สหภาพยุโรป (EU) มีบทบาทสำคัญอย่างไร

����ѵ���ʵ��  ������ʵ�� �ؤ���Ӥѭ �������з�ջ >>

���û

  • ��Ҿ��� ���Ҿ���û�繡��������ȷ���պ��ҷ�Ӥѭ���㹡�����ҧ�������з�ȷҧ������ͧ ������蹤����ɰ�Ԩ����ѧ���дѺ�š
  • 㹴�ҹ���ɰ�Ԩ ���Ҿ���û�� 1 � 3 �ٹ���ҧ���ɰ�Ԩ�š �繓Economic Heavyweight� ����� GDP �˭����ش��š �繵�Ҵ�Թ�����к�ԡ�� ��Ҵ����Թ ������觷���Ңͧ���ŧ�ع����Ӥѭ����ش ����繼��������������������ҧ����ȷ���˭����ش �������պ���ѷ�����ҵ��дѺ�š�繨ӹǹ�ҡ����ش
  • ��ѧ�ҧ���ɰ�Ԩ�ͧ���Ҿ���û������������٧��� �ѹ�繼��Ҩҡ��â�����Ҫԡ�Ҿ���ҧ������ͧ ��þѲ��㹡�ͺ���Ҿ���ɰ�Ԩ��С���Թ ��þѲ�ҹ�º������㹴�ҹ��ҧ� ��С�û���ٻ�ç���ҧʶҺѹ��С�ú�����

��������

  • �.�. 1952 : �Ѵ��駻�ЪҤ���ҹ�Թ������硡���������û (European Coal and Steel Community � ECSC) ����Ҫԡ 6 ����� ���� ������� ������� �Ե��� ������Ź�� ������� ��� �ѡ������
  • �.�. 1958 : �Ѵ��駻�ЪҤ���ѧ�ҹ���ҳ� (European Atomic Energy Community � EURATOM) ��л�ЪҤ����ɰ�Ԩ���û (European Economic Community � EEC)
  • �.�. 1967 : ������ͧ����������ǡѹ������ͺ EEC
  • �.�. 1968 : EEC ��Ѳ�������Ҿ��šҡ� (Custom Union) ��С���������� ��Ҵ���� (Common Market)
  • �.�. 1973 : ���Ҫ�ҳҨѡ� ഹ���� ��������Ź���������Ҫԡ
  • �.�. 1981 : ��ի�������Ҫԡ
  • �.�. 1986 : �໹����õ����������Ҫԡ
  • �.�. 1987 : �͡ Single European Act ���;Ѳ�� EEC ����繵�Ҵ�������͵�Ҵ���� ��ѹ��� 1 ���Ҥ� 1993 ������¡����������� ��ЪҤ����û (European Community � EC)
  • �.�. 1992 : ŧ����ʹ���ѭ�ҡ�͵�����Ҿ���û (Treaty of the European Union) �����ա����˹����� ʹ���ѭ����ʷ�ԡ�� (Maastricht Treaty) ���¡����������� ���Ҿ���û (European Union � EU) �������ѡ 3 ��С�� ��� (1) ��ЪҤ����û (2) ��º��������ҹ��õ�ҧ�������Ф�����蹤� ��� (3) ����������ʹ�ҹ�Ԩ����صԸ�����СԨ�������
  • �.�. 1995 : ������� �Թ�Ź�� ������ഹ�������Ҫԡ
  • �.�. 1997 : ŧ����ʹ���ѭ������������ (Treaty of Amsterdam) ���������� ʹ���ѭ����ʷ�ԡ�� ����ͧ��º��������ҹ��õ�ҧ�������Ф�����蹤� �����繾����ͧ�ͧ���Ҿ���û ��С�û���ٻ��䡴�ҹʶҺѹ�ͧ���Ҿ���û
  • �.�. 2001 : ŧ����ʹ���ѭ�ҹի (Treaty of Nice) �鹡�û���ٻ��ҹʶҺѹ��С�䡵�ҧ � �ͧ���Ҿ���û �����ͧ�Ѻ��â�����Ҫԡ�Ҿ
  • 1 ��Ȩԡ�¹ �.�. 2004 : �Ѻ��Ҫԡ�����ա 10 ����� ���� 䫻��� �� ������� �ѧ���� �ѵ���� �Է����� ��ŵ� ��Ź�� �������� �����������
  • 29 ���Ҥ� �.�. 2004 : �������Ҫԡ EU 25 ����� ŧ���㹸����٭���û ������»���Ȩ��ա��ŧ��Ъ�����Ѻ�ͧ�����٭� ���㹻� �.�. 2006

ʶҹ���Ф����Ӥѭ�ͧ���Ҿ���û
ʶҺѹ��ѡ�ͧ���Ҿ���û
������û (European Parliament)
�����٭���û
��â�����Ҫԡ�Ҿ�ͧ���Ҿ���û�͹Ҥ�

หน้านี้แสดงข้อมูลโดยสังเขปเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสหภาพยุโรป (EU) และประเทศไทยในด้านต่าง ๆ เช่น ความสัมพันธ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ และการค้า ความร่วมมือทางการเงิน และความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม

บนหน้านี้

ความสัมพันธ์ทางการเมือง

หลังจากการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562   คณะรัฐมนตรีซึ่งมาจากรัฐบาลผสมหลายพรรคได้สาบานตนเข้ารับตำแหน่งในวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2562  

เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2562  สภาการต่างประเทศของสหภาพยุโรปมีมติร่วมกันว่าถึงเวลาเหมาะสมแล้วที่จะกระชับความสัมพันธ์กับประเทศไทยในมิติต่างๆ  เช่น ด้านสิทธิมนุษยชน เสรีภาพขั้นพื้นฐาน และพหุนิยมประชาธิปไตย

นับแต่นั้นมา ทั้งสองฝ่ายจึงได้รื้อฟื้นการเจรจาเพื่อเตรียมความพร้อมที่จะลงนามในข้อตกลงว่าด้วยความเป็นหุ้นส่วนและความร่วมมือ (PCA) ซึ่งจะสร้างกรอบการทำงานที่ครอบคลุม และช่วยส่งเสริมความร่วมมือระหว่างสหภาพยุโรปและประเทศไทยให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น

ความสัมพันธ์ทางการค้าและเศรษฐกิจ

ความสัมพันธ์ทางการค้า

การค้าระหว่างสหภาพยุโรป และประเทศไทยมีมูลค่า 29.1 พันล้านยูโร ในพ.ศ. 2563 (หรือประมาณ 1.09 ล้านล้านบาท) ทำให้ EU เป็นคู่ค้าที่ใหญ่อันดับสี่ของประเทศไทย

สหภาพยุโรปเป็นตลาดส่งออกที่ใหญ่เป็นอันดับสี่ของประเทศไทย ในพ.ศ. 2563 การส่งออกจากประเทศไทยไปยังสหภาพยุโรป มีมูลค่ารวม 17.7 พันล้านยูโร (ประมาณ 665 พันล้านบาท)

สหภาพยุโรป คือผู้นำเข้ารายใหญ่ที่สุดอันดับสามของประเทศไทย ในพ.ศ. 2563 การนำเข้าจากสหภาพยุโรปสู่ประเทศไทยมีมูลค่ารวมประมาณ 11.4 พันล้านยูโร (ประมาณ 429 พันล้านบาท)

สินค้าที่ถูกนำเข้าจากประเทศไทยไปยังสหภาพยุโรป มากที่สุดสามอันดับแรก ใน พ.ศ. 2563 ได้แก่

เครื่องจักร อิเล็กทรอนิกส์ และอุปกรณ์ขนส่ง  (57.8 % ของการนำเข้าทั้งหมด)

  • ผลิตภัณฑ์เบ็ดเตล็ด (25.8 %) และ
  • อาหาร (8.7 %)
  • สินค้าที่ถูกส่งออกจากสหภาพยุโรปมายังประเทศไทยมากที่สุดสามอันดับแรก ได้แก่
  • เครื่องจักรและอุปกรณ์ขนส่ง (43%)
  • สินค้าอุตสาหกรรม (21.8%) และ
  • ผลิตภัณฑ์เคมีและที่เกี่ยวข้อง (20.8%)

สหภาพยุโรปเป็นผู้ลงทุนจากต่างประเทศรายใหญ่ที่สุดป็นอันดับสาม (10.3% ของหุ้น FDI) และเป็นจุดหมายปลายทางที่ใหญ่เป็นอันดับสามของการลงทุนจากประเทศไทยเช่นเดียวกัน (11% ของการลงทุนขาออก)

ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ

เพื่อที่จะส่งเสริมความสัมพันธ์ทางการค้าและการลงทุนให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น สหภาพยุโรปและประเทศไทยได้เปิดการเจรจาข้อตกลงการค้าเสรี (FTA) ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2556 โดยทั้งสองฝ่ายต้องการข้อตกลงที่ครอบคลุมในหัวข้อต่าง ๆ เช่น

  • ภาษีการค้าและมาตรการอื่นนอกเหนือจากภาษีการค้า
  • การบริการ
  • การลงทุน
  • การจัดซื้อสาธารณะ
  • ทรัพย์สินทางปัญญา
  • การปฏิรูปกฎระเบียบและข้อบังคับในการดำเนินธุรกิจ และ
  • การพัฒนาอย่างยั่งยืน

การเจรจาได้ถูกระงับในเดือนเมษายน พ.ศ. 2557    และหลังจากที่สภาการต่างประเทศของสหภาพยุโรปได้ลงมติให้รื้อฟื้นความสัมพันธ์กับประเทศไทยเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2562   ทั้งสองฝ่ายจึง ได้ดำเนินการเพื่อเตรียมความพร้อมที่จะเริ่มการเจรจาใหม่  บนพื้นฐานของความเข้าใจร่วมกันว่า  FTA ฉบับใหม่นี่จะมีเป้าหมายที่สูงส่งและครอบคลุม

ฝ่ายความร่วมมือระหว่างประเทศ

ฝ่ายความร่วมมือระหว่างประเทศของสหภาพยุโรปในประเทศไทยมีหน้าที่หลักในการเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างสหภาพและประเทศไทยในด้านของนโยบายความร่วมมือและการพัฒนาที่ยั่งยืน และเรามุ่งที่จะพัฒนาความร่วมมือภายใต้กรอบนโยบายของกระทรวงการต่างประเทศของสหภาพยุโรปใน 5 ด้านหลักด้วยกัน ได้แก่ ด้านการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมและการปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรมและการเข้าสู่โลกดิจิทัล ด้านการสร้างงานและการเติบโตอย่างยั่งยืน ด้านการย้ายถิ่นฐานและแก้ไขปัญหาการอพยพ ด้านการปกครอง สันติภาพ ความมั่นคง และพัฒนาการด้านมนุษย์  

ฝ่ายของเรามีเป้าหมายหลักในการช่วยรับมือกับปัญหาด้านความเหลื่อมล้ำ โดยการเพิ่มความสามารถในการเข้าถึงโอกาสกับทุกคน สร้างสังคมที่ยั่งยืน ส่งเสริมประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน และหลักกฎหมาย  

เราสนับสนุนประเทศไทยในการดำเนินงานตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน และเราได้มีการปรับโครงการของเราให้ตอบสนองความต้องการของประเทศไทย ภายใต้หลักของความร่วมมือแบบพยุภาคี โดยเฉพาะตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติและความตกลงปารีสด้านสภาพภูมิอากาศ โดยในปัจจุบันเราได้ร่วมมือกับหลายฝ่ายในประเทศไทยไม่ว่าจะเป็นรัฐบาลไทย สถาบันวิจัย สหประชาชาติ ภาคประชาสังคมและหน่วยงานเอกชนที่มีเป้าหมายเดียวกัน 

สิ่งที่เราเน้นย้ำเป็นพิเศษคือการเสริมสร้างความเท่าเทียมทางเพศ เสริมสร้างพลังของสตรีและเยาวชน โดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง โครงการของสหภาพยุโรปในประเทศไทยมีอยู่ทั่วประเทศรวมถึงจังหวัดในชายแดนภาคใต้ และในช่วงการระบาดของไวรัสโควิด 19 เรามีโครงการเพื่อยกระดับการรับมือและการฟื้นฟูสังคมหลังการระบาดโดยมุ่งไปที่การให้ความช่วยเหลือแก่กลุ่มเปราะบางในสังคม  

ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม

สหภาพยุโรปมีสำนักงานในกรุงเทพฯ ซึ่งทำหน้าที่สนับสนุนโครงการด้านมนุษยธรรมของสหภาพยุโรป ทั้งหมดในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก

การปฏิบัติงานด้านมนุษยธรรมของสหภาพยุโรปในประเทศไทยเริ่มขึ้นในพ.ศ. 2538 และได้ดำเนินการรับมือกับวิกฤตการณ์ต่าง ๆ มากมายทั้งที่เกิดจากธรรมชาติและเกิดจากกระทำของมนุษย์ ทุนสนับสนุนสำหรับกิจกรรมในด้านนี้มีมูลค่าทั้งหมดเกือบ 120 ล้านยูโร

ในขณะที่ความช่วยเหลือส่วนมากในด้านนี้ นำไปสู่การให้ความช่วยเหลือผู้อพยพชาวพม่าที่อาศัยอยู่ในค่ายผู้ลี้ภัยต่าง ๆ ตามแนวชายแดนของประเทศไทยในช่วงเวลาที่ผ่านมา ในปัจจุบัน  เรามุ่งที่จะให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมกับผู้ที่อพยพและผู้หนีภัยสู้รบเข้ามาในประเทศไทย เพื่อตอบสนองต่อจำนวนผู้ต้องการหนีภัยมายังประเทศไทยที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงสองสามปีที่ผ่านมา โครงการความช่วยเหลือในปัจจุบันได้แก่ การให้ความคุ้มครองและความช่วยเหลือด้านสุขอนามัยแก่ผู้อพยพชาวโรฮีนจาที่อาศัยอยู่ในศูนย์พักพิงทั่วประเทศ และเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์โควิด 19 เราได้จัดเตรียมอุปกรณ์ในการป้องกันการระบาดให้แก่ผู้อพยพด้วย ในขณะเดียวกัน เราได้มีการจัดสัมมนาและโครงการที่จะช่วยยับยั้งการระบาดของโควิด 19 รวมถึงการสร้างความตระหนักรู้ถึงผลกระทบในแง่ลบของโควิด 19 ต่อชาวโรฮีนจาและผู้อพยพคนอื่น ๆ

เนื่องจากภาคใต้ของประเทศไทยเป็นพื้นที่ที่ต้องเผชิญกับความท้าทายในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านความขัดแย้งที่กินเวลายาวนาน การระบาดของโควิด 19 และภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นอย่างสม่ำเสมอ  สหภาพยุโรปจึงร่วมมือกับองค์กรพันธมิตรด้านมนุษยธรรมเพื่อให้ความช่วยเหลือแก่กลุ่มคนที่เปราะบางที่สุดในสังคมเพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือกับภัยพิบัติ และวิกฤติต่าง ๆ   เป้าหมายโดยรวมของเราคือการสนับสนุนให้ประเทศไทยเสริมสร้างขีดความสามารถที่จะเตรียมพร้อมรับมือและตอบสนองต่อภัยพิบัติทางธรรมชาติโดยคำนึงถึงการปกป้องเด็กและเยาวชนในช่วงวิกฤติ

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita