ใบงานที่ 2.9 ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา

แบบทดสอบ / ใบงาน

พฤษภาคม 13, 2011 โดย saipinn

ใบงาน

ใบงานครั้งที่ 1-2 ความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์

ใบงานที่ 3 พัฒนาการทางประวัติศาสตร์สมัยอยุธยา

ใบงานที่ 4 เรื่อง จตุสดมภ์และวิเคราะห์เหตุการณ์สำคัญสมัยอยุธยา

แบบทดสอบ

แบบทดสอบครั้งที่ 1 เรื่อง ความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์

แบบทดสอบครั้งที่ 2 เรื่อง พัฒนาการทางประวัติศาสตร์สมัยอยุธยาและธนบุรี

แบบทดสอบครั้งที่ 3 เรื่อง  ภูมิปัญญาและบุคคลสำคัญสมัยอยุธยาและธนบุรี 

Advertisement

เขียนใน Uncategorized | 1 Comment »

  • KRUSAIPIN WONGSARAT

  • ครูชำนาญการพิเศษ

    ธันวาคม 2022

    จ.อ.พ.พฤ.ศ.ส.อา.
      1 2 3 4
    5 6 7 8 9 10 11
    12 13 14 15 16 17 18
    19 20 21 22 23 24 25
    26 27 28 29 30 31  
    « พ.ค.    

  • Blogroll

    • การจัดการเรียนรู้
  • Blog Stats

    • 108,450 hits

                    ความหมาย 

คำว่า “วัฒนธรรม” มาจากคำสองคำ คำว่า “วัฒน” จากคำศัพท์ วฑฺฒน” ในภาษาบาลี หมายถึงความเจริญ ส่วนคำว่า “ธรรม” มาจากคำศัพท์ “ธรฺม” ในภาษาสันสกฤต หมายถึงความดี เมื่อนำสองคำมารวมกันจึงได้คำว่า “วัฒนธรรม” หมายถึงความดีอันจะก่อให้เกิดความงอกงามที่เป็นระเบียบเรียบร้อย

วัฒนธรรม    หมายถึง ( น. ) สิ่งที่นำความเจริญงอกงามให้แก่หมู่คณะ เช่นวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมในการแต่งกาย, วิถีชีวิตของหมู่คณะเช่น วัฒนธรรมพื้นบ้านวัฒนธรรมชาวเขา

วัฒนธรรม  หมายถึง  สิ่งที่มนุษย์ในแต่ละสังคมได้สร้างสรรค์ขึ้นมา  เพื่ออำนวย

ความสะดวกในการดำเนินชีวิต  หรือสนองความต้องการของสังคมและได้ถ่ายทอดให้คนรุ่นหลังได้เรียนรู้ปฏิบัติสืบต่อกันไป  โดยได้รับการยอมรับจากคนส่วนใหญ่ในสังคม

วัฒนธรรม คือ ลักษณะที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความ

กลมเกลียวก้าวหน้าของชาติ และศีลธรรมอันดีของประชาชน

ภูมิปัญญา  หมายถึง  [พูม–] น. พื้นความรู้ความสามารถ.

ภูมิปัญญา ตรงกับศัพท์ภาษาอังกฤษว่า Wisdom หมายถึง ความรู้ ความสามารถ ทักษะความเชื่อ และศักยภาพในการแก้ปัญหาของมนุษย์ที่สืบทอดกันมาจากอดีตถึงปัจจุบันอย่างไม่ขาดสายและเชื่อมโยงกันทั้งระบบทุกสาขา

ภูมิปัญญา  หมายถึง  ความรู้  ทักษะ  ความเชื่อ  และพฤติกรรมของคนไทย  โดยแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน  คนกับธรรมชาติ  การปรับตัวเพื่อความอยู่รอดของบุคคล  ชุมชนและสังคม  ตลอดจนพื้นฐานความรู้เรื่องต่าง  ๆ  ที่มีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง 
              ภูมิปัญญาไทย หมายถึง ความรู้ ความสามารถ ทักษะและเทคนิคการตัดสินใจ ผลิตผลงานของบุคคล อันเกิดจากการสะสมองค์ความรู้ทุกด้านที่ผ่านกระบวนการสืบทอด พัฒนาปรับปรุง และเลือกสรรมาแล้วเป็นอย่างดีสามารถแก้ไขปัญหา และพัฒนาวิถีชีวิตของคนไทยได้อย่างเหมาะสมกับยุคสมัย

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา

1.  สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์และสิ่งแวดล้อม

      กรุงศรีอยุธยาตั้งอยู่บริเวณที่ราบลุ่ม  มีมีน้ำไหลผ่าน  3  สาย  คือ  แม่น้ำเจ้าพระยา  แม่น้ำป่าสัก

 และแม่น้ำลพบุรี  มีฝนตกเสมอ  ทำให้เหมาะแก่การเพาะ  การค้าขาย  และการดำเนินชีวิตของชาวอยุธยา

จึงส่งเสริมให้มีการคิดค้นภูมิปัญญาต่าง ๆ  ขึ้นมา  เช่น  บ้านเรือนที่มีใต้ถุนสูง  หลังคาทรงแหลม  บริโภคอาหารด้วยมือ  ผลิตภัณฑ์จากป่าไม้  พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ  เป็นต้น

2. ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม

อยุธยาปกครองแบบสังคมศักดินา  ประกอบด้วยชนชั้นมูลนาย  และชนชั้นไพร่  มีการนับถือ

พระพุทธศาสนารวมทั้งศาสนาพราหมณ์-ฮินดู  มีการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาเกี่ยวกับการควบคุมกำลังคนให้เป็นระเบียบเพื่อควบคุมพฤติกรรมของคนในสังคมให้อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข  โดยใช้กุศโลบายทางศาสนาเป็นเครื่องมืออบรมสั่งสอนผู้คน

3.  การรับอิทธิพลจากภายนอก

การที่อยุธยาติดต่อค้าขายกับชาวต่างชาติ  จึงมีโอกาสได้เรียนรู้ภูมิปัญญาของชนชาติเหล่านั้น

และนำมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์กับคนในสมัยนั้น เช่น  อารยธรรมอินเดีย  อยุธยาได้นำรูปแบบ

การปกครองแบบเทวราชา  ที่เชื่อว่าพระมหากษัตริย์คือเทพเจ้าจุติลงมาปกครองประชาชน  โดยอยุธยารับมาจากเขมรซึ่งรับมาจากอินเดีย  อารยธรรมจีน  มีการติดต่อค้าขายในลักษณะของการส่งเครื่องราชบรรณาการหรือ จิ้มก้อง

ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยในการสร้างรูปแบบการปกครองให้เหมาะสม

การปกครองจะต้องมีกษัตริย์เป็นผู้มีอำนาจสูงสุดในการปกครองบ้านเมือง  ตามความเชื่อในศาสนาพราหมณ์  –  ฮินดู  มาจากเขมรซึ่งเขมรรับต่อมาจากอินเดียโดยไทยเรียกเป็นสมมติเทพ  มีการวางระเบียบกฎเกณฑ์    ต่าง ๆ  เกี่ยวกับความสำคัญของพระมหากษัตริย์  เช่น  จัดให้มีที่ประทับสูงกว่าคนอื่น ๆ

มีการสร้างพระราชวังและภายในพระราชวังจะต้องมีกฎเกณฑ์และพิธีกรรมต่าง ๆ  ที่แสดงว่าพระองค์

เป็นสมมติเทพ  โดยมีพราหมณ์เป็นผู้ประกอบพระราชพิธีถวาย  มีการใช้คำราชาศัพท์  มีกฎมณเฑียรบาล

มีเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ์  แสดงถึงฐานะความเป็นกษัตริย์  มีพระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา

จัดขึ้นเพื่อให้เกิดความมั่นคงแก่สถาบันกษัตริย์  นอกจากนี้พระมหากษัตริย์จะต้องทรงไว้ซึ่งทศพิธราชธรรม

กฎเกณฑ์ต่าง ๆ  ได้กลายเป็นประเพณีสังคมไทยที่คนไทยต้องปฏิบัติต่อพระมหากษัตริย์

ด้วยความเคารพ  พระมหากษัตริย์ของไทยจึงเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนไทยและทรงเป็นประมุขของอาณาจักรไทยตลอดมา  การสร้างประเพณีการปกครองของคนไทยสมัยอยุธยา  จึงเป็นภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยที่มีคุณค่าต่อสังคมไทยและสถาบันกษัตริย์ได้กลายเป็นสถาบันหลักที่สำคัญของชาติใน

ระยะต่อมาจนถึงปัจจุบัน

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita