เฉลย ใบ งาน พ ว 31001

1. ใช ้ความรู้ และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เจตคติทางวิทยาสาสตร์ ทําโครงงานวิทยาศาสตร์ และนําผลไปใช้ ได้

2. อธิบายเกี่ยวกับการแบ่งเซลล์ พันธุกรรมและการถ่ายทอดทางพันธุกรรม การผ่าเหล่ า ความหลากหลายทางชีวภาพ เทคโนโลยีชีวภาพ การใช้ ประโยชน์ และผลกระทบที่เกิดจากการใช้ เทคโนโลยีชีวภาพต่อสังคม และสิ่งแวดล้อมได้

3. อธิบายเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดจากใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในระดับท้องถิ่น ประเทศและโลก ปรากฏการณ์ ทางธรณีวิทยาที่มีผลกระทบต่อชีวิต และสิ่งแวดล้อม วางแผนและ ปฏิบัติร วมกับชุมชนเพื่อป้องกันและแก้ ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

4. อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอม ตารางธาตุ สมการและปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจําวัน คาร์ โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน ปิโตเลียมและผลิตภัณฑ์ พอลิเมอร์ ปิโตรเลียม สารเคมีกับ ชีวิต การนําไปใช้ และผลกระทบต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมได้

5. อธิบายเกี่ยวกับแรงและความสัมพันธ์ ของแรงกับการเคลื่อนที่ในสนามโน้มถ่วง สนามแม่เหล็ก สนามไฟฟ า การเคลื่อนที่แบบต่างๆ และการนําไปใช้ ประโยชน์ ได้

6.อธิบายเกี่ยวกับสมัติ ประโยชน์ และมลภาวะจากเสียง ประโยชน์ และโทษของธาตุ กัมมันตรังสีต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมได้

7.ศึกษา ค้นคว้าและอธิบายเกี่ยวกับการใช้ เทคโนโลยีอวกาศในการศึกษาปรากฏการณ์ ต่างๆ บนโลกและในอวกาศ

Download

  • Publications : 0
  • Followers : 0

ใบงาน-วิทยาศาสตร์-พว31001 กศน.ตำบลหนองตากยา

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

  • Follow

  • Upload

  • 0

  • Embed

  • Share

เอกสารสรุปเน้อื หาที่ตองรู รายวิชาวิทยาศาสตร ระดับ มธั ยมศึกษาตอนปลาย รหัส พว31001 หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สํานกั งานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สํานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ หามจาํ หนาย หนังสือเรียนนจ้ี ัดพิมพด วยเงนิ งบประมาณแผนดนิ เพื่อการศกึ ษาตลอดชีวติ สาํ หรับประชาชน ลขิ สทิ ธ์ิเปน ของ สาํ นกั งาน กศน. สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

สารบัญ หนา คาํ นาํ 1 คําแนะนาํ การใชเ อกสารสรปุ เนอ้ื หาท่ีตองรู 23 บทที่ 1 ทกั ษะทางวิทยาศาสตรและกระบวนการทางวิทยาศาสตร 40 บทท่ี 2 โครงงานวิทยาศาสตร 55 บทที่ 3 เซลล 80 บทที่ 4 พนั ธุกรรมและความหลากหลายทางชวี ภาพ 90 บทท่ี 5 เทคโนโลยีชีวภาพ 121 บทที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ ม 159 บทท่ี 7 ธาตุ สมบตั ขิ องธาตุและธาตุกัมมนั ตภาพรงั สี 172 บทท่ี 8 สมการเคมีและปฏิกิรยิ าเคมี 197 บทท่ี 9 โปรตนี คารโบไฮเดรต และไขมนั 222 บทท่ี 10 ปโตรเลียมและพอลิเมอร 235 บทท่ี 11 สารเคมีกับชวี ิตและสง่ิ แวดลอม 267 บทที่ 12 แรงและการเคลือ่ นท่ี 277 บทที่ 13 เทคโนโลยีอวกาศ 295 บทที่ 14 อาชีพชา งไฟฟา 309 เฉลยกจิ กรรมทายบท คณะผจู ดั ทํา

คําแนะนาํ การใชเอกสารสรปุ เนอ้ื หาทตี่ อ งรู เอกสารสรุปเนื้อหาที่ตองรูรายวิชาวิทยาศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เลมนี้ เปนการสรุปเนื้อหาจากหนังสือเรียนสาระความรูพ้ืนฐานรายวิชาวิทยาศาสตร ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2557) เพ่ือใหนักศึกษา กศน. ทําความเขาใจและเรียนรู ในสาระสําคญั ของเนอื้ หารายวิชาสาํ คญั ๆ ไดส ะดวกและสามารถเขาถงึ แกนของเนื้อหาไดด ีข้นึ ในการศกึ ษาหนงั สือสรุปเน้ือหารายวชิ าวทิ ยาศาสตร ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (พว31001) เลม น้ี ผูเรียนควรปฏบิ ัติ ดงั น้ี 1. ศึกษาโครงสรางรายวชิ าวิทยาศาสตร ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย จากหนังสือเรียน สาระความรพู ืน้ ฐาน รายวชิ าวิทยาศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (พว31001) หลักสูตร การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2557) ใหเขา ใจกอน 2. ศกึ ษารายละเอยี ดเน้อื หาของหนงั สอื สรุปเน้อื หารายวชิ าวิทยาศาสตร ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (พว31001) ใหเ ขาใจอยา งชดั เจน ทลี ะบท จนครบ 14 บท 3. หากตองการศึกษารายละเอียดเน้ือหารายวิชาวิทยาศาสตร ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย (พว31001) เพ่ิมเติม นักศึกษา กศน. สามารถศึกษาหาความรูเพิ่มเติมจากตํารา หนังสอื เรียนทม่ี ีอยตู ามหอ งสมดุ รานหนงั สอื เรียน คลปิ วดิ โี อหรือจากครผู สู อน

1 บทที่ 1 ทกั ษะทางวิทยาศาสตรแ ละกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร สาระสําคญั วิทยาศาสตรเปนเรื่องของการเรียนรูเก่ียวกับธรรมชาติ โดยมนุษยใชทักษะตาง ๆ สาํ รวจและตรวจสอบ ทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณทางธรรมชาติ และนําผลที่ไดมาจัดใหเปน ระบบ และต้ังขึ้นเปนทฤษฎี ซึ่งทักษะทางวิทยาศาสตร ประกอบดวยกัน 13 ทักษะในการ ดาํ เนนิ การหาคําตอบเร่ืองใดเรอ่ื งหนง่ึ นอกจากจะตองใชทักษะทางวิทยาศาสตรแลว ในการหา คําตอบจะตองมกี ารกําหนดลําดบั ขนั้ ตอนอยา งเปน ระบบตงั้ แตตน จนจบเรยี กลาํ ดับขน้ั ตอน ในการหาคาํ ตอบเหลา นวี้ า กระบวนการทางวิทยาศาสตร ซ่ึงประกอบดวย 5 ขนั้ ตอน ผลการเรยี นรทู ีค่ าดหวัง เร่อื งท่ี 1 อธิบายธรรมชาติของวทิ ยาศาสตรและทกั ษะทางวทิ ยาศาสตร เร่อื งที่ 2 อธบิ ายขัน้ ตอนกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร เรอ่ื งท่ี 3 อธบิ ายและบอกวธิ ีการใชวสั ดุและอุปกรณทางวทิ ยาศาสตร ขอบขายเนื้อหา เรอื่ งที่ 1 ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและทักษะทางวิทยาศาสตร เรื่องท่ี 2 กระบวนการทางวิทยาศาสตร เรื่องท่ี 3 วัสดุ และ อุปกรณทางวิทยาศาสตร

2 บทที่ 1 ทักษะทางวทิ ยาศาสตรและกระบวนการทางวิทยาศาสตร วทิ ยาศาสตรม คี วามสําคัญอยางไร วิทยาศาสตรเปนเรื่องของการเรียนรูเกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมนุษยใชกระบวนการ สังเกต สํารวจตรวจสอบ ทดลองเกยี่ วกับปรากฏการณทางธรรมชาติและนําผลมาจัดเปนระบบ หลกั การแนวคิดและทฤษฎี ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ประกอบดวยทักษะในเรือ่ งใดบา ง 1. ทกั ษะการสังเกต หมายถึง การใชป ระสาทสัมผัสท้งั 5 ในการสงั เกต 2. ทักษะการวัด หมายถึง การเลือกใชเครื่องมือวัดปริมาณของส่ิงของออกมาเปน ตวั เลขที่แนน อนไดอ ยา งเหมาะสมและถกู ตอง 3. ทักษะการจาํ แนกประเภทหรือทกั ษะการจดั ประเภทส่ิงของ หมายถึง การแบงพวก หรอื การเรยี งลําดับวัตถุ 4. ทักษะการใชความสัมพันธระหวางสเปสกับเวลา หมายถึง การหาความสัมพันธ ระหวา งมติ ิตา ง ๆ ทีเ่ ก่ยี วกบั สถานท่ี รูปทรง ทิศทาง ระยะทาง พ้นื ท่ี เวลา ฯลฯ 5. ทักษะการคํานวณและการใชจํานวน หมายถึง การนําเอาจํานวนที่ไดจากการวัด การสังเกต และการทดลอง มาจัดกระทําใหเกิดคาใหม เชน การบวก ลบ คูณ หาร และนําคา ที่ไดจ ากการคาํ นวณไปใชประโยชนใ นการแปลความหมาย และลงขอสรุป 6. ทักษะการจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล หมายถึง การนําเอาขอมูลซ่ึงไดมา จากการสงั เกต การทดลอง มาจัดทาํ ในรูปแบบใหม เชน จดั ทําเปน กราฟ ตาราง แผนภมู ิ ฯลฯ 7. ทักษะการลงความเห็นจากขอมูล หมายถึง การเพ่ิมเติมความคิดเห็นใหกับขอมูล ทีม่ ีอยู อยางมเี หตุผล โดยใชป ระสบการณเ ดมิ มาชว ย ซึ่งขอมลู อาจไดจ ากการสงั เกต การวดั การทดลอง ซงึ่ การลงความเห็นจากขอมูลเดียวกัน อาจลงความเหน็ ไดหลายอยาง

3 8. ทักษะการพยากรณ หมายถึง การคาดคะเนหาคําตอบลวงหนากอนการทดลอง โดยอาศัยขอมูลท่ีไดจากการสังเกต การวัด โดยศึกษาความสัมพันธระหวางตัวแปรที่ไดศึกษา มาแลว หรือจากประสบการณท ี่เกดิ ขึน้ 9. ทักษะการตั้งสมมติฐาน หมายถึง การคิดหาคาคําตอบลวงหนากอนการทดลอง โดยอาศยั การสงั เกต ความรู ประสบการณเ ดิมเปนพืน้ ฐาน 10. ทักษะการควบคุมตัวแปร หมายถึง การควบคุมส่ิงอ่ืน ๆ นอกเหนือจากตัวแปร อิสระท่ีจะทําใหผลการทดลองคลาดเคล่ือน ซึ่งตัวแปรแบงเปน 3 ประเภท คือ ตัวแปรอิสระ หรอื ตวั แปรตน ตวั แปรตาม และตัวแปรท่ตี องควบคุม 11. ทักษะการตีความหมายและลงขอสรุป ขอมูลทางวิทยาศาสตรสวนใหญจะอยูใน รูปตาราง รูปภาพ กราฟ ฯลฯ ซ่ึงการนาํ ขอ มลู ไปใชตองตีความใหสะดวกท่ีจะส่ือความหมายได ถกู ตอง และเขา ใจตรงกนั 12. ทักษะการกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ หมายถึง การกําหนดความหมายและ ขอบเขตของคาํ ตา ง ๆ ทม่ี อี ยูในสมมติฐานท่ีจะทดลองใหม ีความรดั กุม เปนที่เขาใจตรงกัน 13. ทักษะการทดลอง หมายถึง กระบวนการปฏิบัติการโดยใชทักษะตาง ๆ เชน การสังเกต การวัด ฯลฯ มาใชรวมกันเพื่อหาคําตอบ ซึ่งประกอบดวยกิจกรรม 3 ขั้นตอน คือ การออกแบบการทดลอง การปฏิบัตกิ ารทดลอง และการบนั ทึกผลการทดลอง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร มลี าํ ดบั ขนั้ ตอนอยา งไรบา ง กระบวนการทางวิทยาศาสตร เปนแนวทางการดําเนินการโดยใชทักษะวิทยาศาสตร ไปใชใ นการจดั การ มลี าํ ดบั ขั้นตอน 5 ข้ันตอน คอื ขั้นตอนที่ 1 การกําหนดปญหา เปนการกําหนดเร่ืองท่ีจะศึกษา หรือการแกปญหา ซ่ึงเปน ปญหาทไี่ ดมาจากการสังเกตสิง่ ท่พี บเหน็ เชน ทําไมตน ไมท ป่ี ลูกไวใบเห่ียวเฉา

4 ขนั้ ตอนท่ี 2 การต้งั สมมตฐิ าน เปนการคาดคะเนคําตอบของปญหาอยางมีเหตผุ ล โดยใชขอมูลจากการสังเกต การพบผูรูในเรื่องนั้น ๆ โดยมีการกําหนดตัวแปรที่เก่ียวของกับ การทดลอง ไดแ ก ตัวแปรตน ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม สมมติวาการทดลองตอไปนี้ตองการจะทดสอบสมมติฐานท่ีวา “เม่ือพืชไดรับแสง มากขน้ึ พชื จะเจรญิ เตบิ โตสูงข้ึน” ถาจะทําการทดลองเพ่ือทดสอบสมมติฐานดังกลาว กําหนด ตัวแปร ดังน้ี ตัวแปรตน คือ ปริมาณแสง ตวั แปรตาม คอื การเจริญเตบิ โตของพืช ตวั แปรควบคุม คือ 1. ชนิดพืช ตองเปน พชื ชนิดเดยี วกัน 2. ขนาดของพืชท่ีนํามาทดลองตองมีขนาดเทากนั 3. ใชดินชนดิ เดยี วกันและปริมาณเทากนั ปลกู 4. รดนํ้าในเวลาเดยี วกันและปรมิ าณเทา ๆกนั 5. วางกระถางตน พืชในบริเวณเดียวกัน ข้ันตอนที่ 3 การทดลองและรวบรวมขอมูล เปนการปฏิบัติการทดลอง คนหาความ จริงใหสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไวในขั้นตอนการตั้งสมมติฐาน (ขั้นตอนท่ี 2) และรวบรวม ขอมลู จากการทดลองอยา งเปน ระบบ ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะหขอมูล เปนการนําขอมูลท่ีรวบรวมไดจากข้ันตอน การทดลองและรวบรวมขอมลู (ขนั้ ตอนท่ี 3) มาวเิ คราะหหาความสัมพันธข องขอเท็จจริงตาง ๆ เพ่อื นาํ มาอธิบายและตรวจสอบกบั สมมติฐานท่ตี ั้งไวในข้นั ตอนการตงั้ สมมตฐิ าน (ขนั้ ตอนท่ี 2) ขัน้ ตอนท่ี 5 การสรปุ ผล เปนการสรุปผลการศึกษา การทดลอง โดยอาศัยขอมูลและ การวเิ คราะหขอมูลจากข้ันตอนการวิเคราะหขอมูล (ขั้นตอนท่ี 4) เปนหลักในการสรุปผลการ ทดลอง

5 คณุ ลักษณะของบคุ คลทมี่ เี จตคตวิ ิทยาศาสตร ควรเปนอยางไร ลกั ษณะของเจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร แบง ไดเ ปน 2 ลกั ษณะ คอื 1. เจตคติที่เกิดจากการใชความรู คือกฎเกณฑ ทฤษฎี และหลักการตาง ๆ ทางวิทยาศาสตรและการอธิบายปรากฏการณธรรมชาติในเชิงวิทยาศาสตร โดยถือผล ทเ่ี กดิ จากการสงั เกต ทดลอง ตามที่เกิดจรงิ โดยอาศยั ขอ มลู องคประกอบท่เี หมาะสม 2. เจตคติท่ีเกิดจากความรูสึก คือกิจกรรมทางวิทยาศาสตรท่ีมุงกอใหเกิดความคิด ใหมๆ เพ่ืออธิบายปรากฏการณธรรมชาติ คุณคาสําคัญจึงอยูที่การสรางทฤษฎีและการเปน นกั วทิ ยาศาสตร หรอื การทาํ งานทตี่ อ งใชความรูทางวิทยาศาสตร เปนสิ่งที่นา สนใจและมคี ุณคา คณุ ลักษณะของบคุ คลท่มี เี จตคติวิทยาศาสตร 6 ลักษณะ 1. เปน คนที่มีเหตผุ ล คน หาสาเหตขุ องปญหาหรือเหตกุ ารณและหาความสมั พนั ธ ของสาเหตุกบั ผลท่เี กิดขน้ึ 2. เปน คนทมี่ คี วามอยากรอู ยากเห็น มีความพยายามท่จี ะเสาะแสวงหาความรู ในสถานการณใหม ๆ และตองเปน บคุ คลท่ชี อบซักถาม คน หาความรโู ดยวธิ ีการตา ง ๆ อยูเสมอ 3. เปนบุคคลท่ีมีใจกวาง บุคคลที่กลายอมรับการวิพากษวิจารณจากบุคคลอ่ืนเปน บุคคลที่เตม็ ใจทจ่ี ะเผยแพรค วามรูและความคดิ ใหแกบ ุคคลอ่ืน 4. เปน บคุ คลท่ีมีความซอื่ สตั ย และมใี จเปนกลาง สังเกตและบันทึกผลตาง ๆ อยาง ตรงไปตรงมา ไมลําเอียง หรอื มีอคติ 5. มคี วามเพียรพยายาม ไมท อ ถอยเมือ่ ผลการทดลองลม เหลว หรอื มีอุปสรรค 6. มีความละเอียดรอบคอบ ไมย อมรับส่ิงหน่ึงสงิ่ ใดจนกวา จะมีการพสิ จู นท ี่เชอื่ ถอื ได

6 กระบวนการทางความคิดทางวทิ ยาศาสตรใ นการแกปญ หาในชวี ติ ประจาํ วนั 1. ความเคยชิน เชนคนสายตาส้ัน ใสแวนแลวเห็นชัดน้ันเกิดจากความรู ทางวิทยาศาสตร ที่ใชเลนสนูนมารวมแสง เพื่อใหแสงมาตัดกันบนเรตินาพอดี ภาพท่ีเห็น ก็จะชดั เจน 2. ความไมทันสังเกต เชน ถาตองการแกไขปญหากล่ินปากหลังต่ืนนอน, จะใชวิธีแปรงฟน, อมนํ้ายาบวนปาก, ใชไหมขัดฟน ฯลฯ ทั้งหมดลวนไดมาจากวิธีการทาง วิทยาศาสตร เชน แปรงสฟี น ทาํ ไมจึงมีรปู รา ง-จํานวนขนแปรง-ขนาดขนแปรง ทั้งหมดตองผาน การศึกษา-คนควา เก็บขอมูล ตั้งสมมุติฐาน ทดลอง บันทึก ฯลฯ ,ยาสีฟน นํ้ายาบวนปาก, ไหมขดั ฟน ลว นไดมาจากวิธกี ารทางวิทยาศาสตรทง้ั สิ้น 3. ความไมรู เชน “การท่ีทานเคยตัดสินใจเลือกทานอาหารที่มีประโยชนดีกวาทาน อาหารขยะ” น่ันก็แสดงวาทานไดใชกระบวนการทางความคิดเชิงวิทยาศาสตรไปแลว โดยที่ ทานไมรูตัว เพราะทานไดค ิดถงึ คณุ คาทางโภชนาการซึ่งเปนสวนหน่ึงของวิทยาศาสตร ถาทาน ตัดสินใจเพราะเรื่องราคา แสดงวาทานบวก-ลบ เลขเปน หมายถึงทานไดใชกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตรแลว 4. และอื่นๆอีกมากมาย เชน น้ําไมไหล - เปดปมนํ้า, เก็บอาหาร - ใสตูเย็น, อากาศ รอน - เปดแอร+พดั ลม,อยากใหต นไมงาม - ใสปุย, อยากกันแดด- กางรม+ทาครีม, อยากหาย เหนื่อย- ดื่มนํ้าอัดลม ฯลฯ ทุกๆนวัตกรรม ทั้งเครื่องยนตกลไก, เครื่องใชไฟฟา,การถนอม อาหาร ฯลฯ เปน วทิ ยาศาสตรท้งั หมด

7 เทคโนโลยี คอื อะไร เทคโนโลยี หมายถงึ ความรู วชิ าการรวมกบั ความรวู ธิ ีการและความชํานาญที่สามารถ นําไปปฏิบัติใหเกิดประโยชนสูงสุด สนองความตองการของมนุษยเปนส่ิงที่มนุษยพัฒนาข้ึน เพื่อชวยในการทํางานหรอื แกป ญ หาตาง ๆ เชน อุปกรณ เคร่อื งมอื เครื่องจักร วสั ดุ ฯลฯ เทคโนโลยีสามารถนาํ ไปใชดานใดไดบ าง เทคโนโลยีในการประกอบอาชพี ที่มีสว นเก่ียวขอ งในหลายดา น เชน 1. เทคโนโลยีกบั การพฒั นาอุตสาหกรรม เปน การนาํ เทคโนโลยมี าใชในการผลิต ทําให ประสิทธิภาพในการผลิตเพ่ิมขึ้น ประหยัดแรงงาน ลดตนทุน รักษาสภาพแวดลอม เชน คอมพวิ เตอร พลาสตกิ แกว เปนตน 2. เทคโนโลยีกับการพัฒนาดานการเกษตร เปนการใชเทคโนโลยีในการเพ่ิมผลผลิต ปรับปรุงพันธุ ในการนําเทคโนโลยีมาใชในการพัฒนาจะตองศึกษาปจจัยแวดลอมหลายดาน เชน ทรพั ยากรส่งิ แวดลอ ม เทคโนโลยีทใ่ี ชในชีวติ ประจาํ วัน ในปจจุบันมกี ารนําเทคโนโลยมี าใชในชีวิตประจาํ วันของมนษุ ยม ีมากมาย เชน การสง จดหมายผานทางอินเทอรเน็ต การอานหนังสือผานอินเทอรเน็ต ซ่ึงเปนเทคโนโลยี ทมี่ ีกาวหนาอยา งรวดเร็ว เปนการประหยัดเวลาในการคน หาความรูต าง ๆ ไดรวดเรว็ ยงิ่ ขึน้

8 เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมคืออะไร เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม หมายความถึง เหมาะสมตอสภาพเศรษฐกิจ สังคม และ ความตองการของประเทศ เทคโนโลยบี างเร่ืองเหมาะสมกับบางประเทศ ทั้งนี้ข้ึนอยูกับสภาวะ ของแตละประเทศ เชน ความจําเปนที่นําเทคโนโลยีมาใชในประเทศไทย ประชาชนสวนใหญ เปนเกษตรกร ดังนั้นการนําเทคโนโลยีมาใชจึงเปนเร่ืองจําเปน เชน การขายเมล็ดโกโกให ตา งประเทศแลว นาํ ไปผลิตเปน ช็อคโกแลต ซ่ึงถา ต้ังโรงงานในประเทศไทยตองใชเ ทคโนโลยี เขา มามีบทบาทในการพฒั นาการแปรรปู เทคโนโลยที ่ีเกย่ี วขอ ง ไดแ ก 1. การตดั ตอ ยนี (genetic engineering) เทคโนโลยีดีเอ็นเอสายผสม (recombinant DNA) และเทคโนโลยโี มเลกุลเครอ่ื งหมาย (molecular markers) 2. การเพาะเล้ียงเซลล และการเพาะเล้ียงเน้ือเย่ือ (cell and tissue culturing) พืช และสตั ว 3. การใชประโยชนจ ุลินทรียบ างชนิดหรือใชป ระโยชนจากเอนไซมข องจุลนิ ทรีย เทคโนโลยชี ีวภาพทางการเกษตรคืออะไร เปนการใชเทคโนโลยีการพัฒนาการเกษตร ดา นพชื และสตั ว ดวยเทคโนโลยีชวี ภาพ ไดแ ก 1. การปรับปรุงพนั ธุพืชและการผลิตพชื พันธุใหม เชน พืชไร พชื ผกั ไมดอก 2. การผลติ พืชพันธดุ ีใหไดปรมิ าณมาก ๆ ในระยะเวลาอนั สนั้ 3. การผสมพนั ธุสัตวแ ละการปรับปรุงพนั ธุสัตว 4. การควบคมุ ศัตรพู ชื โดยชวี วิธี และจลุ ินทรียท ชี่ ว ยรักษาสภาพแวดลอม 5. การปรับปรุงกระบวนการการผลิตอาหารใหมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยตอ ผูบ ริโภค 6. การรเิ ริม่ คน ควาหาทรัพยากรธรรมชาติมาใชป ระโยชน และการสรา งทรพั ยากรใหม

9 เทคโนโลยแี ละสงั คมมีความสัมพนั ธก นั อยางไร เทคโนโลยีมีความสัมพันธกับการดํารงชีวิตของมนุษยมาเปนเวลานาน ต้ังแตยุค ประวัตศิ าสตร เทคโนโลยีเปนส่ิงที่มนุษยนําความรูจากธรรมชาติวิทยามาคิดคน และดัดแปลง เพ่ือแกป ญ หาพนื้ ฐานในการกอสรา ง การชลประทาน การนําเคร่ืองมอื เครือ่ งใช ฯลฯ ในปจจุบัน ปจจยั การเพิม่ จาํ นวนของประชากร ขอจํากัดดานทรัพยากรธรรมชาติ เปนปจจัยสําคัญในการ นาํ และการพฒั นาเทคโนโลยีมาใชม ากขน้ึ เทคโนโลยกี อใหเ กดิ ผลกระทบตอสังคมและในพ้ืนที่ที่ มีเทคโนโลยีเขาไปเกี่ยวของในหลายรูปแบบ เทคโนโลยีชวยใหสังคมหลาย ๆ แหง เกิดการ พฒั นาทางเศรษฐกิจมากขึ้น ผลกระทบดานเทคโนโลยีดานตา ง ๆ 1.1 ดา นเศรษฐกจิ - มนุษยสามารถจับจายมากข้ึน เพราะมีบัตรเครดิตทําใหไมตองพกเงินสด หากตองการซ้ืออะไรท่ีไมไดเตรียมการไวลวงหนาก็สามารถซ้ือไดทันที เพียงแตมีบัตรเครดิต เทานั้นทาํ ใหอ ตั ราการเปน หน้สี งู ขนึ้ - การแขงขันกันทางธุรกิจสูงมากข้ึนเพราะตางก็มุงหวังผลกําไรซ่ึงก็เกิด ผลดีคือ อตั ราการขยายตวั ทางธุรกจิ สูงขน้ึ แตผลกระทบกเ็ กิดตามมา คือ บางคร้ังก็มุงแตแ ขงขนั กนั จนลืมความมีมนุษยธรรมหรือความมนี าํ้ ใจ 1.2 ดา นการศกึ ษา จากการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศมาผลิตสอื่ การเรียนการสอนที่เรียกวา CAI น้ันทํา ใหเ กิดปญหาท่ีเหน็ ไดช ัดเจน เชน - ครูกับนักเรียนจะขาดความสัมพันธและความใกลชิดกันเพราะนักเรียนสามารถ ท่ีจะเรียนไดจากโปรแกรมสาํ เร็จรูปทําใหความสาํ คญั ของผเู รยี นและครลู ดนอยลง - นักเรียนที่มีฐานะยากจนไมสามารถที่จะใชส่ือประเภทนี้ไดทําใหเกิด ขอไดเ ปรียบเสียเปรยี บกนั ระหวางผูเรียนท่ีมีฐานะดีและผูเรียนท่ีมีฐานะยากจนทําใหเห็นวาผูท่ี มีฐานะทางเศรษฐกิจดี กย็ อมท่จี ะมีโอกาสทางการศึกษาและทางสงั คมดีกวา 1.3 ดา นกฎหมาย ศลี ธรรม จรยิ ธรรม

10 การใชเทคโนโลยีสารสนเทศมีอิทธิพลตอการดํารงชีวิตของมนุษย การรับ วัฒนธรรมท่ีแฝงเขามากับแหลงขาวสารขอมูลในรูปแบบตาง ๆ กอใหเกิดการเปล่ียนแปลง ในพฤติกรรมของมนุษย โดยเฉพาะบนเครือขายสารสนเทศซึ่งเปนเครือขายที่เช่ือมโยง กับทุกมุมโลก การเปดรับขาวสารท่ีมาจากแหลงขอมูลดังกลาวจึงขึ้นอยูกับการตัดสินใจและ ทัศนคติสวนบุคคล การรับขอมูลขาวสารที่ไมเหมาะสมสงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมโดยเฉพาะพฤติกรรมที่ไมพึงประสงค และมีแนวโนมทําใหเกิดอาชญากรรมปญหา ทางศลี ธรรมและจริยธรรม การเลอื กใชเ ทคโนโลยีไดอ ยางเหมาะสม มีความสมั พนั ธกบั การดํารงชวี ติ ของมนษุ ยอยางไร เทคโนโลยีมีความสมั พนั ธก บั การดํารงชีวิตของมนุษยเปนเวลานาน เปนสิ่งที่มนุษยใช แกปญหาพ้ืนฐานในการดํารงชีวิต เชน การเพาะปลูก ที่อยูอาศัย เคร่ืองนุงหม ยารักษาโรค ในระยะแรกเทคโนโลยีที่นํามาใชเปนเทคโนโลยีพ้ืนฐานที่ไมสลับซับซอนเหมือนในปจจุบัน การเพิ่มของประชากรและขอจํากัดดานทรัพยากรธรรมชาติ และการพัฒนาความสัมพันธกับ ตางประเทศเปนปจจัยสําคัญในการนํา และพัฒนาเทคโนโลยีมาใชมากขึ้น ดังนั้นการเลือกใช เทคโนโลยีจงึ ขน้ึ อยูกับความตองการและความเหมาะสมในชุมชน ไมควรเลือกใชเทคโนโลยีท่ีมี แตค วามทนั สมัย หรือเปนของใหมแ ตเพียงอยางเดยี ว เชน ในชมุ ชนมีการเลีย้ งกระบอื หรือโค ในทุกครัวเรือน ก็ไมจําเปนตองใชรถไถนาที่ตองใชพลังงานเช้ือเพลิง จะทําใหสามารถใช ประโยชนจากสง่ิ ที่มใี หคุมคามากท่สี ุด และเปนการลดภาระคา ใชจ า ยอกี ดว ย อุปกรณทางวทิ ยาศาสตรค ืออะไร อุปกรณทางวิทยาศาสตร คือ เคร่ืองมือที่ใชท้ังภายในและภายนอกหองปฏิบัติการ เพือ่ ใชทดลองและหาคําตอบตาง ๆ ทางวทิ ยาศาสตร

11 เคร่อื งมือทางวทิ ยาศาสตรม กี ป่ี ระเภทอะไรบา ง เครื่องมือทางวิทยาศาสตร มี 3 ประเภท คือ 1.ประเภทท่ัวไป เชน บีกเกอร หลอดทดสอบ ปเปตต บิวเรตต แทงแกวคนสาร กลอ งจุลทรรศน ตะเกยี งแอลกอฮอล เปน ตน 2. ประเภทเครื่องมือชาง เปนอุปกรณที่ใชไดทั้งภายในหองปฏิบัติการ และภายนอก หองปฏิบัตกิ าร เชน แปรง คีม เคร่อื งชงั่ เปนตน 3. ประเภทสิ้นเปลืองและสารเคมี เปนอุปกรณทางวิทยาศาสตรที่ใชแลวหมดไป ไมสามารถนํากลับมาใชไ ดอ ีก เชน กระดาษลิตมสั กระดาษกรอง สารเคมี เปน ตน อุปกรณทางวทิ ยาศาสตรใ ชงานอยางไรบาง 1. การใชง านอุปกรณวทิ ยาศาสตร ประเภทท่ัวไป 1. บกี เกอร (BEAKER) เปนอปุ กรณวิทยาศาสตรท่ใี ชเพ่อื ใหผูใชส ามารถทราบ ปริมาตรของเหลวท่ีบรรจุอยูไดอยางคราว ๆการเลือกขนาดของบีกเกอรเพ่ือใสของเหลวนั้น ข้นึ อยูกบั ปรมิ าณของเหลวท่ีจะใส โดยปกตใิ หร ะดบั ของเหลวอยตู ํา่ กวาปากบีกเกอร ประมาณ 1 - 1 ½ นว้ิ 2. หลอดทดสอบ (TEST TUBE) เปนอุปกรณทใี่ ชใ สสารในการทดลอง มที ัง้ ชนดิ ธรรมดาใชใสสารเพื่อทดลองปฏิกิริยาเคมีระหวางสารท่ีเปนสารละลาย ท่ีมีปริมาตร นอ ย ๆ และชนิดทนไฟ ใชสําหรบั ใสสาร เพอ่ื เผาดว ยเปลวไฟ 3. ปเ ปตต (PIPETTE) เปนอุปกรณที่ใชในการวัดปริมาตรของเหลวท่ีมีจํานวนนอยได อยา งใกลเคียงความจริง มีความถูกตองสูง มี 2 ชนิดดวยกัน คือ measuring pipette จะไมมี แกวปอ งตรงกลาง และ แบบ volumetric pipette จะมีแกวปองบริเวณตรงกลางและมีความ ถูกตองมากกวา measuring pipette และตองใชรวมกับลูกยาง (rubber bulb) เพื่อดูด

12 สารละลายเขาไปในปเปตต ใหมากกวาขีดบอกปริมาตร จากน้ันนําลูกยางออก แลวใชนิ้วชี้ ปดที่ปลายปเปตต จากน้นั คอยๆ ปลอ ยสารละลายออกมาจนถึงขีดบอกปริมาตร และคอยถาย สารละลายในปเ ปตตล งในภาชนะทต่ี อ งการ 4. บิวเรตต (BURETTE) เปน อปุ กรณวัดปริมาตรทม่ี ขี ดี บอกปริมาตรตา ง ๆ และมี ก็อกสําหรับเปด – ปด เพ่ือบังคับการไหลของของเหลว บิวเรตตเปนอุปกรณที่ใชในการ วเิ คราะห มขี นาดตัง้ แต 10 มิลลิลติ ร จนถงึ 100 มลิ ลลิ ิตร บิวเรตตสามารถวัดปริมาตรไดอยาง ใกลเ คยี งความจริงมากทส่ี ดุ 5. เคร่ืองชง่ั (BALANCE) มี 2 แบบ แบบ triple – beam balance เปน เครอื่ งมอื ชา งทมี่ ีราคาถูกและใชง า ยโดยตัง้ เครื่องช่ังใหอยูในแนวระนาบ แลวปรับใหแขนของเครื่องช่ังอยูในแนวระนาบโดยหมุนสกรูให เข็มช้ีตรงขีด 0 แบบ equal – arm balance เปน เครอ่ื งชง่ั ท่ีมแี ขน 2 ขางยาวเทา กันเมอ่ื วดั ระยะจากจุดหมนุ ซึ่งเปนสันมีดขณะที่แขนของเคร่ืองชั่งอยูในสมดุล เม่ือตองการหาน้ําหนัก ของสารหรอื วัตถุ ใหวางสารน้ันบนจานดา นหน่งึ ของเครื่องชั่ง ตอนน้ีแขนของเครื่องช่ังจะไมอยู ในภาวะที่สมดุลจงึ ตองใสต ุม นํา้ หนักเพอื่ ปรับใหแ ขนเครือ่ งช่ังอยูในสมดลุ 2. การใชง านอปุ กรณวทิ ยาศาสตรป ระเภทเคร่ืองมอื ชา ง เวอรเ นยี (VERNIER) เปน เครอ่ื งมือทีใ่ ชวดั ความยาวของวตั ถทุ ้งั ภายในและภายนอกของช้นิ งาน

13 คีม (TONG)

14 รปู ภาพจาก //sites.google.com

15 3.การใชง านอปุ กรณวิทยาศาสตรป ระเภทสิ้นเปลอื งและสารเคมี กระดาษกรอง (FILTER PAPER) เปนกระดาษท่ีกรองสารท่อี นุภาคใหญ ออกจากของเหลว ซ่งึ มีขนาดของอนุภาคทเ่ี ล็กกวา กระดาษลิตมัส (LITMUS) เปนกระดาษท่ีใชทดสอบสมบัติความเปนกรด – เบสของ ของเหลว สารเคมี หมายถึงอะไร สารเคมี หมายถึง สารทปี่ ระกอบดวยธาตเุ ดยี วกันหรือสารประกอบจากธาตุ ตาง ๆ รวมกันดวยพันธะเคมี ซึ่งในหองปฏิบัติการจะมีสารเคมีมากมาย อุบัติเหตุจากสารเคมี ตอ งรีบกําจดั สารเคมปี นเปอน ดังนี้ (1) สารทเี่ ปน ของแขง็ ควรใชแ ปรงกวาดสารมารวมกัน ตกั สารใสใ นกระดาษ แข็งแลวนําไปทําลาย (2) สารละลายกรด ควรใชน าํ้ ลางบรเิ วณท่ีมีสารละลายกรดหกเพ่ือทาํ ใหก รด เจือจางลง และใชสารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนตเจือจางลางเพื่อทําลายสภาพกรด แลว ลางดวยน้าํ อีกคร้งั (3) สารละลายเบส ควรใชน ้ําลางบริเวณทีม่ สี ารละลายเบสหกและซับนํา้ ใหแหง เนื่องจากสารละลายเบสท่ีหกบนพ้ืนจะทําใหพื้น บริเวณน้ันล่ืน ตองทําความสะอาดลักษณะ ดงั กลาวหลายๆ ครงั้ และถายงั ไมหายล่นื อาจตอ งใชทรายโรยแลว เก็บกวาดทรายออกไป (4) สารท่ีเปน นา้ํ มนั ควรใชผ งซักฟอกลางสารท่เี ปน นํา้ มันและไขมนั จนหมด คราบนา้ํ มนั และพนื้ ไมลื่นหรอื ทําความสะอาดโดยใชทรายโรยเพื่อซบั นํา้ มันใหห มดไป (5) สารที่ระเหยงาย ควรใชผ า เชด็ บริเวณทีส่ ารหยดหลายคร้ังจนแหง และ ในขณะเช็ดถจู ะตองมกี ารปองกันไมใ หสมั ผสั ผิว หนงั หรอื สดู ไอของสารเขา รา งกาย (6) สารปรอท กวาดสารปรอทกองรวมกันแลว ใชเครอ่ื งดูดเกบ็ รวบรวมไวใ น กรณีท่ีพื้นท่ีสารปรอทหกมีรอยแตกหรือรอยราวจะมีสารปรอทแทรกเขาไปอยูขางในตองปด รอยแตกหรอื รอยรา วนน้ั ดว ยการทาขี้ผงึ้ ทับรอยดงั กลา ว เพ่ือกันการระเหยของปรอท หรืออาจ ใชผงกาํ มะถนั โรยบนปรอทเพ่ือใหเกิดเปน สารประกอบซลั ไฟด แลว เกบ็ กวาดอีกคร้ัง

16 การใชว ัสดุอปุ กรณทางวิทยาศาสตรและสารเคมี ควรมขี อ ปฏบิ ตั ิอยางไร การใชวัสดุอุปกรณทางวิทยาศาสตรและสารเคมี ตองคํานึงถึงความเหมาะสม ความจาํ เปนในการใชง าน และตองคาํ นงึ ถึงความปลอดภัย มขี อปฏบิ ัติ ดงั น้ี 1. ปฏบิ ตั ติ ามคําแนะนาํ ของผดู ูแลปฏิบัตกิ ารอยา งเครง ครัด ไมปฏบิ ัติการคนเดยี ว และตองมผี ดู แู ลอยูดวยทกุ ครั้ง 2. สวมเสื้อกาวน และแวน กนั สะเกด็ ทกุ ครั้ง 3. อา นฉลากสารเคมกี อนทุกครง้ั และใชเ ทา ท่ีจาํ เปน 4. หา มชมิ สารเคมี หรือสมั ผัสดว ยมอื เปลา 5. อุปกรณท ่ีใชก ับความรอ นตองระวงั เปนพเิ ศษ 6. อุปกรณไ ฟฟา ตองตรวจสอบความพรอมกอนใชง านทุกครง้ั 7. เลือกใชอ ุปกรณว ทิ ยาศาสตรใ หเหมาะสมกับการใชงาน 8. อานคมู ือการใชอ ุปกรณทดลองทกุ ชนิดกอ นใชง าน 9. ดูแลความสะอาดอปุ กรณท ดลอง โตะ ปฎบิ ัติการใหเ ปนระเบียบเรยี บรอย ตวั อยา งการเลือกใชว สั ดอุ ุปกรณท างวทิ ยาศาสตรแ ละสารเคมีอยา งถกู ตอ งและเหมาะสม 1. ถาตองการใชข องเหลวหรอื สารละลายปริมาณนอ ย ๆ เชน 5 มิลลลิ ิตร ควรเลือกใชกระบอกตวงขนาดเล็กในการวัดปริมาตรของของเหลว และในการอานปริมาตร ใหยกกระบอกตวงตั้งตรง และใหทองนํ้าอยูในระดับสายตา แลวอานคาปริมาตร ณ จุดตํ่าสุด ของทอ งน้าํ 2. การคนสารละลายใหเขากนั ควรใชแ ทง แกว คนสารละลายและตอ งระวงั ไมใ ห แทงแกว กระทบดานขางและกน ของภาชนะ 3. การใชกระดาษลติ มัส ตอ งใชท ลี ะแผน โดยตัดขนาดพอเหมาะกบั ท่จี ะใชง าน มือที่หยิบจะตองสะอาดและแหง ถาจะทดสอบกับของเหลว ตองวางกระดาษลิตมัสบนถวย กระเบ้อื ง แผน กระจกหรอื กระดาษที่สะอาด แลวใชแ ทงแกวสะอาด จุมของเหลวมาแตะ

17 4. การใชอ ปุ กรณว ดั ความยาวและความสูงไดถูกวธิ ี และอา นมาตราสวนได ถกู ตอง ทําไดโ ดยใหตาอยูตัง้ ฉากกับขดี บอกความยาวหรือความสงู น้นั 5. เทอรม อมเิ ตอร การใชวัดอณุ หภูมคิ วรเลอื กทีม่ ีชวงอุณหภูมสิ งู สุด – ต่ําสดุ ใหเ หมาะสมกับสง่ิ ทจ่ี ะวดั เพราะถา นําไปวัดอณุ หภูมสิ งู เกนิ ไป จะทําใหห ลอดแกวแตก การอาน อุณหภูมิตอ งใหส ายตาอยใู นระดบั เดียวกบั ของเหลวในเทอรม อมเิ ตอร 6. การใชสารละลายทเ่ี ปน กรด เม่อื ทาํ สารละลายหก ควรรบี ทาํ ใหเ จอื จางดว ยนาํ้ กอน แลวโรยโซดาแอช หรือโซเดียมไบคารบอเนต หรือเทสารละลายดาง เพ่ือทําใหกรดเปน กลาง ตอจากน้นั จงึ ลา งดว ยน้าํ ใหส ะอาด

18 กจิ กรรมทา ยบทที่ 1 เรอ่ื งทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร คําชี้แจง จงเลอื กคาํ ตอบทถี่ ูกทส่ี ุด เรือ่ งเลาของภรรยาคนหน่งึ ชว งหนึง่ สามีของเธอกลบั บานดกึ ทกุ วนั และวนั หนึ่งเธอพบวามีรอยลิปสติกเปอนอยูที่ เสอื้ ของเขาในเชา วนั ตอมาเธอจึงไดตอวาสามีของเธออยางรุนแรงเก่ียวกับเร่ืองการมีผูหญิงอื่น ของเขา ใชขอมูลดังกลาวตอบคําถามขอ ที่ 1 และ 2 1. จากขอ ความท่ีขีดเสนใตเกิดจากทกั ษะทางวิทยาศาสตรขอใดของภรรยา ก. ทักษะการจับผดิ ข. ทักษะการสงั เกต ค. ทกั ษะการตงั้ สมมติฐาน ง. ขอ ข. และ ค. ถูก 2. จากเรือ่ งเลา ท้งั หมดของภรรยา ภรรยาขาดทกั ษะทางวิทยาศาสตรขอ ใด ก. ทักษะการสังเกต ข. ทกั ษะการตัง้ สมมตฐิ าน ค. ทักษะการรวบรวมขอมลู ง. ขาดทง้ั 3 ทกั ษะท่ีกลา วมา 3. ขอใดไมใ ชท กั ษะพื้นฐานของทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร ก. ทกั ษะการพยากรณ ข. ทักษะการควบคมุ ตวั แปร ค. ทกั ษะการจดั ประเภทสิ่งของ ง. ทักษะการลงความเห็นจากขอ มลู

19 4.บุคคลใดตอ ไปนี้ท่ีมีลักษณะนสิ ยั ของนกั วิทยาศาสตรม ากทส่ี ดุ ก. นางสาวสมจติ ดูดวงดว ยไพย ปิ ซที กุ อาทิตย ข. นางสมใจชว ยผูอื่นบันทึกผลการทดลองอยางเที่ยงตรงทกุ ครง้ั ค. นายสมชายทาํ Web Page เกย่ี วกับเร่ืองซึนามิทต่ี นสนใจและศึกษามา ง. นายสมปองไดเ ขา ศึกษาตอท่คี ณะวทิ ยาศาสตร ภาควิชาดาราศาสตร อนั เน่อื งมาจาก ตอ งการตอบคําถามท่มี มี าต้งั แตวยั เดก็ เกี่ยวกับการกาํ เนดิ ดวงจนั ทร 5.ขอใดตอ ไปนไี้ มจดั เปนเทคโนโลยี ก. บา น ข. แรเ งิน ค. ยาพาราเซตตามอล ง. ระบบการแลกเปล่ียนเงนิ ตรา 6. เทคโนโลยีใดตอ ไปน้ีไมเหมาะสมสําหรับประเทศไทย ก. ระบบการจาํ นําขาว ข. ฮีตเตอร (เครือ่ งทําความรอ น) ค. การเพาะเลยี้ งเซลลพืชและสัตว ง. กระบวนการประกอบอะไหลร ถยนต 7. ขอ ใดกลา วถกู เกี่ยวกับเทคโนโลยี ในชีวติ ประจาํ วนั ก. การทําขา วแชจ ดั เปนเทคโนโลยีอยา งหน่งึ ข. เทคโนโลยีกอใหเ กิดประโยชนต อมนุษยในทุกดา น ค. การสาํ รวจอวกาศจัดเปนเทคโนโลยีที่ใชใ นชีวิตประจําวัน ง. สนิ คา การเกษตรของประเทศไทยสวนใหญส ง ขายในรูปสินคา แปรรูป

20 8. “กลาเลี้ยงสุนัข 2 ตัว ตัวหน่ึง กินอาหารเม็ดกับนม อีกตัวหน่ึงกินอาหารเม็ดเพียงอยาง เดียว 1 เดือนตอมาปรากฎวาสุนัขมีน้ําหนักเพ่ิมข้ึนเทากัน” ปญหาของกลากอนทําการ ทดลองคือขอใด ก. สุนัขชอบกินอาหารเมด็ หรอื นม ข. อาหารเมด็ ย้ีหอไหนทสี่ ุนขั ชอบกิน ค. ชนิดของอาหารมผี ลตอ การเจรญิ เตบิ โตหรอื ไม ง. อาหารเมด็ ทําใหสนุ ขั ท้งั สองตัวน้าํ หนกั เพม่ิ ขน้ึ เทา กนั 9. “ผักกระเฉดจะมีจํานวนเพิ่มข้ึน ถามีการผสมผงซักฟอกลงในนํ้าเพิ่มข้ึน” จากขอความ ขางตน ขอ ใดกลาวถงึ ตัวแปรไดถกู ตอ ง ก. ตัวแปรอสิ ระ คือ ปริมาณผงซักฟอก ข. ตัวแปรอิสระ คอื จํานวนผกั กระเฉดที่เพิม่ ขนึ้ ค. ตัวแปรควบคมุ คอื จาํ นวนผักกระเฉดทเ่ี พิม่ ขึ้น ง. ถกู ทกุ ขอ ท่ีกลาวมา 10. จากปญหา“สีของแสงไฟจะมผี ลตอการเจริญเตบิ โตของพชื หรือไม” ควรจะตงั้ สมมติฐาน วา อยางไร ก. สีของแสงไฟมีผลตอการเจริญของพืชหรือไม ข. ถาพืชสามารถดดู กลืนแสงสใี ดไดจ ะเจริญเตบิ โตไดด ี ค. ถาพืชทไี่ ดรับแสงสนี า้ํ เงนิ จะโตดีกวา พืชทีร่ บั แสงสีเขียว ง. พชื ทไี่ ดรบั แสงไฟสนี าํ้ เงนิ และแสงไฟสเี ขียวจะเตบิ โตเทา กนั 11. ทฤษฎีทางวิทยาศาสตรมที ่มี าจากขอใด ก. เกิดจากการยอมรบั ของคนท่ัวไป ข. อธบิ ายไดอ ยา งกวา งขวางและชัดเจน ค. เกดิ จากการมเี ครื่องมอื ท่ีสามารถพิสจู นได ง. ทดสอบสมมตฐิ านทางวิทยาศาสตรแลว เปน จริงทกุ ครงั้

21 12. “จากการทดลอง สรุปไดวา แผนใยขัดมีผลตอการไหลของน้ําทําใหน้ําไหลไดชาลง รวมท้ังชวยใหก่ิงไมจําลองยึดติดกับทรายในกระบะได ตางจากกระบะท่ีไมมีแผนใยขัด ท่ีน้ําไหลอยางรวดเร็วและพัดเอาก่ิงไมและทรายลงไปดวย”จากขอความดังกลาว ขอใดตอไปนเี้ ปน สมมติฐานของสรปุ ผลการทดลองน้ี ก. แผนใยขดั ชวยลดอัตราการไหลของนา้ํ ข. แผนใยขดั สามารถเกาะกบั กระบะทรายไดดี ค. อตั ราการไหลของนา้ํ ขึน้ อยูกบั สง่ิ ทชี่ วยดดู ซับ ง. แผน ใยขดั ชวยใหก ่ิงไมจาํ ลองยดึ ตดิ กบั ทรายในกระบะไดด ี 13.เครือ่ งมอื วทิ ยาศาสตรสําคัญอยา งไร ก. ชวยนักวิทยาศาสตรท ํางานทุกๆ ดาน ข. ชว ยใหน ักวทิ ยาศาสตรท าํ งานไดด ขี น้ึ ค. เมื่อมเี ครื่องมอื ใครก็เปนนักวิทยาศาสตรไ ด ง. ชว ยอํานวยความสะดวกแกน ักวิทยาศาสตรแ ละทาํ ใหผ ลการทดลองเทย่ี งตรง 14. วันหนึ่งปาแจวพนักงานทําความสะอาดไดทําเทอรโมมิเตอรชนิดปรอทตกแตก เธอควร ทาํ ความสะอาดบรเิ วณดงั กลาวอยางไร ก. ใชผงซกั ฟอกลางสารปรอทออก ข. ใชผงกาํ มะถันโรยลงไปแลว เก็บกวาด ค. ใชนาํ้ ลา งบริเวณดงั กลาวและซับนํา้ ใหแ หง ง. ใชสารละลายกรดเทลงไปเพือ่ ใหเกิดปฏิกริ ิยาแลว เช็ดใหแ หง 15. ขอ ใดกลา วผิดเก่ยี วกบั หองปฏิบัตกิ ารทางวิทยาศาสตร ก. หองปฏบิ ตั ิการไมควรมเี สาอยภู ายในหอง ข. หอ งปฏบิ ตั กิ ารควรปราศจากสิ่งรบกวนจากภายนอก ค. หองปฏบิ ตั ิการควรใชพ นื้ กระเบ้อื งสขี าวเพ่อื ใหส ามารถทาํ ความสะอาดไดงา ย ง. หองปฏิบตั ิการทีเ่ ปน สเี่ หล่ียมพื้นผา ควรมสี ัดสวนดา นกวางตอดา นยาวไมเ กิน 1: 1.2

22 16. ตะเกยี งแอลกอฮอลจัดเปนเคร่อื งมือวทิ ยาศาสตรป ระเภทใด ก. ประเภทท่ัวไป ข. ประเภทเคร่อื งมือชา ง ค. ประเภทสิ้นเปลืองสารเคมี ง. ไมมีขอใดถูก 17. นักเรยี นคนใดตอ ไปน้ใี ช Beaker ผิดวธิ มี ากท่ีสุด ก. นายเอตมนํา้ กล่นั ทีม่ ีปริมาณมากโดยใช Beaker ข. นายดีระเหยกรดท่มี ีฤทธไิ์ มร ุนแรงโดยใช Beaker ค. นางสาวบเี ลือก Beaker 500 ml. เพือ่ เตรยี มสารละลาย 20 ml. ง. นางสาวซที าํ ปฏกิ ิรยิ าตกตะกอนของแคลเซียมคารบอเนตโดยใช Beaker 18.จากรปู คอื อุปกรณชนิดใด ก. คีม ข. ไมท ี ค. เวอรเนยี ง. ไมบ รรทัดเหล็ก 19.อปุ กรณใดที่ชวยบอกคาอุณหภมู ิแกน ักวิทยาศาสตร ก. คีม ข. เครอื่ งช่งั ค. เทอรโ มมิเตอร ง. เคร่อื งยงิ เลเซอร 20.ใครใชเครอ่ื งมือวทิ ยาศาสตรกบั งานตอ ไปนไ้ี ดเ หมาะสม ก. อาทติ ยใชก ระดาษลติ มสั กรองสาร ข. จิรภัทรใ ชโ วลมเิ ตอรวดั ความเรว็ ลม ค. ธิติใชเ ทอรโมมิเตอรวดั อณุ หภมู ขิ องน้าํ ง. พงศกรใชเ คร่ืองชั่งรับน้ําหนักได 1 กโิ ลกรมั ไปช่งั กอนดนิ หนัก 3 กิโลกรมั

23 บทท่ี 2 โครงงานวทิ ยาศาสตร สาระสาํ คญั โครงงานวิทยาศาสตรเปนกิจกรรมเกี่ยวกับวิทยาศาสตร ซ่ึงเปนกิจกรรมท่ีตองใช กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร ในการศึกษาคนควา โดยท่ีผูเรียนจะเปนผูดําเนินการ ดวยตนเองทั้งหมด ต้ังแตเริ่มวางแผน ในการศึกษาคนควา การเก็บรวบรวมขอมูลจนถึงการ แปลผล สรปุ ผล และการเสนอผลการศกึ ษา โดยมผี ูชาํ นาญการเปน ผใู หค าํ ปรึกษา ผลการเรียนรูทีค่ าดหวัง 1. อธิบายประเภท เลอื กหัวขอ วางแผน วธิ นี าํ เสนอและประโยชนข องโครงงานได 2. วางแผนและทาํ โครงงานวทิ ยาศาสตรได 3. อธิบายและบอกแนวทางในการนําผลจากโครงงานไปใชได ขอบขา ยเน้อื เรอ่ื งท่ี 1 ประเภทโครงงานวทิ ยาศาสตร เรอ่ื งท่ี 2 ข้ันตอนการทาํ โครงงานวิทยาศาสตร เรอ่ื งท่ี 3 การนําเสนอโครงงานวิทยาศาสตร

24 บทท่ี 2 โครงงานวทิ ยาศาสตร โครงงานวิทยาศาสตร หมายถึงอะไร และแบงออกไดเปน กปี่ ระเภท โครงงานวิทยาศาสตร หมายถึง การศึกษาเรื่องราวเก่ียวกับวิทยาศาสตรอยางเปน กระบวนการ เพ่ือตอบปญหาท่สี งสัยโดยปญหาน้ันเกิดจากความสนใจของผูทําโครงงาน ดังน้ัน ผูที่จะศึกษาและทําโครงงานจะตองมีความละเอียดรอบคอบ มีการสังเกต จดบันทึกและ วางแผนรปู แบบขนั้ ตอนในการทําโครงงานอยางเปนระบบ ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร แบง ออกไดเ ปน 4 ประเภท คอื 1. โครงงานประเภทสํารวจรวบรวม ลักษณะเดนของโครงงานประเภทนี้ ไมจํากัด หรือกําหนดตัวแปรตางๆ ที่ตองการศึกษา โครงงานประเภทสํารวจรวบรวมขอมูลน้ี ผูทํา โครงงานเพยี งตองการสํารวจและรวบรวมขอมูล แลวนําขอมูลนั้นมาจําแนกเปนหมวดหมูและ นาํ เสนอในรูปแบบตา งๆ เพ่ือใหเ หน็ ลักษณะหรือความสัมพันธในเร่ืองที่ตองการศึกษาไดชัดเจน ย่ิงข้ึน การสํารวจและรวบรวมขอมูลน้ีอาจทําไดในหลายรูปแบบ เชน การออกไปเก็บขอมูล ในภาคสนาม ซึ่งในบางครั้ง บางเรื่องก็สามารถเก็บรวบรวมขอมูลตางๆ ท่ีตองการในทองถิ่น หรอื ในสถานท่ีตา งๆ ที่ตองการศึกษาคนควาในขณะที่ออกไปปฏิบัติการน้ัน โดยไมตองนําวัตถุ ตวั อยางกลับมาวเิ คราะหในหอ งปฏิบตั กิ ารอกี ตวั อยา งโครงการประเภทน้ี ไดแ ก - การสาํ รวจประชากรและชนิดของสิง่ ตา งๆ เชน สัตว พืช หิน แร ฯลฯ ในทองถ่ิน หรือในบริบทท่ตี อ งการศกึ ษา - การสาํ รวจพฤติกรรมดานตา งๆ ของสตั วใ นธรรมชาติ - การสํารวจทิศทางและอัตราเรว็ ลมในทอ งถ่นิ - การสํารวจการผกุ รอนของสง่ิ กอสรา งที่ทาํ ดว ยหนิ ออ นในแหลง ตา งๆ ในบางครงั้ การออกภาคสนามก็เพ่ือไปเก็บวัสดุตัวอยางมาวิเคราะหในหองปฏิบัติการ เพราะไมสามารถที่จะวิเคราะหและรวบรวมขอมูลไดทันที ในขณะออกไปปฏิบัติการภาคสนาม ตัวอยางโครงงานประเภทนี้ ไดแก - การสํารวจคุณภาพนํ้า เชน ความขุน ความเปนกรด – เบส คา BOD COD ฯลฯ แหลงนา้ํ ตา งๆ ทต่ี องการศกึ ษา เชน โรงงานนํา้ อัดลม โรงงานผลติ สรุ า ฯลฯ

25 - การศึกษาสมบัติ เชน จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความหนาแนนของสารตาง ๆ ที่สกดั ไดจากวสั ดุหรอื พืชชนิดใดชนิดหนง่ึ ท่ตี องการศึกษา - การสํารวจคุณภาพของดิน เชน ความช้ืน ปริมาณสารอินทรีย ความเปนกรด – เบส จากแหลงตาง ๆ ท่ีตองการศกึ ษา - การศึกษาสาํ รวจมลพิษของอากาศในแหลง ตา งๆ ในการสาํ รวจรวบรวมขอมูลบางอยางแทนท่ีจะออกไปสํารวจตามธรรมชาติบางครั้งก็ อาจจําลองธรรมชาติข้ึนในหองปฏบัติการแลวสังเกตุ และศึกษารวบรวมขอมูลตางๆ ในธรรมชาตจิ าํ ลองนน้ั ๆ เชน - การศึกษาวงจรชวี ติ ไหมท่เี ลีย้ งในหองปฏิบตั ิการ - การศึกษาพฤติกรรมของมดท่เี ล้ียงในหองปฏบิ ตั ิการ 2. โครงงานประเภททดลอง ลักษณะเดน ของโครงงานประเภทน้ี คอื เปน โครงงาน ท่ีมีการออกแบบการทดลองเพ่ือศึกษาตัวแปรหนึ่งที่มีตอแปรอีกตัวหนึ่งที่ตองการศึกษา โดยควบคุมตัวแปรอ่ืน ๆ ที่อาจมีผลตอตัวแปรที่ตองการศึกษาเอาไว หรือกลาวอีกนัยหน่ึง โครงงานทีจ่ ะจดั เปน โครงงานประเภทการทดลองได จะตองเปนโครงงานที่มีการจัดกระทํากับ ตัวแปรตน หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา ตัวแปรอิสระ มีการวัดตัวแปรตาม (ผลที่ตองการ) และ ควบคมุ ตวั แปรอ่นื ๆ ทีไ่ มตอ งการศึกษา โดยทั่วไป ข้ันตอนการดาํ เนินงานของโครงงานประเภท น้ีจะประกอบดวย การกําหนดปญหา การตั้งจุดมุงหมาย สมมติฐาน การกําหนดตัวแปรตาง การออกแบบการทดลอง การรวบรวมขอมลู การดาํ เนินการทดลอง การแปรผลและการสรุปผล 3. โครงงานประเภทการพัฒนาหรือประดิษฐ ลักษณะเดนของโครงงานประเภทน้ี เปนโครงงานท่ีเกี่ยวกบั การประยกุ ตท ฤษฎหี รอื หลกั การทางวทิ ยาศาสตรมาประดิษฐ เคร่ืองมือ เคร่อื งใช หรืออปุ กรณ เพ่อื ประโยชนใชสอยตางๆ ซึ่งอาจเปนการคิดประดิษฐส่ิงของใหม หรือ ปรับปรุงเปล่ยี นแปลงของเดมิ ทม่ี ีอยแู ลวใหมปี ระสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได โครงงานประเภทนี้รวมไป ถึง การสรา งแบบจาํ ลองเพื่ออธบิ ายแนวความคดิ ตาง ๆ โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรไป แกปญ หาตา ง ๆ 4. โครงงานประเภทการสรางทฤษฎีหรืออธิบายลักษณะเดนของโครงการประเภทน้ี คอื เปนโครงงานเกีย่ วกับการนําเสนอ ทฤษฎี หลกั การ หรือแนวความคดิ ใหมๆ ซ่ึงอาจอยูในรูป ของสูตร สมการ หรือคําอธิบายโดยผูเสนอไดตั้งกติกาหรือขอตกลงเอง แลวเสนอทฤษฎี หลักการ แนวความคิด หรือจินตนาการของตนเองตามกติกา ขอตกลงน้ัน หรืออาจใชกติกา

26 ขอ ตกลงอันเดมิ มาอธิบายสง่ิ หรือปรากฏการณต า ง ๆ ในแนวใหม ทฤษฎี หลักการแนวความคิด หรอื จนิ ตนาการทเี่ สนอนอี้ าจจะใหมไ มม ใี ครคดิ มากอน หรืออาจขัดแยงกับทฤษฎีเดิม หรือเปน การขยายทฤษฎีหรือแนวความคิดเดิมกไ็ ด การทําโครงงานประเภทนี้ จุดสําคัญอยูที่ผูเสนอตอง มีพื้นฐานความรูในเรื่องนั้นๆ เปนอยางดี จึงจะสามารถเสนอโครงงานประเภทนี้ไดอยางมี เหตุผล และนาเชื่อถือ หรืออาจทําไดโดยสรางเคร่ืองมือข้ึนประกอบการอธิบาย โดยท่ัวไป โครงงานประเภทน้ีจัดเปนวทิ ยาศาสตรบ ริสทุ ธห์ิ รือโครงงานทางคณิตศาสตร ขนั้ ตอนของการทาํ โครงงานวิทยาศาสตร มอี ะไรบาง การทําโครงงานวิทยาศาสตร ขั้นตอนที่ 1 การคิดและเลือกหัวเรื่อง เปนการหาหัวขอในการทดลอง ในเร่ืองท่ี ผูเ สนออยากรูอยากเห็น ข้ันตอนท่ี 2 การศึกษาเอกสารท่ีเกี่ยวของรวมไปถึงการขอคําปรึกษา หรือขอมูล ตางๆจากผทู รงคุณวฒุ ิที่เกี่ยวของ ขั้นตอนท่ี 3 การเขียนเคาโครงของโครงงานโดยทั่วไปเคาโครงของโครงงานจะมี หวั ขอ ดังตอไปน้ี

27 หัวขอ/รายการ รายละเอียดทต่ี อ งระบุ 1.ช่อื โครงงาน 1. ทําอะไร กับใคร เพื่ออะไร 2.ชือ่ ผูทําโครงงาน 2. ผูรับผดิ ชอบโครงงานน้ี 3.ช่ือท่ีปรกึ ษาโครงงาน 3. ผูทรงคณุ วฒุ ิตา งๆ 4.ระยะเวลาดําเนินการ 4. ระยะเวลาดําเนนิ งานโครงงานตั้งแตต นจนจบ 5.หลกั การและเหตผุ ล 5. เหตผุ ลและความคาดหวงั 6.จดุ หมาย/วัตถปุ ระสงค 6. สง่ิ ทต่ี องการใหเกดิ เม่ือสน้ิ สดุ การทาํ โครงงาน 7.สมมติฐานของการศึกษาโครงงาน 7. ส่ิงทีค่ าดวา จะเกิดเม่อื ส้ินสุดการทําโครงงาน 8.ขน้ั ตอนการดําเนินงาน 8. ขน้ั ตอนการทํางาน เครือ่ งมอื วสั ดอุ ุปกรณ สถานที่ 9.ปฏิบัตโิ ครงงาน 9. วนั เวลา และกจิ กรรมดาํ เนินงานตางๆตง้ั แต ตนจนเสร็จ 10. ผลท่คี าดวาจะไดร ับ 10. สภาพของผลทต่ี อ งการใหเกดิ ทงั้ ทเี่ ปน ผลผลติ กระบวนการ และผลกระทบ 11. บรรณานุกรม 11. ชอ่ื เอกสารขอ มลู ทไี่ ดจ ากแหลง ตาง ๆ ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติโครงงาน เปนการดําเนินงานตามแผน ที่ไดกําหนดไวในเคา โครงของโครงงาน และตอ งมกี ารจดบนั ทกึ ขอ มลู ตางๆไดอ ยา งละเอียด และตองจัดทําอยางเปน ระบบ ระเบยี บ เพื่อท่ีจะไดใชเปน ขอมูลตอ ไป ข้ันตอนท่ี 5 การเขียนรายงาน ควรใชภาษาที่เขาใจงาย กระชับ ชัดเจน และ ครอบคลมุ ประเดน็ สาํ คญั ของโครงงาน สามารถเขียนในรปู แบบตางๆ เชน การสรุป รายงานผล ซึง่ ประกอบไปดวยหวั ขอตา งๆ เชน บทคดั ยอ บทนํา เอกสารทเ่ี ก่ยี วของ เปนตน ขน้ั ตอนท่ี 6 การแสดงผล การแสดงผลงาน เปนการนําเสนอผลงาน สามารถจัดได หลายรูปแบบ เชน การจัดนิทรรศการ หรือทําเปนสิ่งตีพิมพ การสอนแบบเพ่ือน สอนเพือ่ นตามแตค วามเหมาะสมของโครงงาน

28 การวางแผนการทาํ โครงงานวทิ ยาศาสตร การวางแผนการทาํ โครงงาน มขี ้นั ตอนดงั น้ี 1. การกําหนดปญหาหรอื ท่มี า และความสําคญั ของโครงงาน 2. กําหนดวัตถุประสงคและสมมติฐานของการศึกษา เชน ศึกษาปฏิกิริยาตอบสนอง ของปลา แสงสีตางๆ หรอื เพือ่ ศึกษาอวัยวะภายในของหนทู มี่ ีผลมาจากใบกัญชา 3. กําหนดขอบเขตของการศกึ ษา โดยยดึ หลักไมเกนิ ระดับความรขู องผูเ รยี นมากนัก 4. การวางแผนวิธีการดําเนินงาน ไดแก แนวทางในการศึกษา คนควา วัสดุอุปกรณ ที่จาํ เปน ออกแบบการทดลองควบคมุ ตัวแปร วิธีการสาํ รวจ และรวบรวมขอมลู วิธีการประดิษฐ การวิเคราะหขอมูล และการกําหนดระยะเวลาในการทํางาน ในการวางแผนการทําโครงงาน ควรเขยี นโครงราง หรือเคาโครงราง หรือเคาโครงงานนําเสนออาจารยท่ีปรึกษา เพ่ือขอความ คดิ เหน็ และคําปรึกษาวาจะดําเนินการอยางไร โดยที่เปนขั้นตอนและไมสับสน การเขียนและ การจดั ลาํ ดับหวั ขอเคา โครงของโครงงาน มดี ังน้ี 1. ชอ่ื โครงงาน 2. ผจู ดั ทาํ โครงงาน 3. ชื่ออาจารยที่ปรกึ ษาโครงงาน 4. ท่มี าและความสาํ คญั ของโครงงาน 5. วตั ถุประสงคของการศึกษา คน ควา 6. สมมติฐานของการศึกษา คนควา (ในกรณีการต้ังสมมติฐานมักใชกับโครงงาน ประเภททดลองเทานั้น) 7. วธิ กี ารดําเนินการ 8. ประโยชนห รือผลที่คาดวา จะไดร ับ 9. เอกสารอางองิ

29 การเลอื กหวั ขอ การทําโครงงานวิทยาศาสตร หัวขอ โครงงาน คือ สงิ่ ทแ่ี สดงลักษณะของภาระงาน ชิน้ งาน หรือกิจกรรมอิสระทีผ่ ูทํา โครงงานตอ งทาํ การคัดเลือกหัวขอ โครงงานใหป ระสบผลสําเร็จ ผูทําโครงงานจะตองพิจารณา แรงจูงใจของตนเอง เพื่อใหสามารถตอบคําถามสําคัญ 2 ประการ คือ ตองการศึกษาการ แกปญหาสิ่งใดและเหตุใดจึงตองการศึกษาส่ิงนั้น โดยหัวขอโครงงานจะตองเปนเรื่องท่ี เฉพาะเจาะจง ชัดเจน โดยมุงเนนทําโครงงานท่ีอยูใกลตัว ซ่ึงอาจเกิดจากปญหาของผูทํา โครงงาน หรอื ผทู าํ โครงงานมคี วามคุน เคยกับสงิ่ น้นั ดังนน้ั ผทู าํ โครงงานจงึ ควรสาํ รวจตัวเองและ พิจารณาสง่ิ ตา งๆ ดังน้ี 1. ความรู ความสามารถ และประสบการณของตนเอง โดยพิจารณาจากคะแนน วดั ผลความรูหรอื ผลงานทเี่ คยปฏบิ ัติ 2. ความถนดั และความสนใจของผทู ําโครงงาน เปนการพิจารณาความชอบของผูทํา โครงงาน ซึ่งถาเปนโครงงานที่ผูที่ไมมีความรู ความสามารถ และประสบการณมากอน ผูทํา ก็จะตองคน ควา หาความรูเกย่ี วกับโครงงานนัน้ มากเปน พเิ ศษ 3. ประโยชนทีไ่ ดรบั โครงงานทท่ี ําควรเปนโครงงานท่ีมีประโยชนทั้งตอผูทําโครงงาน สงั คม และประเทศชาติ โดยโครงงานน้ันควรจะสามารถนําไปพฒั นาและใชไ ดจริง ในชวี ติ ประจําวนั 4. ความคิดสรางสรรค โครงงานที่ทาํ ควรมีความแปลกใหม ทันสมัย ใชไดจริงและไม มีผอู น่ื ทําไวห รอื เปน การพฒั นาโครงงานของผอู ื่นใหมีประสิทธภิ าพมากยงิ่ ข้ึน 5. ระยะเวลาในการทําโครงงาน เปน ปจ จยั ทผ่ี ูทาํ โครงงานจะตอ งวางแผนกอ นการทํา โครงงานจริง เพอื่ กาํ หนดขอบเขตและเปา หมายในการทาํ โครงงาน 6. คาใชจ า ยในการทําโครงงาน โครงงานบางประเภทจาํ เปนตอ งใชต น ทุนจาํ นวนมาก ผทู าํ โครงงานจึงควรประเมินคา ใชจ ายและเลือกทําโครงงานท่ีตนเองมีทรัพยากรอยูแลวเพื่อลด คาใชจ า ยในการทําโครงงาน 7. ความปลอดภยั เปน ปจจยั สําคญั ในการทาํ โครงงาน กลา วคอื โครงงานน้ันจะตองมี ความปลอดภยั ไมม ีอนั ตรายทง้ั ตอผทู าํ โครงงาน สังคม และประเทศชาติ

30 8. คานิยมของสังคม เปนปจจัยภายนอกท่ีเก่ียวกับผูทําโครงงานโดยโครงงานท่ีทํา จะตอ งไมขัดตอคานยิ ม วฒั นธรรมและความเชอ่ื ของสังคม 9. ความเปน ไปได ผูท ําโครงงานควรนาํ ปจ จัยขางตนมาพจิ ารณาวา โครงงานดังกลาว สามารถทาํ ไดจริงตามปจจัยตาง ๆ ท่มี ีอยหู รือไมแลวจึงตัดสนิ ใจเลือกทําโครงงานในหัวขอ นั้น การนาํ เสนอโครงงานวทิ ยาศาสตร การนําเสนอผลงานโครงงานวิทยาศาสตร อาจทาํ ไดในแบบตา ง ๆ กนั เชน การแสดงในรูปนิทรรศการ ซ่ึงมีทั้งการจัดแสดงและการอธิบายดวยคําพูด หรือใน รูปแบบของการรายงานปากเปลาไมวาการนําเสนอผลงานจะอยูในรูปแบบใด ควรครอบคลุม ประเดน็ สาํ คัญคอื มีความชดั เจน เขา ใจงา ยและมคี วามถูกตอ งในเนื้อหา การแสดงผลงานจดั ไดว า เปน ข้นั ตอนสําคญั อกี ประการหน่ึงของการทาํ โครงงาน เ รี ย ก ไ ด ว า เ ป น ง า น ขั้ น สุ ด ท า ย ข อ ง ก า ร ทํ า โ ค ร ง ง า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร เ ป น ก า ร แ ส ด ง ผ ลิ ต ผ ล ของงาน ความคดิ และความพยายามทง้ั หมดทผี่ ทู ําโครงงานไดทุม เทลงไป และเปน วธิ ีการ ทจ่ี ะทาํ ใหผูอ่นื ไดรับรูและเขาใจถึงผลงานนั้นๆ มีผูกลาววาการวางแผนออกแบบเพ่ือจัดแสดง ผลงานน้ันมีความสําคัญเทาๆ กับการทําโครงงานนั่นเอง ผลงานท่ีทําขึ้นจะดียอดเย่ียม เพียงใด แตถาการจัดแสดงผลงานทําไดไมดีก็เทากับไมไดแสดงความดียอดเย่ียมของผลงาน น่ันเอง ประเดน็ สาํ คัญทค่ี วรจดั ใหครอบคลุม การแสดงผลงานนน้ั อาจทาํ ไดห ลายรปู แบบ เชน การแสดงในรปู นทิ รรศการ ซง่ึ มีทั้งการ จัดแสดงและการอธบิ ายดวยคาํ พูด หรอื ในรปู แบบของการจดั แสดงโดยไมมกี ารอธิบายประกอบ หรือในรูปแบบของการรายงานปากเปลา ไมว า การแสดงผลงานจะอยใู นรูปแบบใด ควรจดั ทําให ครอบคลุมประเด็นสําคญั ดงั ตอไปน้ี

31 1. ช่อื โครงงาน 2. ชือ่ ผทู าํ โครงงาน 3. ชือ่ อาจารยทป่ี รึกษาโครงงาน 4. ความเปน มาและความสาํ คญั ของโครงงาน 5. วิธีดําเนนิ การ 6. การสาธติ หรอื แสดงผลที่ไดจากการทดลอง 7. ผลการสงั เกตและขอมูลเดน ๆ ทไ่ี ดจ ากการทาํ โครงงาน ขอคํานึงถึงในการจัดนิทรรศการโครงงานวิทยาศาสตร ควรคํานึงถึงสิ่งตาง ๆ ตอไปนี้ 1. ความปลอดภยั ของการจดั แสดง 2. ความเหมาะสมกบั เนอ้ื ทท่ี จี่ ดั แสดง 3. คาํ อธบิ ายทเ่ี ขียนแสดงควรเนนเฉพาะประเด็นสําคัญและสิ่งที่นาสนใจเทานั้น โดย ใชขอ ความกะทดั รัด ชดั เจน และเขา ใจงาย 4. ดงึ ดูดความสนใจของผูเขาชม โดยใชรูปแบบการแสดงท่ีนาสนใจ ใชสีท่ีสดใสเนน จุดสาํ คญั หรือใชว สั ดุตา ง ๆ ในการจดั แสดง 5. ใชตาราง และรปู ภาพประกอบ โดยจดั วางอยา งเหมาะสม 6. สิง่ ที่แสดงทกุ อยา งและการเขียนขอความตองถกู ตอ ง ไมม กี ารสะกดผิด หรืออธิบาย หลกั การท่ผี ิด 7. ในกรณีท่ีเปน สงิ่ ประดษิ ฐ สง่ิ นั้นควรอยใู นสภาพทีท่ ํางานไดอ ยางสมบูรณ ขอ คํานงึ ถงึ ในการอธิบายหรอื รายงานปากเปลา ควรคํานึงถึงสงิ่ ตา งๆ ตอ ไปน้ี 1. ตองทาํ ความเขา ใจกบั เรือ่ งทีจ่ ะอธบิ ายเปนอยา งดี 2. คํานึงถึงความเหมาะสมของภาษาที่ใชกับระดับผูฟง ควรใหชัดเจนและ เขาใจงาย 3. ควรรายงานอยา งตรงไปตรงมา ไมอ อ มคอม

32 4. พยายามหลีกเล่ียงการอานรายงาน แตอาจจดหัวขอสําคัญๆ ไวเพื่อชวยใหการ รายงานเปนไปตามขัน้ ตอน 5. อยาทองจํารายงาน เพราะทําใหด ไู มเ ปน ธรรมชาติ 6. ขณะทร่ี ายงาน ควรมองตรงไปยังผูฟง 7. เตรียมตวั ตอบคาํ ถามทเ่ี ก่ียวกบั เร่ืองนั้นๆ 8. ตอบคาํ ถามอยางตรงไปตรงมา ไมจําเปนตองกลาวถึงสิง่ ท่ไี มไดถ าม 9. หากตดิ ขัดในการอธิบาย ควรยอมรับโดยดี อยากลบเกล่อื นหรอื หาทางเลีย่ ง 10. ควรรายงานใหเ สร็จภายในระยะเวลาทีก่ ําหนด 11. ควรใชสื่อประเภทโสตทัศนูปกรณประกอบการรายงานดวย เชน แผนใส หรือ สไลด เปนตน แนวทางการนาํ ผลจากโครงงานวทิ ยาศาสตรไปใช การนําผลจากโครงงานไปใช คือ การเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร เปนการ เ ส น อ ผ ล ง า น ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร เ ป น เ อ ก ส า ร จั ด ว า เ ป น ข้ั น ต อ น สํ า คั ญ อี ก ป ร ะ ก า ร ห น่ึ ง ข อ ง โครงงาน เมอ่ื ดาํ เนินการทาํ โครงงานจนครบขน้ั ตอนไดขอมูล ทําการวิเคราะหขอมูล พรอมท้ัง แปรผล และสรปุ ผล แลวงานข้นั ตอไปท่ตี อ งทาํ คือการเขยี นรายงาน การเขียนรายงานโครงการวิทยาศาสตร มีดังน้ี 1. ชื่อโครงงาน เปนส่ิงสาํ คัญประการแรก เพราะชื่อโครงการจะชวยโยงความคิดไป ถงึ วตั ถุประสงคข องการทาํ โครงงานวิทยาศาสตร และควรกําหนดช่ือโครงการใหสอดคลองกับ วัตถปุ ระสงคห ลักดว ย

33 การต้ังชอื่ โครงงานของนักเรียนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา นิยมต้ังช่ือใหมี ความกะทัดรัดและดึงดูดความสนใจจากผูอาน ผูฟง แตสิ่งที่ควรคํานึงถึง คือ ผูทําโครงงาน วิทยาศาสตร ตองเขาใจปญหาที่สนใจศึกษาอยางแทจริง อันจะนําไปสูการเขาใจวัตถุประสงค ของการศึกษาอยางแทจริงดวย เชน โครงงานวิทยาศาสตร ช่ือ “ถุงพลาสติกพิชิตแมลงวัน ตัวนอย” ซึ่งปญหาเรื่องที่สนใจศึกษาคือถุงนํ้าพลาสติกสามารถไลแมลงวันท่ีมาตอมอาหารได จริงหรือ จากเรื่องดังกลาวผูทําโครงงานวิทยาศาสตร บางคนหรือบางคณะอาจสนใจตั้งชื่อ โครงงานวิทยาศาสตรวา “การศกึ ษาการไลแ มลงวันดว ยถงุ นาํ้ พลาสติก” หรือ “ผลการใชถุงนํ้า พลาสตกิ ตอ การไลแ มลงวัน” ก็เปนได อยางไรก็ตามจะตั้งช่ือโครงการในแบบใด ๆ นั้น ตองคํานึงถึงความสามารถที่จะส่ือ ความหมายถงึ วัตถุประสงคท ีต่ องการศึกษาไดช ัดเจน 2. ชอ่ื ผูจดั ทาํ โครงงาน การเขียนชื่อผรู บั ผดิ ชอบโครงงานวิทยาศาสตร เปนสง่ิ ดเี พื่อจะไดทราบวาโครงงาน น้นั อยูในความรบั ผดิ ชอบของใครและสามารถตดิ ตามไดที่ใด 3. ชอื่ อาจารยทป่ี รกึ ษาโครงงาน การเขยี นชื่อผูใหค ําปรกึ ษาควรใหเกยี รตยิ กยองและเผยแพร รวมท้ังขอบคุณท่ีไดให คาํ แนะนาํ การทําโครงงานวิทยาศาสตรจ นบรรลุเปาหมาย 4. บทคัดยอ อธิบายถึงท่ีมาและความสําคัญของโครงงาน วัตถุประสงค วิธีดําเนินการ และผลท่ีได ตลอดจนขอสรุปตางๆ อยางยอประมาณ 300-350 คํา (ถาใชโปรแกรม Microsoft Word ในการพิมพ สามารถตรวจสอบจํานวนคาํ จากเมนูเครือ่ งมือ เลือกคาํ ส่งั นับจํานวนคํา)

34 5. กิตตกิ รรมประกาศ (คาํ ขอบคณุ ) สวนใหญโครงงานวิทยาศาสตรมักจะเปนกิจกรรมที่ไดรับความรวมมือจากหลาย ฝายดงั นั้นเพือ่ เปนการเสริมสรางบรรยากาศของความรวมมือจึงควรไดกลาวขอบคุณบุคลากร หรือหนว ยงานตา ง ๆ ทม่ี สี ว นชว ยใหโ ครงงานนส้ี าํ เร็จดวย 6. ที่มาและความสําคัญของโครงงาน ในการเขียนท่ีมาและความสําคัญของโครงงานวิทยาศาสตร ผูทําโครงงาน จาํ เปนตอ งศึกษา หลักการทฤษฎีเก่ียวกับเร่ืองท่ีสนใจจะศึกษา หรือพูดเขาใจงาย ๆ วาเร่ืองท่ี สนใจจะศึกษานั้นตองมีทฤษฎีแนวคิดสนับสนุน เพราะความรูเหลาน้ีจะเปนแนวทางสําคัญใน เรือ่ งตอ ไปนี้ - แนวทางตัง้ สมมตฐิ านของเรื่องท่ีศึกษา - แนวทางในการออกแบบการทดลองหรือการรวบรวมขอมลู - ใชประกอบการอภิปรายผลการศึกษา ตลอดจนเสนอแนะเพ่ือนําความรูและ สิง่ ประดษิ ฐใหมท คี่ น พบไปใชประโยชนตอไป การเขียนทมี่ าและความสาํ คัญของโครงงาน คือ การอธิบายใหกระจางชัดวาทําไม ตองทํา ทําแลวไดอะไร หากไมทําจะเกิดผลเสียอยางไร ซ่ึงมีหลักการเขียนคลายการเขียน เรยี งความ ทว่ั ๆ ไป คอื มีคํานาํ เนอ้ื เรือ่ ง และสรุป สว นที่ 1 คาํ นํา : เปน การบรรยายถึงนโยบาย เกณฑ สภาพทั่ว ๆ ไป หรือปญหาท่ีมีสวน สนบั สนนุ ใหร ิเร่ิมทาํ โครงงานวทิ ยาศาสตร สวนที่ 2 เนื้อเรอื่ ง : อธิบายถึงรายละเอียดเช่ือมโยงใหเห็นประโยชนของการทําโครงงาน วทิ ยาศาสตร โดยมี หลกั การ ทฤษฎสี นับสนนุ เร่ืองทีศ่ กึ ษา หรอื การบรรยายผลกระทบ ถา ไมทํา โครงงานเรอ่ื งนี้ สว นท่ี 3 สรุป : สรุปถึงความจําเปน ที่ตอ งดาํ เนินการตามสวนท่ี 2 เพ่ือแกไขปญหา หรือ การคนควาหาความรูใ หมๆ คน ควา สิง่ ประดิษฐใหมใ หเปน ไปตามเหตุผลสว นที่ 1

35 7. วัตถุประสงคข องการทาํ โครงงาน เปนการกําหนดจุดมุงหมายปลายทางที่ตองการใหเกิดจากการทําโครงงาน วิทยาศาสตร ในการเขียนวัตถุประสงค ตองเขียนใหชัดเจน อานเขาใจงายสอดคลองกับช่ือ โครงงาน หากมีวัตถุประสงคหลายประเด็น ใหระบุเปนขอๆ การเขียนวัตถุประสงคมี ความสาํ คญั ตอแนวทาง การศกึ ษา ตลอดจนขอ ความรทู ่ีคน พบหรือส่ิงประดิษฐที่คนพบนั้นจะมี ความสมบรู ณค รบถวน คือ ตองสอดคลองกบั วตั ถปุ ระสงคท กุ ๆ ขอ 8. สมมตฐิ านของการศกึ ษา เปน ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรที่ผูทําโครงงานตองใหความสําคัญ เพราะ จ ะ ทํ า ใ ห เ ป น ก า ร กํ า ห น ด แ น ว ท า ง ใ น ก า ร อ อ ก แ บ บ ก า ร ท ด ล อ ง ไ ด ชั ด เ จ น แ ล ะ ร อ บ ค อ บ ซงึ่ สมมตฐิ านกค็ อื การคาดคะเนคําตอบของปญ หาอยางมีหลักและเหตุผลตามหลักการ ทฤษฎี รวมทัง้ ผลการศกึ ษาของโครงงานทไี่ ดทาํ มาแลว 9. ขอบเขตของการทําโครงงาน ผูทําโครงงานวิทยาศาสตร ตองใหความสําคัญตอการกําหนดขอบเขตการทํา โครงงาน เพ่ือใหไดผลการศึกษาท่ีนาเชื่อถือ ซึ่งไดแก การกําหนดประชากร กลุมตัวอยาง ตลอดจนตัวแปรท่ศี ึกษา 1. การกาํ หนดประชากร และกลุมตัวอยางที่ศึกษา คือ การกําหนดประชากรที่ศึกษา อาจเปนคนหรือสัตวหรือพืช ชื่อใด กลุมใด ประเภทใด อยูท่ีไหน เม่ือเวลาใด รวมทั้งกําหนด กลมุ ตัวอยา งท่ีมีขนาดเหมาะสมเปน ตัวแทนของประชากรท่ีสนใจศกึ ษา 2. ตัวแปรท่ีศึกษา การศึกษาโครงงานวิทยาศาสตร สวนมากมักเปนการศึกษา ความสมั พนั ธเชิงเหตแุ ละผล หรือความสัมพันธระหวางตวั แปรตง้ั แต 2 ตัวแปรข้ึนไป การบอก ชนดิ ของตวั แปรอยางถกู ตอ งและชัดเจน รวมท้ังการควบคุมตัวแปรที่ไมสนใจศึกษา เปนทักษะ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรท ีผ่ ทู าํ โครงงานตองเขาใจ ตวั แปรใดทศ่ี ึกษาเปนตัวแปรตนตัวแปร ใดที่ศึกษาเปนตัวแปรตาม และตัวแปรใดบางเปนตัวแปรท่ีตองควบคุมเพ่ือเปนแนวทางการ ออกแบบการทดลอง ตลอดจนมีผลตอการเขียนรายงานการทําโครงงานวิทยาศาสตรที่ถูกตอง สอ่ื ความหมายใหผฟู งและผูอ า นใหเ ขาใจตรงกนั

36 10. วิธดี ําเนนิ การ เปนวิธีการท่ีชวยใหงานบรรลุตามวัตถุประสงคของการทําโครงงาน ต้ังแตเริ่ม เสนอโครงการกระทัง่ สิน้ สุดโครงการ ซึ่งประกอบดวย 1. การกาํ หนดประชากร กลุมตัวอยา งท่ีศึกษา 2. การสรางเครือ่ งมอื เก็บรวบรวมขอมูล 3. การเก็บรวบรวมขอ มลู 4. การวเิ คราะหขอ มลู ในการเขียนวิธีดําเนินการใหระบุกิจกรรมท่ีตองทําใหชัดเจนวาจะทําอะไรบาง เรยี งลําดบั กิจกรรมกอ นและหลงั ใหช ดั เจน เพือ่ สามารถนาํ โครงการไปปฏิบัติอยางตอเน่ืองและ ถกู ตอง 11. ผลการศึกษาคนควา นาํ เสนอขอมูลหรือผลการทดลองตาง ๆ ท่ีสังเกตรวบรวมได รวมท้ังเสนอผลการ วเิ คราะหข อมูลทว่ี ิเคราะหไ ดดวย 12. สรปุ ผลและขอ เสนอแนะ อธิบายผลสรุปท่ีไดจากการทําโครงงาน ถามีการต้ังสมมติฐาน ควรระบุดวยวา ขอมูลที่ไดสนับสนุนหรือคัดคานสมติฐานท่ีต้ังไว หรือยังสรุปไมได นอกจากน้ียังควรกลาวถึง การนําผลการทดลองไปใชประโยชน อุปสรรคของการทําโครงงานหรือขอสังเกตท่ีสําคัญหรือ ขอผดิ พลาดบางประการที่เกิดขึ้นจากการทําโครงงานน้ี รวมท้ังขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง แกไข หากมผี ูศกึ ษาคนควา ในเรอ่ื งท่ที ํานองน้ตี อไปในอนาคตดว ย 13. เอกสารอา งอิง เอกสารอางอิง คือ รายชื่อเอกสารที่นํามาอางอิงเพื่อประกอบการทํา โครงงานวิทยาศาสตร ตลอดจนการเขียนรายงานการทําโครงงานวิทยาศาสตร ควรเขียนตาม หลกั การที่นยิ มกนั

37 ประโยชนท ี่ไดร บั จากการทาํ โครงงานวทิ ยาศาสตร ธีระชัย ปูรณโชติ (2531 : 3-4) ไดกลาวถึงความสําคัญและประโยชนของโครงงาน วิทยาศาสตร ไวดังตอ ไปน้ี 1. ชวยสงเสริมจุดมุงหมายของหลักสูตรและการเรียนวิทยาศาสตรใหสัมฤทธ์ิผล สมบูรณย งิ่ ขน้ั 2. ชวยใหผเู รียนมีโอกาสเรียนรูจากประสบการณตรงในกระบวนการแสวงหาความรู ดว ยตนเองโดยอาศัยวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร 3. ชวยพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรไดครบถวนสมบูรณยิ่งข้ึนกวาการ เรียนในกิจกรรมการเรียนการสอนตามปกติ ผูเรียนมีโอกาสไดฝกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรบ างทักษะซ่งึ ไมใครมีโอกาสในกจิ กรรมการเรยี นการสอนตามปกติ เชน ทักษะการ ตั้งสมมตฐิ าน ทักษะการออกแบบการทดลอง และควบคมุ ตัวแปร เปนตน 4. ชวยพัฒนาเจตคติทางวิทยาศาสตร เจตคติท่ีดีตอวิทยาศาสตร และความสนใจใน วชิ าวทิ ยาศาสตร 5. ชวยใหผูเรียนเขาใจลักษณะและธรรมชาติของวิทยาศาสตรดีย่ิงขึ้น เชน เขาใจวา วิทยาศาสตรไมไดหมายถึงแตตัวความรูในเน้ือหาสาระที่เกี่ยวกับธรรมชาติเทาน้ันแตยัง หมายถึงกระบวนการแสวงหาความรูเหลานนั้ และมีเจตคตหิ รอื คา นยิ มทางวิทยาศาสตรอีกดวย การไดม าซ่ึงความรูเ กยี่ วกบั ธรรมชาตจิ ะตองใชก ระบวนการแสวงหาความรทู ี่ไดจ ากการรวบรวม ขอมูลอยางมีระบบโดยอาศัยการสังเกตเปนพื้นฐานแตประสาทสัมผัสของมนุษย ซึ่งใชในการ สงั เกตมีขดี ความสามารถจํากัดในการรับรู ดงั น้ัน วิทยาศาสตรจ ึงมีขอบเขตจํากดั ดว ย 6. ชว ยพัฒนาความคิดริเร่มิ สรา งสรรค และความเปน ผมู วี ิจารณญาณ 7. ชวยพฒั นาผเู รยี นใหเ กิดความเชือ่ ม่นั ในตนเอง 8. ชวยพัฒนาผูเรียนใหเ ปนคนที่คิดเปน ทาํ เปน และมคี วามสามารถในการแกปญ หา 9. ชว ยพัฒนาความรบั ผิดชอบ และสรางวนิ ยั ในตนเองใหเกิดข้ึนกัผูเ รียน 10. ชวยใหผเู รยี นไดใชเวลาวางใหเปน ประโยชนและมีคุณคา

38 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (2531 : 56) ไดกลาวถึง คุณประโยชนของโครงงานวิทยาศาสตรไวด ังนี้ 1. สรางจติ สํานกึ และความรับผิดชอบในการศกึ ษาคน ควาหาความรูตา งๆ ดวยตนเอง 2. เปด โอกาสใหผเู รยี นไดพฒั นาและแสวงหาความสามารถตามศักยภาพของตนเอง 3. เปดโอกาสใหผูเรียนไดศึกษา คนควาและเรียนรูในเร่ืองท่ีตนเองสนใจไดลึกซ้ึงไป กวา การเรียนในหลักสูตรปกติ 4. ทําใหผ ูเ รยี นมีความสามารถพิเศษโดยมโี อกาสแสดงความสามารถของตน 5. ชวยกระตุนใหผูเรียนมีความสนใจในการเรียนวิทยาศาสตรและมีความสนใจที่จะ ประกอบอาชีพทางวทิ ยาศาสตร 6. ชวยใหผ ูเ รยี นไดใชเวลาวา งใหเ ปน ประโยชนใ นการสรา งสรรค 7. ชวยสรา งความสัมพันธระหวางครูกับผูเรียนและระหวางผูเรียนดวยกันใหมีโอกาส ทํางานใกลช ิดกันมากขน้ึ 8. ชว ยสรางความสัมพันธระหวางชมุ ชนกบั สถานศึกษาใหด ขี นึ้ สถานศกึ ษาไดมีโอกาส เผยแพรความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแกชุมชนซ่ึงจะชวยกระตุนใหชุมชนไดสนใจ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมากขึ้น สรุปไดวา โครงงานวิทยาศาสตรมีความสําคัญและกอประโยชนโดยตรงแกผูเรียน โดยตรงเปนการฝกใหผูเรียนรูจักศึกษาคนควาดวยตนเอง สรางความสัมพันธอันดีกับครูกับ เพ่อื นรว มงาน รจู กั ทํางานอยา งเปนระบบใชวธิ กี ารทางวิทยาศาสตรในการแกป ญ หาและใชเวลา วางใหเ ปนประโยชน

39 กจิ กรรมทายบทท่ี 2 คําช้แี จง ใหผูเ รียนตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี 1. โครงงานวิทยาศาสตรม กี ่ปี ระเภท จงอธิบาย .............................................................................................................................................. 2. ขนั้ ตอนการทําโครงงานวทิ ยาศาตรมอี ะไรบาง จงอธบิ าย .............................................................................................................................................. 3. การเขียนรายงานโครงการวทิ ยาศาสตร มีขั้นตอนอยา งไร จงอธบิ าย .............................................................................................................................................. 4. จงอธบิ ายวิธกี ารนาํ เสนอโครงงานวทิ ยาศาสตร .............................................................................................................................................. 5. จงอธิบายถึงประโยชนท ไี่ ดร ับจากการทําโครงงานวิทยาศาสตร ..............................................................................................................................................

40 บทที่ 3 เซลล สาระสําคญั รางกายมนุษย พืชและสัตว ตา งประกอบดวยเซลล จงึ ตองเรียนรูเก่ียวกับเซลลพืชและ เซลลสัตว กลไกและการรักษาดุลยภาพของพืช สัตวและมนุษย ปองกันดูแลรักษา ภูมิคุมกัน รา งกาย กระบวนการแบงเซลล  ผลการเรยี นรทู คี่ าดหวงั 1. อธบิ ายรปู รา ง สว นประกอบ ความแตกตาง ระบบการทํางาน การรักษาดุลยภาพ ของเซลลพ ืชและเซลลสัตวไ ด 2. อธิบายการรกั ษาดุลยภาพของพชื และสตั ว แ ละมนษุ ยแ ละการนําความรูไปใชไ ด 3. ศึกษา สืบคนขอมูลและอธิบายกระบวนการแบงเซลลแบบไมโทซสิ และโมโอซสิ ได ขอบขา ยเนอ้ื หา เร่ืองที่ 1 เซลล  เร่ืองท่ี 2 กระบวนการแบงเซลล แบบไมโทซีส และไมโอซิส

41 บทท่ี 3 เซลล เซลล (Cell) หมายถงึ หนวยท่ีเล็กท่ีสุดของส่ิงมีชีวิต โดยเซลล (cell) มาจากคําวา cella ในภาษาละติน ซ่ึงมีความหมายวา หองเลก็ ๆ เซลล (cell) สามารถเพ่ิมจํานวน เจริญเติบโต และตอบสนองตอสิ่งเราได เซลลบาง ชนิดเคลือ่ นท่ไี ดด ว ยตนเอง สวนประกอบของเซลลป ระกอบดว ยอะไรบา ง เซลลโดยทั่วไปไมวาจะมีรูปรางและขนาดแตกตางกันอยางไรก็ตาม แตจะมีลักษณะ โครงสรา งพื้นฐานสวนใหญคลายคลึงกัน เซลลของส่ิงมีชีวิตจะมีสวนประกอบท่ีเปนโครงสราง พ้ืนฐานอยู 3 สวนใหญๆ คอื 1. สว นหอหมุ เซลล ประกอบดว ย 1.1 เย่ือหุมเซลล (Cell membrane) มีลักษณะเปนเย่ือบางๆ ทําหนาที่หอหุมสวน ตา งๆทอี่ ยูภ ายในเซลล ประกอบดวยโปรตีนและไขมัน มีหนาท่ี ควบคุม ปริมาณ และชนิดของ สารท่ีผานเขาออกจากเซลล 1.2 ผนังเซลล (Cell wall) เปนสวนที่อยูนอกสุด ทําหนาท่ีเพิ่มความแข็งแรง และ ปองกันอันตรายใหแกเซลลพืช ประกอบดวย สารเซลลูโลสเปนสวนใหญ นอกจากนี้มีคิวทิน ซูเบอริน เพกทนิ ลิกนนิ ผนงั เซลลพบในเซลลพ ชื แบคทีเรีย และสาหรา ย 1.3 สารเคลอื บเซลล (cell coat) เปนสารที่เซลลสรางขึ้นเพื่อหอหุมเซลลอีกช้ันหน่ึง เปน สารที่มคี วามแข็งแรง ไมละลายน้ํา ทําใหเ ซลลค งรปู รางไดแ ละชวยลดการสญู เสียน้าํ 2. นิวเคลียส (nucleus) เปนสวนประกอบที่สําคัญท่ีสุดของเซลล มีรูปรางคอนขาง กลม นิวเคลียสทําหนาท่ี ควบคุมเมแทบอลิซึมของเซลล ควบคุมการสังเคราะหโปรตีนและ เอนไซม ควบคุมการถายทอดลักษณะ ทางพันธุกรรมจากพอแมไปสูรุนลูกหลาน ควบคุม กิจกรรมตางๆ ภายในเซลล ควบคุมการเจริญเติบโต และควบคุมลักษณะตางๆ ของส่ิงมีชีวิต ประกอบดวย

42 2.1 เยื่อหุมนิวเคลียส (nuclear membrane) เปนเยื่อบาง ๆ 2 ชั้น แตละช้ัน ประกอบดวยลิพิดเรียงตัว 2 ช้ัน มีโปรตีนแทรกเปนระยะๆ มีชองเล็กๆ ทะลุผานเยื่อหุม นิวเคลียส 2.2 นิวคลโี อลสั (Nucleolus) ประกอบดว ยสาร DNA และ RNA ทําหนาท่ีเกี่ยวของ กับการสงั เคราะหโปรตีน และสรางไรโบโซม 2.3 โครมาทิน (Chromatin) ซ่งึ เสน ใยเล็ก ๆ ยาว ๆ หดไปมาเปนรางแห เม่ือหดตัว ส้นั และหนาขน้ึ เรียกวา โครโมโซม (chromosome) ประกอบดวย ยีน และโปรตีนหลายชนิด บนยนี จะมีรหัสพนั ธุกรรมซงึ่ ทําหนา ทีค่ วบคุมการสรางโปรตีน 3. ไซโทพลาสซึม (Cytoplasm) เปนสวนท่ีอยูรอบ ๆ นิวเคลียส มีลักษณะเปน ของเหลวโดยมีสารอาหารและสารอ่ืนๆละลายอยู นอกจากนี้ในไซโทพลาสซึมยังมี ออรแกเนลลท ี่สําคญั ไดแ ก 3.1 ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria) ทาํ หนา ที่สรางพลังงานใหแ กเ ซลล 3.2 ไรโบโซม (Ribosome) พบท้ังในเซลล พืช และสัตว มีหนาท่ีเกี่ยวของกับการ สังเคราะหโ ปรตีน 3.3 ไลโซโซม (Lysosome) ทําหนาท่ียอยสารและส่ิงแปลกปลอมที่เซลล ไมต อ งการ 3.4 กอลจบิ อดี (Golgi body) ทําหนา ทส่ี ะสมโปรตีนเพื่อสง ออกนอกเซลล 3.5 เอนโดพลาสมิก เรติคูลัม (Endoplasmic reticulum) มี 2 แบบ คือ ชนดิ เรียบทาํ หนา ทส่ี รางสารพวกไขมัน และชนิดขรุขระทําหนาท่ีขนสงโปรตีน 3.6 แวคิวโอล (Vacuole) เปนแหลงสะสมสารตาง ๆ ซึ่งในเซลลพืชจะมีขนาดตาม อายุของเซลล ส่ิงมชี ีวิตมีการรกั ษาดลุ ยภาพยางไร สงิ่ มชี ีวติ ทุกชนิดมีการรกั ษาดลุ ยภาพสภาวะและสารตา งๆ ภายในรางกาย ดังน้ี 1. การรักษาสมดุลของอุณหภูมิ 2. การรกั ษาสมดลุ ของน้าํ 3. การรกั ษาสมดุลของกรด-เบส 4. การรกั ษาสมดลุ ของแรธาตุ

43 สาเหตทุ ่ีส่ิงมชี ีวิตตองมกี ลไกการรักษาดุลยภาพของรางกาย เพราะวาสภาวะและสาร ตา งๆ ภายในรางกายมผี ลตอ การทาํ งานของเอนไซม ซ่ึงทาํ หนา ท่ีเรงปฏิกริ ยิ าชีวเคมีตา ง ๆ ทเ่ี กดิ ข้ึนภายในเซลลแ ละรา งกาย พชื รกั ษาดุลยภาพของนํ้าอยางไร การคายน้ําถือเปนกระบวนการสําคัญในการรักษาดุลยภาพของนํ้าในพืชซ่ึงเปน กระบวนการท่ีพืชกําจัดน้ําออกมาในรูปของไอน้ําหรือหยดนํ้า โดยไอน้ําจะออกมาทางปากใบ (Stoma) ผิวใบหรอื รอยแตกบริเวณลาํ ตน แตหยดนา้ํ จะออกมาทางชองเปดบริเวณขอบใบหรือ ปลายใบ ปจจัยที่มีผลตอการคายน้ําของพืช ไดแก ลม ความกดดันอากาศ อุณหภูมิ ความเขมของแสงสวาง ความชน้ื ในอากาศ ปริมาณนํา้ ในดนิ ขอดจี ากการคายนํา้ ของพืช 1. ชว ยใหพชื มีอุณหภมู ิลดลง 2-3°C 2. ชว ยใหพ ืชดดู น้ําและแรธาตใุ นดนิ เขาสรู ากได 3. ชวยใหพชื ลําเลียงนํา้ และแรธาตไุ ปตามสว นตางๆ ของพืชได ขอเสียจากการคายน้ําของพืซ คือ พืชคายนํ้าออกไปมากกวาที่จะนําไปใชในการ เจริญเตบิ โตและสรางผลผลติ สัตวร ักษาดุลยภาพของน้าํ และสารตา ง ๆ ในรางกายอยา งไร อวยั วะสําคญั ในการรักษาดุลยภาพของน้าํ และสารตางๆ ในรางกาย คือ ไต (Kidneys) พบในสัตวมีกระดกู สันหลงั ไตคนมีลักษณะคลายเม็ดถวั่ แดง 2 เม็ดอยูด านหลังของลาํ ตวั เมื่อผาไตจะสังเกตเห็นเนื้อไตชั้นนอกและชั้นใน ซึ่งในเนื้อไตแตละขางประกอบดวยหนวยไต (Nephron) 1 ลา นหนวย ทําหนา ทกี่ ําจัดของเสียในรูปของปส สาวะ

44 มนษุ ยม กี ารรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในรา งกายอยา งไร การเปลี่ยนแปลงความเปนกรด-เบสมากๆ จะทําใหเอนไซม (Enzyme) ภายในเซลล หรือรางกายไมส ามารถทาํ งานได ดงั นั้นรา งกายจงึ มีกลไกการรกั ษาดุลยภาพความเปนกรด-เบส ภายในใหคงท่ี ซ่งึ มี 3 วธิ ี คือ 1. การเพ่ิมหรือลดอัตราการหายใจ ถาคารบอนไดออกไซด(CO2) ในเลือด มีปริมาณมากจะสงผลใหศูนยควบคุมการหายใจ คือสมองสวนเมดัลลาออบลองกาตา (Medulla Oblongata) สง กระแสประสาทไปสัง่ ใหก ลา มเน้อื กะบงั ลม และกลามเนือ้ ยดึ กระดูก ซ่ีโครงทํางานมากข้ึน เพื่อจะไดหายใจออกถ่ีข้ึน ทําใหปริมาณ CO2 ในเลือดลดลงถา CO2 ในเลอื ดมปี รมิ าณนอ ย จะไปยับยั้งสมองสวนเมดัลลาออบลองกาตา ซึ่งจะทําใหกลามเนื้อกะบัง ลมและกลามเนอื้ ยึดกระดูกซี่โครงทาํ งานนอ ยลง 2. ระบบบัฟเฟอร (Buffer) คอื ระบบทีส่ ามารถรักษาระดับคา pH ใหเกือบคงท่ีไวได เมื่อมีการเพิม่ ของสารท่มี ีฤทธ์ิเปนกรดหรือเบสเล็กนอยน้ําเลือด เลือดท่ีแยกสวนของเม็ดเลือด และเกล็ดเลอื ดออกแลว) ทาํ หนาทีเ่ ปน ระบบบฟั เฟอรใหกับรางกายมนษุ ย 3. การควบคุมกรดและเบสของไต ไตสามารถปรับสมดุลกรด-เบสของเลือดไดมาก โดยผา นกระบวนการผลิตปส สาวะ ระบบนจ้ี งึ มีการทํางานมาก สามารถปรบั คา pH ของเลือดที่ เปล่ยี นแปลงไปมากใหเขาสูภาวะปกตหิ รือภาวะสมดุลไดแ ตจะใชเวลานาน สิ่งมีชีวิตอ่นื ๆ มกี ารรกั ษาดลุ ยภาพของนาํ้ และแรธาตุอยา งไร การรักษาดุลภาพของสัตวแตละชนิด เพ่ือใหรางกายอยูในสภาวะสมดุล เหมาะสมตอ การดํารงชวี ิต เนื่องจากนํา้ ในรางกายจะมีความสมั พนั ธกบั ความเขม ขนของแรธาตุ และสารตาง ๆท่ีละลายอยใู นนา้ํ ดงั นั้นการรักษาดุลยภาพของนา้ํ ในรางกาย จึงมีความเกย่ี วของกับการรักษา ดลุ ยภาพของแรธ าตุ และสารตาง ๆ ดวยเชน กนั การรกั ษาดุลภาพของนาํ้ และแรธาตุในรางกาย ของสตั วมดี งั น้ี สัตวบก สัตวบกจะไดรับน้ําจากการด่ืมนํ้า และจากน้ําที่เปนสวนประกอบในอาหาร เชน ในพืชผัก ผลไม ตลอดจนนํ้าท่ีอยใู นเนอื้ สตั วต าง ๆ นอกจากนี้ยังไดรับน้ําจากกระบวนการ ยอ ยสลายสารอาหาร ตลอดจนการเผาผลาญสารอาหาร หากรางกายไดรับปริมาณมากเกินไป

45 รา งกายจะกําจดั น้าํ สว นเกนิ ออกในรปู ของเหงื่อ ไอนํ้าในลมหายใจ ปส สาวะ และอุจจาระ โดยมี ไตเปน อวัยวะหลักท่ีทําหนาท่ีควบคมุ สมดุลของนํ้า และแรธ าตใุ นรา งกาย สัตวปก นกหลายชนิดจะมีขนปกคลุม เพ่ือปองกันการสูญเสียน้ําเนื่องจากความรอน และยงั มรี ะบบการรกั ษาดุลยภาพของนํ้าดวยการขับออกในรูปปสสาวะนอกจากนี้ยังพบวานก ทะเลทกี่ นิ พืชหรือสัตวทะเลเปนอาหาร จะมีอวัยวะท่ีทําหนาที่กําจัดแรธาตุหรือเกลือสวนเกิน ออกไปจากรางกาย เรียกวา ตอมนาสิก (Nasal Gland) หรือตอมเกลือ (Salt Gland) ซ่ึงอยู บรเิ วณหวั และจมกู โดยแรธ าตุและเกลือจะถูกกําจัดออกในรูปของนํ้าเกลือ วิธีการรักษาสมดุล เชนน้ี จงึ ทาํ ใหนกทะเลตา ง ๆ สามารถดํารงชวี ิตอยไู ด แมจะบริโภคอาหารท่ีมีแรธาตุและเกลือ สูงเปน ประจาํ สตั วน ํ้าเค็ม จะมีวธิ ีการควบคุมสมดลุ นํ้าและแรธ าตุในรา งกายทแี่ ตกตางไปจากสัตวบก เน่ืองจากสัตวน้ําเค็มจะตองมีการปรับความเขมขนของเกลือแรในรางกายใหใกลเคียงกับ สภาพแวดลอม เรียกระดับความเขมขนเกลือแรภายในรางกายใหใกลเคียงกับสภาพแวดลอม วา ไอโซทอนกิ (isotonic) ซง่ึ จะชวยทําใหรางกายกับสภาพแวดลอมมีความสมดุลกันจึงไมมี การสูญเสยี นาํ้ หรือรบั นา้ํ เขา สรู า งกาย โดยสัตวน้าํ เคม็ แตล ะชนิดจะมีกลไกในการรกั ษาดุลยภาพ ท่ีแตกตางกัน ดังน้ี ในปลากระดูกออน เชน ปลาฉลาม จะมีระบบการรักษาสมดุลโดยการ พัฒนาใหม ียเู รยี สะสมในกระแสเลือดในปรมิ าณสูง จนมีความเขมขน ใกลเคยี งกบั นา้ํ ทะเลจึงไมมี การรบั นาํ้ เพิม่ หรือสญู เสียน้าํ ไปโดยไมจ าํ เปน สว นในปลากระดูกแข็งจะมเี กล็ดตามลําตัว เพื่อใชป องกนั การสูญเสียนํ้าภายในรางกาย ออกสูสภาพแวดลอ มเนือ่ งจากสภาพแวดลอมมคี วามเขมขนของสารละลายมากกวาในรางกาย และมีการขับเกลือแรออกทางทวารหนกั และในลกั ษณะปสสาวะที่มีความเขมขนสูงและมีกลุม เซลลทเ่ี หงอื กทําหนาท่ีลาํ เลยี งแรธาตุออกนอกรางกายดว ยวิธกี ารลาํ เลียงแบบใชพลงั งาน สัตวน้ําจืด มีความเขมขนของของเหลวในรางกายมากกวานํ้าจืด ด้ังน้ัน มีกลไกล การรักษาสมดลุ เชน ปลานํ้าจดื มผี ิวหนังและเกล็ดปอ งกนั การซมึ เขา ของน้ํา มีการขับปสสาวะ บอยและเจอื จาง และมอี วัยวะพิเศษทเ่ี หงือกคอยดดู เกลอื แรท จี่ ําเปนคนื สรู างกาย โพรทิสต(Protist) เชน โพรโทซัวท่ีอาศัยในนํ้าจืด จะใชวิธีการปรับสมดุลของนํ้า และของเสียท่ีเกิดข้ึนในเซลล โดยการแพรผานเยื่อหุมเซลลออกไปสูสิ่งแวดลอมโดยตรง นอกจากน้ียังใช คอนแทรกไทล แวควิ โอล (contractile vacuole) กาํ จัดสารละลายของเสีย

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita