวมของต้นไม้ต่อพื้นที่เท่ากับ 225.26 ต้น/ไร่ มีขนาดเส้นผา่ ศนู ยก์ ลางเฉลย่ี และความสูงเฉล่ีย เท่ากับ 11.12 เซนติเมตร และ 7.36 เมตร ตามล้าดับ ค่าดัชนีความหลากหลายทางชนิดพันธ์ุ (Shannon-Wiener diversity index) มีค่าเท่ากับ 0.1688 ค่าความชุกชุม ทางชนิดพันธุ์ (Margalef’s index) เท่ากับ 1.0996 และค่าความสม่้าเสมอทางชนิดพันธ์ุ (Pielou’s evenness) เท่ากับ 0.2803 พันธ์ุไม้ที่มีค่าดัชนีความส้าคัญ (Important Value Index) สูงท่ีสุด คือ แสมขาว มีค่าเท่ากับ 182.56 รองลงมา คอื แสมทะเล เทา่ กับ 61.72 2) สตั ว์ท่พี บในป่าชายเลน สตั วท์ ีพ่ บในปา่ ชายเลนจังหวัดสมุทรปราการ ประกอบไปดว้ ย 2.1) กลมุ่ ของประชาคมสิ่งมีชีวติ พื้นปา่ ชายเลน (Mangrove Benthic Organism) หรือสัตว์ หน้าดินพื้นป่าชายเลน ในจังหวัด O พบมีค่าความหนาแน่น เท่ากับ 70.00 ตัว/ตารางเมตร มีค่าดัชนีความ หลากหลาย (H/) เท่ากบั 0.37 และมคี ่าความสมา่้ เสมอ (J/) เท่ากับ 0.24 สัตว์ที่พบได้แก่ หอยเรดเชลล์ ปูแสม ปูกา้ มดาบ และไสเ้ ดอื นทะเล 2.2) กลุ่มของนกในป่าชายเลน ในจังหวัดสมุทรปราการ พบจ้านวน 16 ชนิด 15 สกุล 8 วงศ์ และ 4 อนั ดับ ตัวอยา่ งนกทพ่ี บไดแ้ ก่ นกตนี เทียน นกหัวโตเลก็ ขาเหลือง นกกินเปี้ยว เป็นต้น 2.3) กลุ่มของแมลง พบจ้านวน 6 อันดับ 10 วงศ์ และ 13 ชนิดได้แก่ แมลงค่อมทอง, มวนหลงั แข็ง, ตอ่ , ผีเสือ้ เณรธรรมดา เปน็ ตน้ โดยไมส่ ามารถจ้าแนกวงศ์ได้ 1 ชนิด ได้แก่ ผเี สื้อกลางวนั ฯลฯ 3) การใชป้ ระโยชน์ทีด่ ินในพืนที่ปา่ ชายเลน การเปล่ียนแปลงพื้นท่ีป่าชายเลนในจังหวัดสมุทรปราการ เกิดจากการใช้ประโยชน์ที่ดินใน พืน้ ท่ี ป่าชายเลนเพอื่ กิจกรรมอื่น ๆ เช่น การเกษตร นาเกลือ นากุ้ง ท่าเทียบเรือ เป็นต้น จากโครงการจ้าแนก เขตการใช้ประโยชน์ท่ีดินป่าชายเลน พ.ศ. 2552 ได้จ้าแนกเขตการใช้ประโยชน์พ้ืนที่ป่าชายเลนออกเป็นพ้ืนที่ ต่าง ๆ แยกตามเขตการปกครองระดบั อ้าเภอ ดงั ตารางท่ี 1.19 ตารางที่ 1.19 การจ้าแนกเขตการใชป้ ระโยชนท์ ี่ดนิ ในพนื ท่ีป่าชายเลน ตามเขตอา้ เภอ อา้ เภอ ปา่ ชายเลน (ไร)่ นากุ้ง (ไร่) พืนทเ่ี กษตร (ไร่) อืน่ ๆ (ไร)่ รวม (ไร)่ 27.01 พระประแดง - - 4.31 22.70 67,561.94 6,450.01 พระสมทุ รเจดีย์ 8,884.81 43,066.84 5,010.06 10,600.23 19,460.43 93,499.40 เมอื งฯ 1,003.72 358.29 2,339.12 2,748.88 บางบ่อ 2,635.64 - 1,244.56 15,580.23 รวม 12,524.17 43,425.12 8,598.05 28,952.06 แหลง่ ทีม่ า: กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่ัง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita