ใบงานอาชญากรรมบนโลกออนไลน์

1.ข้อใดเป็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมในการใช้งาน Internet
ก. การรับส่ง e – mail จัดทำคู่มือ
ข. การดาวน์โหลดฟรีแวร์
ค. การอัพโหลดข่าวการศึกษา
ง. การให้ข้อมูลเท็จเพื่อให้เสียภาษีน้อยลง
2. เว็บไซต์ลักษณะใดที่ควรให้การสนับสนุนและควรเข้าชมที่มากสุด
ก. เว็บไซต์สารคดี
ข. เว็บไซต์หนังสยองขวัญ
ค. เว็บไซต์ขายบริการทางเพศ
ง. เว็บไซต์หาคู่ทางอินเตอร์เน็ต
3. การกระทำในข้อใดควรให้การสนับสนุน ในการใช้งานอินเตอร์เน็ต
ก. โพสภาพลามกอนาจารเป็นประจำ
ข. อัพเดทข่าวสารความรู้ใหม่ ๆ เป็นประจำ
ค. ส่งไวรัสคอมพิวเตอร์เข้าสู่ระบบเป็นประจำ
ง. ก็อปปี้แผ่นเกม เพลง ภาพยนต์ใหม่ ๆ อยู่เสมอ
4. เพราะเหตุใดการใช้อินเตอร์เน็ตจึงต้องมีการลงชื่อเข้าใช้และมีรหัสผ่าน
ก. เพื่อไม่ให้เล่นเกม
ข. เพื่อใช้ในการนับสถิติการเข้า
ค. เพื่อเข้าถึงด้วยรหัสผ่านที่ตนชอบ
ง. เพื่อป้องกันการเข้าอินเตอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาติ
5. ข้อใดอธิบายความหมายของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ได้ถูกต้องที่สุด
ก. กระบวนการต้มตุ๋นหลอกลวงผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ข. การโจรกรรมโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของตนเอง
ค. การขโมยความลับทางการค้าของบริษัทโดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ง. การกระทำการใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และทำให้ผู้อื่นได้รับความเสียหาย
6. ผู้ที่กระทำผิดกฎหมายโดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พวกใดคือพวกอาชญากรมืออาชีพ
ก. Cracker
ข. Career Criminal
ค. Com Artist
ง. Darnged Person
7. ข้อใดบอกแนวทางป้องกันปัญหาอาชญากรรม คอมพิวเตอร์ได้ถูกต้อง
ก. วางระบบการติดต่อสื่อสารความเร็วสูง
ข. วางแนวทางและกฎเกณฑ์ในการรวบรวม พยานหลักฐาน
ค. ตรวจสอบความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี สมัยใหม่
ง. ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างบ้าน วัด โรงเรียนให้ เกิดความยั่งยืน
8. สมทรงโพสต์รูปภาพที่ลามกลงในเฟสบุ๊กถือว่ามีความผิดจะต้องต้องได้รับโทษอย่างไร
ก. จำคุกไม่เกิน 4 ปี หรือปรับไม่เกิน 1 แสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ข. จำคุกไม่เกิน 4 ปี หรือปรับไม่เกิน 2 แสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ค. จำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 1 แสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ง. จำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 2 แสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
9. สมหญิงไปโพสต์ด่าว่าเพื่อน โดยไม่มีมูลความจริง สมหญิงต้องรับโทษเช่นไร
ก. จำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 2 หมื่นบาท
ข. จำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 4 หมื่นบาท
ค. จำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 2 แสนบาท
ง. จำคุกไม่เกิน 4 ปี หรือปรับไม่เกิน 4 แสนบาท
10. ผู้ใดส่งอีเมล์ให้แก่บุคคลอื่นก่อให้เกิดความเดือนร้อนรำคาญ โดยไม่สามารถบอกเลิกหรือแจ้งยกเลิกได้ ต้องรับโทษอย่างไร
ก. ปรับไม่เกิน 2 แสนบาท
ข. ปรับไม่เกิน 6 แสนบาท
ค. จำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 2 แสนบาท
ง. จำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 6 แสนบาท

ขอเชิญทำแบบทดสอบออนไลน์ กิจกรรมแบบทดสอบ เรื่อง อาชญากรรมบนโลกออนไลน์ ประจำปี 2565  โดย ห้องสมุดประชชนอำเภอกู่แก้ว  ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกู่แก้ว จังหวัดอุดรธานี

อาชญากรรมออนไลน์ ที่คนไทยมักตกเป็นเหยื่อ

ปัจจุบันอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ หรือ ‘อาชญากรรมทางไซเบอร์ (Cybercrime)’  โดยมิจฉาชีพเหลานี้ใช้เทคโนโลยีเพื่อหลอกเหยื่อให้หลงกลแล้วได้เงินมาแบบง่ายๆ  เป็นภัยร้ายใกล้ตัวเพียงแค่ปลายนิ้ว เพียงแค่เปิดคอมพิวเตอร์หรือใช้งานอินเทอร์เน็ต คุณก็อาจจะตกเป็นเหยื่อจากอาชญากรรมทางไซเบอร์ได้โดยไม่รู้ตัว โดยอาชญากรรมทางไซเบอร์ ที่คนไทยมักจะตกเป็นเหยื่อบ่อยมากที่สุด

เมื่อท่านร่วมกิจกรรมตอบคำถามถูกต้อง 70 % ขึ้นไป ถือว่าท่านผ่านเกณฑ์การทดสอบโดยตรวจผลคะแนนได้ทันที และสามารถรอรับเกียรติบัตรได้ที่อีเมลที่ท่านลงทะเบียนไว้

เกียรติบัตร แบบทดสอบออนไลน์ อาชญากรรมบนโลกออนไลน์

ทำแบบทดสอบ

ที่มา :: Jack Somsak Janpankaew

ท่านสามารถติดตามข่าวสารการศึกษา ข่าวเปิดสอบงานราชการ เปิดสอบครูอัตราจ้าง ข่าวเรียกบรรจุ อบรมออนไลน์ โหลดสื่อการสอน หรืออ่านบทความต่าง ๆ เพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ของเรา //krucomonlines.com ได้ตลอดเวลา และสุดท้ายขอขอบคุณทุกท่านที่เข้ามาเยี่ยมชมเว็บไซต์ของเรา เราจะนำเสนอข้อมูล เนื้อหาดี ๆ มีสาระให้กับทุกท่านอีกครั้งอย่างแน่นอน ขอขอบคุณครับ

Tags

ดาวน์โหลดเกียรติบัตร เกียรติบัตรออนไลน์ แบบทดสอบออนไลน์ แบบทดสอบออนไลน์ได้เกียรติบัตรฟรี 2564 แบบทดสอบได้ใบประกาศ แบบทดสอบไม่ต้องรอเมล

ใบความรู้
รายวชิ าอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหัสวิชา สค0200037

........................................................

การนาวิทยาการท่ีก้าวหน้าทางด้าน คอมพิวเตอร์และ การส่ือสารมาสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับสารสนเทศ ทา
ให้สารสนเทศ มีประโยชน์และใชง้ าน ไดก้ ว้างขวางมากข้ึน ในปัจจบุ นั เทคโนโลยมี ีบทบาทในชวี ติ ประจาวัน ของเรา
ทุก คน เราจึงจาเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจ ในการใช้เทคโนโลยีให้ถูกต้องปลอดภัย ท้ังกับตนเองและผู้อ่ืน ภัย
คุกคามจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการป้องกัน ปัจจุบันอินเทอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทในการใช้
ชีวิตประจาวัน ไมว่ ่าจะเปน็ ด้านการศกึ ษา การดารงชวี ติ การส่ือสาร การศึกษา และอ่ืน ๆ อีกมากมาย เม่ือมีความ
สะดวกสบายมากเท่าใด ความปลอดภัยของข้อมูลที่ เราจะนาเข้าในระบบยิ่งเป็นส่ิงท่ีสาคัญ การเผยแพร่ การ
นาเขา้ ขอ้ มลู ต่าง ๆ ก็เช่นกัน ดงั น้ันจงึ มีความ จาเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งเรียนรแู้ ละทาความเข้าใจ

โลกปัจจุบันเป็นยุคของเทคโนโลยีสารสนเทศหรือที่เรียกว่า ยุคไอที ซ่ึงเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามี
บทบาทและมคี วามสาคัญต่อชีวิตประจาวันของมนุษย์ในหลายด้าน เช่น การติดต่อส่ือสาร การซ้ือขายแลกเปลี่ยน
สินค้าและบริการ การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร เป็นต้น นอกจากจะมีผลดีแล้วแต่ก็ยังเป็นช่องทางหน่ึง ให้
มิจฉาชีพเข้ามาแสวงหาประโยชน์อย่างผิดกฎหมาย หรือทาให้เกิดปัญหาการขยายตัวของอาชญากรรมข้ามชาติ
รวมถึงอาชญากรรมรูปแบบใหม่ ที่มีความซ้อน ซึ่งเรียกว่า ‘’ อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ‘’ ซึ่งในปัจจุบันถือเป็น
ปญั หาทางสังคมอย่างหนึ่งทกี่ าลงั เพมิ่ ความรุนแรงและสร้างความเสยี หายแกส่ ังคมทั่วไป

๑. ความหมายของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์

๑.๑. การกระทาใด ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการใช้คอมพิวเตอร์ ซ่ึงทาให้ผู้อ่ืนได้รับความเสียหาย ใน
ขณะเดยี วกันก็ทาใหผ้ กู้ ระทาความผิดไดร้ บั ประโยชน์ เชน่ การลกั ทรพั ย์อปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์ เป็นตน้

๑.2 การกระทาใด ๆ ท่ีเป็นความปิดทางอาญา ซึ่งจะต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ในการกระทา
ความผดิ น้นั เช่น การบิดเบือนข้อมูล (Extortion) การเผยแพร่รูปอนาจารผู้เยาว์ (child pornography) การฟอก
เงิน (money laundering) การฉอ้ โกง (fraud) การถอดรหัสโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยไม่ได้รับอนุญาต เผยแพร่
ให้ผู้อ่ืนดาวน์โหลด เรียกว่า การโจรกรรมโปรแกรม (software Pirating) หรือการขโมยความลับทางการค้าของ
บรษิ ทั (corporate espionage) เปน็ ต้น

๒. วิธคี ุกคามทางออนไลน์

๒.1 การคุกคามโดยใช้หลักจิตวิทยา เป็นการคุกคามท่ีใช้การหลอกลวงเพื่อให้ได้ข้อมูลท่ีต้องการโดยไม่
ต้องใช้ความชานาญด้านไอที เช่น การใช้กลวิธีการต่าง ๆ เพื่อให้ได้รหัสผ่านหรือส่งข้อมูลที่สาคัญให้ โดยหลอกว่า
จะได้รับรางวัลแต่ต้องทาตามเง่ือนไขท่ีกาหนด ซึ่งส่ิงท่ีเกิดข้ึนอาจป้องกันได้ยากเพราะเกิดจาก ความเชื่อใจ แต่
ป้องกนั ได้โดยใหน้ กั เรยี นระมดั ระวังในการให้ข้อมลู สว่ นตัวกบั บคุ คลอ่นื

๒.2 การคุกคามด้วยเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม ข้อมูลและเน้ือหาท่ีมีอยู่ในแหล่งต่างๆ บนอินเทอร์เน็ตมีเป็น
จานวนมากเพราะสามารถสร้างและเผยแพร่ได้ง่าย ทาให้ข้อมูลอาจไม่ได้รับการตรวจสอบความถูกต้อง และความ
เหมาะสม ดังนั้นข้อมูลบางส่วนอาจก่อให้เกิดปัญหากับนักเรียนได้ 100 แหล่งข้อมูลท่ีมีเนื้อหาไม่เหมาะสม ได้แก่

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอคลองหอยโขง่ จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวชิ าอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหัสวิชา สค0200037

........................................................

แหลง่ ขอ้ มูลทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั ความรนุ แรง การยุยงให้เกิดความ แตกแยก วุ่นวายในสังคม การพนัน ส่ือลามกอนาจาร
เนือ้ หาทีเ่ ป็นการหมนิ่ ประมาท และการกระทาท่ี เกีย่ วข้องกับสง่ิ ที่ผดิ ตอ่ กฎหมายและจรยิ ธรรม

๒.3 การคกุ คามโดยใชโ้ ปรแกรม เปน็ การคุกคามโดยใช้โปรแกรมเป็นเครื่องมือสาหรับก่อปัญหาด้านไอ ที
โปรแกรมดังกล่าวเรียกว่า มัลแวร์ (malicious software: malware) ซึ่งมีหลายประเภท เช่น ไวรัส คอมพิวเตอร์
(Computer Virus), เวิร์ม (Worm), ม้าโทรจัน (Trojan Horse Virus) สปายแวร์ (Spyware) โป รแกรมโฆษณา
(Advertising Supported Software: Adware) และ โปรแกรมเรียกค่าไถ่ (Ransomware) สามารถ
ศึกษาข้อมูลการคุกคามโดยใช้โปรแกรมเพิ่มเติมได้ที่วีดิทัศน์ “ภัยคุกคามทางคอมพิวเตอร์” (URL:
//www.youtube.com/watch?v=nkRjJMRSWCw)

๓ ประเภทของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์

ปัจจุบันอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ทีเ่ กิดข้ึนมีหลากหลายรูปแบบ ท่ีมีผลกระทบต่อความปลอดภัยของชีวิต
และระบบเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งแบง่ ได้ 9 ประเภท ดงั น้ี

๓.๑ อาชญากรรมที่เป็นการขโมย โดยขโมยจากผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (internet service
provider) หรือผ้ทู ีเ่ ปน็ เจา้ ของเว็บไซต์ในอนิ เทอร์เน็ต รวมถึงการขโมยข้อมลู ของหนว่ ยงานหรือองค์กรต่าง ๆ เพ่ือ
ใช้ประโยชน์ในการลักลอบใช้บริการ เช่น การขโมยข้อมูลเก่ียวกับบัญชีผู้ใช้จากผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตเพื่อใช้
บริการอนิ เทอร์เน็ตฟรี เปน็ ตน้

๓.๒ อาชญากรรมที่ใช้การสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพ่ือนามาใช้ขยายความสามารถในการ
กระทาความผิดของตน รวมไปถึงการใชค้ อมพวิ เตอร์ปกปิดหรือกลบเกล่ือนการกระทาของตนไม่ให้ผู้อื่นล่วงรู้ ด้วย
การตั้งรหสั การส่ือสารขึ้นมาเฉพาะระหว่างหมู่อาชญากร ด้วยกันซึ่งผู้อื่นมาสามารถเข้าใจได้ เช่น อาชญากรค้ายา
เสพตดิ ใชอ้ ีเมลใ์ นการตดิ ตอ่ สอ่ื สารกบั เครอื ข่ายยาเสพติด เปน็ ตน้

๓.๓ การละเมิดลิขสิทธิ์และการปลอมแปลง เช่น การปลอมแปลงเช็ค การปลอมแปลงสื่อมัลติมีเดีย
รวมถงึ การปลอมแปลงโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ เปน็ ตน้

๓.๔ การใช้คอมพิวเตอร์เผยแพร่ภาพนิ่งหรือภาพเคล่ือนไหว ลามกอนาจาร รวมถึงข้อมูลที่มีผลกระทบ
ทางลบตอ่ วัฒนธรรมของแตล่ ะสังคม ตลอดจนข้อมลู ท่ไี ม่สมควรเผยแพร่ เชน่ วิธกี ารกอ่ อาชญากรรม สูตรการผลิต
ระเบดิ เปน็ ต้น

๓.๕ การฟอกเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และการส่ือสารเป็นเครื่องมือ ทาให้
สามารถเปล่ียนทรัพย์สิน ท่ีได้จากการประกอบอาชีพผิดกฎหมาย เช่น การค้ายาเสพติด การค้าอาวุธเถื่อน ธุรกิจ
สินค้าหนีภาษี การเล่นพนนั การละเมดิ ลิขสทิ ธ์ิ การปลอมแปลงเงินตรา การลอ่ ลวงสตรีและเดก็ ไปค้าประเวณี เป็น
ตน้ ให้มาเป็นทรพั ย์สนิ ท่ถี กู กฎหมาย

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอคลองหอยโขง่ จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวชิ าอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหัสวชิ า สค0200037

........................................................

๓.๖ อันธพาลทางคอมพิวเตอร์และผู้ก่อการร้าย ซ่ึงมีวัตถุประสงค์ต้ังแต่การรบกวนระบบจนกระท่ังการ
สร้างคมเสียหายให้กับระบบโดยการเข้าไปในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แล้วทาลาย ตัดต่อ ดัดแปลงข้อมูลหรือภาพ
เพ่ือรบกวนผอู้ ื่น สง่ิ ท่นี า่ กลัวที่สุด คือ การเข้าไปแทรกแซงทาลาย ระบบเครือข่ายของสาธารณูปโภค เช่น การจ่าย
นา้ การจ่ายไฟ การจราจร เปน็ ตน้

๓.๗ การหลอกค้าขายลงทุนผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น การประกาศโฆษณา การชักชวนให้เร่ิม
ลงทนุ แตไ่ มไ่ ด้มกี ิจการเหล่านั้นจริง เป็นตน้

๓.๘ การแทรกแซงข้อมูลโดยมิชอบ โดยการนาเอาข้อมูลเหล่าน้ันมาเป็นประโยชน์ต่อตน เช่น การเจาะ
ผ่านระบบอินเทอร์เน็ตเข้าไปแล้วแอบล้วงความลับทางการค้า การดักฟังข้อมูล เพื่อนามาเป็นประโยชน์ต่อกิจการ
ของตน เปน็ ต้น

๓.๙ การใชเ้ ทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ดัดแปลงขอ้ มูลบัญชีธนาคาร หรือการโอนเงินจากบัญชีหน่ึง เข้าไปอีก
บญั ชีหน่ึง โดยท่ีไมม่ ีการเปลี่ยนถ่ายทรพั ยส์ ินกันจริง

๔. การปอ้ งกนั ภัยคกุ คาม การป้องกันภัยคุกคามด้านเทคโนโลยี เราสามารถท าได้โดย การตรวจสอบ
และยืนยนั ตัวตนของตัว ผ้ใู ช้งานกอ่ นเรมิ่ ใชง้ าน ซ่งึ มีดว้ ยกัน 3 รูปแบบคือ

๔.1 ตรวจสอบจากส่ิงท่ีผู้ใช้รู้ เช่น ชื่อผู้ใช้และรหัสผ่าน (Username & password) วิธีนี้ได้รับความ
นยิ มสงู สุด

๔.2 ตรวจสอบจากสิ่งที่ผู้ใช้มี เป็นการตรวจสอบตัวตนจากอุปกรณ์ที ่ผู้ใช้งานต้องมี เช่ น
บัตร สมารต์ การ์ด

๔.3 ตรวจสอบจากส่ิงท่ีเป็นส่วนหน่ึงของผู้ใช้ เป็นการตรวจสอบข้อมูลชีวมาตร เช่น ลายน้ิวมือ ม่าน ตา
ใบหน้า เสยี ง

๕. การต้ังรหสั ผ่าน
รหัสผ่านถือเป็นส่ิงสาคัญในยุคของเทคโนโลยี การเข้าใช้งานระบบต่าง ๆ บนอินเทอร์เน็ต จาเป็นต้อง มี
ช่อื ผใู้ ช้และรหสั ผา่ นเพอื่ เข้าใช้งาน การต้ังรหัสผา่ น จาเปน็ ต้องมีความปลอดภัยกับเจ้าของ เพื่อป้องกัน การร่ัวไหล
ของขอ้ มูล หรือ การใช้แอคเคาน์ ไปในทางท่ีผิด ดังนั้นในการต้ังรหัสผา่ นใหม้ คี วามปลอดภยั สามารถปฏบิ ัตไิ ด้ดังนี้
๕.๑ บัญชีรายชื่อผู้ใช้แต่ละระบบ ควรใช้รหัสผ่านท่ีแตกต่างกัน โดยเฉพาะบัญชีที ใ่ ช้เข้าถึงข้อมูลที ่มี
ความสาคัญ เช่น รหัสผ่านที่ใช้ในการเข้าถึง ข้อมูลที่มีความสาคัญ เช่น รหัสผ่านของบัตรเอทีเอ็ม หลายใบให้ใช้
รหสั ผา่ นตา่ งกัน 101
๕.๒ หลีกเล่ียงการใช้รหัสผ่านโดยใช้วัน เดือน ปีเกิด ชื่อผู้ใช้ ช่ือจังหวัด ชื่อตัวละคร ช่ือส่ิงของต่าง ๆ ที่
เกีย่ วขอ้ ง หรือคาท่ีมอี ยู่ในพจนานกุ รม

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอคลองหอยโขง่ จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวชิ าอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหัสวชิ า สค0200037

........................................................

๕.๓ รหัสผ่านท่ีมีความยาว 10 ตัวอักษรน้ันเดายากกว่ารหัสผ่าน 8 ตัวอักษรถึง 4 พันเท่า ถ้าเดา
รหัสผ่าน 8 ตัวอักษรใช้เวลา 1 วัน เดารหัสผ่าน 10 ตัวอักษรก็ต้องใช้เวลา 4000 วัน เว็บไซต์ในทุกวันนี้มักจะ
ต้องการรหัสผ่านความยาว 8 ตัวอักษรเป็นข้ันต่าอยู่แล้ว แต่ถ้าต้องการความปลอดภัยจริง ๆ 10 ตัวอักษรจะ
ดีกวา่

๕.๔- ผสมผสานทั้งตัวเลข เคร่ืองหมาย ตัวอักษรใหญ่ และตัวอักษรเล็ก เม่ือเราใช้ตัวอักษรใหญ่ เล็ก
ตัวเลข และเคร่อื งหมายต่าง ๆ ลงในรหัสผา่ น โอกาสท่จี ะเดารหัสผา่ นถกู จะมแี ค่ 1 ในหลายแสนล้าน

๕.๕ ไม่บันทึกรหัสผ่านแบบอัตโนมัติบนโปรแกรม Browser โดยเฉพาะหากเคร่ืองคอมพิวเตอร์น้ันเป็น
เครื่องท่ีใช้รว่ มกับผอู้ ื่น

๕.๖ หลกี เล่ียงการบนั ทึกรหสั ผ่านลงในกระดาษ รวมทง้ั อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ด้วย หากจาเป็นต้องบันทึก
ก็ควรจัดเกบ็ ไวใ้ นทท่ี ีป่ ลอดภัย

๕.๗ ไม่บอกรหัสผา่ นของตนเองกบั ผอู้ ่ืน ไมว่ ่ากรณีใด ๆ
๕.๘ หมั่นเปลี่ยนเป็นประจาอาจกระทาทกุ 3 เดอื น
๕.๙ ออกจากระบบทุกคร้ังท่ีเลิกใช้บริการต่าง ๆ บนอินเทอร์เน็ต การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมี
ความรบั ผิดชอบ 1. แนวทางการปฏบิ ตั เิ ม่อื พบเนอ้ื หาท่ีไมเ่ หมาะสม
๕.๑๐ ปฏิเสธการรบั ขอ้ มูล ท าได้โดยไม่เปดิ ดู ไมบ่ ันทึกเกบ็ ไว้ และไม่กดไลค์ (Like)
๕.๑๑ ไม่ส่งตอ่ ไม่แชร์ ไม่เผยแพร่ เพราะนอกจากจะท าใหผ้ อู้ ่ืนเดือดร้อนกับข้อมูลท่ีไม่เป็นความจริงแล้ว
ยัง อาจจะผดิ พ.ร.บ. วา่ ด้วยการกระทาผดิ เกย่ี วกับคอมพวิ เตอร์ ซ่ึงมีโทษท้งั จาท้ังปรบั
๕.๑๒ แจ้งครู หรือ ผปู้ กครอง
๕.๑๓ แจ้งผู้เก่ียวข้องที่ดูแลเว็บไซต์นั้น เช่น Facebook YouTube เพื่อให้เจ้าของเว็บไซต์ ลบเนื้อหา
หรอื ตัดสทิ ธ์ิ (block) หรือจากัดสทิ ธ์ิการใชง้ าน
๕.๑๔ แจ้งเจา้ หนา้ ทร่ี ฐั หรอื ตารวจ เพ่อื ดาเนนิ การตามกฎหมาย

๖. อาชญากรรมทพ่ี บบ่อยบนอินเทอรเ์ นต็

๖.1. การเงนิ – อาชญากรรมทีข่ ัดขวางความสามารถขององค์กรธุรกิจในการทาธุรกรรม อี-คอมเมิรซ์
๖.2. การละเมิดลิขสิทธ์ิ – การคัดลอกผลงานท่ีมีลิขสิทธิ์ รวมถึง การละเมิดลิขสิทธิ์ ใดๆ ที่เก่ียวข้องกับ
การใชอ้ นิ เทอร์เนต็ เพื่อจาหน่ายหรอื เผยแพรผ่ ลงานสรา้ งสรรค์ท่ีได้รับการคุ้มครองลขิ สทิ ธ์ิ
๖.3. การเจาะระบบ – การให้ได้มาซึ่งสิทธิในการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับ
อนุญาต
๖.4. การก่อการรา้ ยทางคอมพิวเตอร์ – การเจาะระบบ โดยมจี ดุ ม่งุ หมายเพอื่ สรา้ งความหวาดกลัว
๖.5. ภาพอนาจารทางออนไลน์ – การประมวลผลหรือการเผยแพร่ภาพอนาจารเด็กถือเป็นการกระทาที่
ผิดกฎหมายและการเผยแพรภ่ าพลามกอนาจารในรูปแบบใดๆ แกเ่ ยาวชนถือเปน็ การกระทาทข่ี ัดต่อกฎหมาย

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอคลองหอยโขง่ จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวชิ าอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหสั วิชา สค0200037

........................................................

๖.6. ภายในโรงเรยี น – ถึงแม้วา่ อนิ เทอร์เน็ตจะเป็นแหล่งทรพั ยากรสาหรับการศึกษาและสันทนาการ แต่
เยาวชนจาเปน็ ต้องไดร้ บั ทราบเกีย่ วกบั วธิ ีการใชง้ านเครื่องมืออย่างปลอดภัยและมคี วามรับผดิ ชอบ

๖.7. การหลอกค้าขายลงทุนผ่านทางเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ เชน่ การประกาศโฆษณา การชักชวนให้เขา้
ร่วมลงทุน

๖.8. การแทรกแซงข้อมลู โดยมิชอบ โดยการนาเอาข้อมูลเหล่าน้ันมาเป็นประโยชนต์ อ่ ตน

๗. ปัญหาท่ีเกยี่ วข้องกับการป้องกันอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
๗.๑ ความยากง่ายในการตรวจสอบ ว่าอาชญากรรมจะเกิดขึ้นเม่ือใด ที่ใด อย่างไร ทาให้เกิดความ
ยากลาบากในการปอ้ งกนั
๗.๒ การพิสูจน์การกระทาผิดและการตามรอยของความผิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งความผิดที่เกิดข้ึนโดยผ่าน
ระบบอินเทอร์เน็ต ตัวอย่างเช่น การท่ีมีผู้เจาะระบบเข้าไปฐานข้อมูลของโรงพยาบาล และแก้ไขโปรแกรมการ
รักษาพยาบาลของผู้ป่วย ทาให้แพทย์รักษาผิดวิธี ซึ่งตารวจไม่สามารถสืบทราบและพิสูจน์ได้ว่าใครเป็นผู้กระทา
ความผิด
๗.3 ปัญหาการรบั ฟังพยานหลักฐาน ซึ่งจะมีลักษณะแตกต่าง ไปจากหลักฐานของคดีอาชญากรรม แบบ
ธรรมดาอยา่ งส้ินเชิง
๗.๔ ความยากลาบากในการบังคับใช้กฎหมาย โดยเฉพาะอย่างย่ิงอาชยากรรมเหล่าน้ีมักเป็น
อาชญากรรมข้ามชาติ ซึ่งกฎหมายของแตล่ ะประเทศอาจครอบคลมุ ไปไม่ถึง
๗.๕ ปัญหาความไม่รู้เก่ียวกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ ของเจ้าพนักงาน หรือเจ้าพนักงานดังกล่าวมีงานล้นมือ
โอกาสทจ่ี ะศึกษาเทคนิคหรือกฎหมายใหม่ ๆจึงทาได้นอ้ ย
๗.๖ ความเปลย่ี นแปลงทางเทคโนโลยสี มัยใหม่ ซึ่งเปลี่ยนแปลงรวดเร็วมากจนหน่วยงานที่รับผิดชอบตาม
ไม่ทัน
๘. แนวทางการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหาอาชญากรรมคอมพวิ เตอร์
๘.1. มีการวางแนวทางและเกณฑ์ในการรวบรวมพยานหลกั ฐาน เพื่อดาเนนิ คดีอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
และชว่ ยใหพ้ นักงานสอบสวน พนักงานอัยการทราบว่าพยานหลักฐานเช่นใด้ควรนาเข้าสู่การพิจารณาของศาล จะ
ได้ลงทาผกู้ ระทาความผิดได้
๘.2. จดั ให้มีผู้ทมี่ ีความรู้ความชานาญในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือเข้าร่วมเป็นคณะทางานในคดีอา
ชยากรรมคอมพิวเตอร์ เพ่อื ให้เกิดประสทิ ธภิ าพในการดาเนนิ คดี
๘.3. จัดต้ังหน่วยงานท่ีเก่ียวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ เพ่ือให้มีเจ้าหน้าที่ท่ีมีความรู้ความ
ชานาญเฉพาะในการปราบปราม และการดาเนนิ คดีอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
๘.4. บัญญัติกฎหมายเฉพาะเกี่ยวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ รวมถึงแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายท่ีมีอยู่ให้
ครอบคลุมการกระทาอนั เปน็ ความผดิ เกี่ยวกบั อาชญากรรมคอมพวิ เตอรท์ ุกปะเภท
๘.5. ส่งเสริมความร่วมมือกับต่างประเทศ ท้ังโดยสนธิสัญญาเก่ียวกับความร่วมมือระหว่างประเทศทาง
อาญาหรือโดยวธิ ีอนื่ ในการสืบสวนสอบสวนดาเนนิ คดี และการปราบปรามอาชญากรรมคอมพิวเตอร์

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอคลองหอยโขง่ จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวชิ าอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหัสวิชา สค0200037

........................................................

๘.6. เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ให้แก่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ หน่วยงาน และองค์กร
ต่าง ๆใหเ้ ขา้ ใจแนวคิดและวธิ ีการ ของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ เพอื่ ป้องกนั ตนเองเป็นเบอ้ื งต้น

๘.7. ส่งเสรมิ จริยธรรมในการใช้คอมพวิ เตอร์ ท้ังโดยการสร้างความรู้ความเข้าใจแก่บุคคลท่ัวไปในการใช้
คอมพิวเตอร์อย่างถูกต้อง โดยการปลูกฝังเด็กต้ังแต่ในวัยเรียนให้เข้าในกฎเกณฑ์ มารยาทในการใช้คอมพิวเตอร์
อย่างถกู วิธีและเหมาสม

๙. มารยาทท่ัวไปในการใช้อินเทอร์เน็ต
๙.1. ไม่ใช้อนิ เทอรเ์ น็ตเพอื่ การทารา้ ยหรือรบกวนผอู้ น่ื
๙.2. ไม่ใช้อินเทอร์เนต็ เพอ่ื การทาผิดกฎหมายหรอื ผดิ ศลี ธรรม
๙.3. ไม่เจาะระบบเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ ของตนเองและผอู้ ืน่
๙.4. ไมใ่ ช้บัญชีอินเทอรเ์ นต็ ของผู้อนื่ และไม่ใชเ้ ครือข่ายท่ไี ม่ไดร้ บั อนุญาต
๙.5. การตดิ ต่อสื่อสารกับผู้อ่ืนบนเครือข่ายอินเทอรเ์ นต็ ต้องใหเ้ กียรตซิ ง่ึ กนั และกัน

๑๐. แนวทางการปอ้ งกันอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ท่สี ามารถปฏบิ ัติได้งา่ ย ๆ มี 4 ขอ้ ดงั นี้
๑๐.1. การป้องกันข้อมลู สว่ นตวั โดยการต้งั รหัสเขา้ ข้อมูลชองไฟล์ขอ้ มูลทต่ี ้องการป้องกัน
๑๐.2. การป้องกันการเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ เช่น การใส่ช่ือ Username และ password, การใช้
สมาร์ทการ์ดในการควบคุมการใช้งาน หรือกุญแจเพ่ือการป้องกันการใช้คอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับอนุญาต, การใช้
อปุ กรณท์ างชีวภาพ เช่น ตรวจสอบเสยี ง ลายน้ิวมอื ฝา่ มือ ลายเซน็ มา่ ยตา เป็นตน้
๑๐.3. การสารองข้อมูล โดยไม่เก็บข้อมูลไว้ท่ีเดียว สามารถสารองไว้ในอุปกรณ์ท่ีใช้อ่านอย่างเดียว เช่น
แผน่ ซีดแี ละแผน่ วีดีโอ
๑๐.4. การตง้ั ค่าโปรแกรมค้นหาและกาจัดไวรัสคอมพวิ เตอร์ เป็นการปอ้ งกันท่นี ิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย
เนื่องจากสามารถปอ้ งกันอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ได้

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ คือพระราชบัญญตั ทิ ่ีวา่ ด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ซ่ึงคอมพิวเตอร์ที่ว่านี้

ก็เป็นได้ทั้งคอมพิวเตอร์ต้ังโต๊ะ คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค สมาร์ตโฟน รวมถึงระบบต่างๆ ท่ีถูกควบคุมด้วยระบบ
คอมพวิ เตอร์ดว้ ย ซง่ึ เป็นพ.ร.บ.ที่ตั้งข้ึนมาเพื่อป้องกัน ควบคุมการกระทาผิดท่ีจะเกิดขึ้นได้จากการใช้คอมพิวเตอร์
หากใครกระทาความผิดตามพ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์น้ี ก็จะต้องไดร้ ับการลงโทษตามท่ีพ.ร.บ.กาหนดไว้

ปจั จบุ นั มีคนใช้คอมพิวเตอร์ รวมถึงสมาร์ตโฟนเป็นจานวนมาก บางคนก็อาจจะใช้ในทางที่เป็นประโยชน์
แต่บางคนก็อาจใช้สิ่งน้ีทาร้ายคนอื่นในทางอ้อมด้วยก็ได้ เราอาจจะได้ยินข่าวเรื่องการกระทาความผิดทาง
คอมพิวเตอร์อยู่บ้าง ซึ่งบางเหตุการณ์ก็สร้างความเสียหายไม่น้อยเลย เพื่อจัดการกับเร่ืองพวกน้ี เลยต้องมีพ.ร.บ.

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอคลองหอยโขง่ จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวชิ าอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหสั วิชา สค0200037

........................................................

ออกมาควบคุม ในเม่ือการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเร่ืองใกล้ตัวเรา พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ก็เป็นเร่ืองใกล้ตัวเราเช่นกันค่ะ
หากเราไม่ร้เู อาไว้ เราอาจจะเผลอไปทาผิด โดยทเ่ี ราไม่ได้ต้ังใจก็ได้

พ.ร.บ. คอมพวิ เตอร์ มกี ่ฉี บับ
ประเทศไทย มี พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ มาแลว้ 2 ฉบบั คอื ฉบบั แรก ปี 2550 และ ฉบบั สอง ปี 2560
โดยฉบับท่ใี ช้งานปัจจุบัน คือ ฉบบั ปี 2560
ความแตกตา่ งสาคัญระหวา่ งฉบบั ปี 2560 กับ 2550 คือ แก้ไขมิให้ “ความผิดหม่นิ ประมาท” เป็น
ความผดิ ตาม พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ อีกต่อไป
เพราะในอดีต ความผิดหม่ินประมาท ถือว่าเข้าข่ายผิด พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ ซึ่งกฎหมายระบุว่า ไม่สามารถยอม
ความได้ ดังน้นั แม้ตอ่ มา คคู่ วามจะเจรจายอมความสาเร็จ หรืออยากถอนฟ้อง ศาลก็ไม่สามารถใช้ดุลพิจนิจที่จะไม่
ลงโทษค่คู วามได้ ส่งผลใหม้ ีคดีฟ้องร้องข้ึนศาลจานวนมากและเกิดปัญหาทางปฏบิ ตั ิ
เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว จึงมีการนา “ความผิดหมิ่นประมาท” ออกจาก พรบ คอมพิวเตอร์ แต่ไปบังคับใช้ด้วย
ประมวลกฎหมายอาญาแทน ทาให้การบงั คับใชก้ ฎหมายมีประสทิ ธภิ าพมากขึ้น
พ.ร.บ. คอมพวิ เตอร์ 2560 มีกหี่ มวด กีม่ าตรา
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2560 มีอยู่ 2 หมวด โดยหมวดท่ีเกี่ยวข้องกับประชาชนคือ หมวด 1 “ความผิด
เก่ียวกับคอมพิวเตอร์” เพราะเป็นหมวดท่ีบอกว่า พฤติกรรมใดท่ีมีความผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ และมีบทลงโทษ
อะไรอยา่ งไร โดยหมวด 1 มมี าตราท่ีควรสนใจท้งั หมด 11 มาตราดังน้ี

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอคลองหอยโขง่ จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวิชาอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหสั วิชา สค0200037

........................................................

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอคลองหอยโขง่ จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวิชาอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหสั วิชา สค0200037

........................................................

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอคลองหอยโขง่ จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวิชาอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหสั วชิ า สค0200037

........................................................

ตัวอยา่ ง การกระทาความผิดเก่ยี วกับ พรบ คอมพิวเตอร์ พร้อมบทลงโทษ
การกระทาความผดิ เก่ยี วกับคอมพวิ เตอร์ ทคี่ นทางานออนไลนอ์ ยา่ งพวกเราไม่ควรทาจะมอี ะไร แล้วหาก
ทาผิด พรบ คอมพวิ เตอร์ มบี ทลงโทษ อะไรบา้ ง
พ.ร.บ. คอมพวิ เตอร์ มาตรา 5 | ตวั อย่างการกระทาผดิ
การเข้าถงึ ระบบคอมพวิ เตอร์ของผู้อ่นื โดยมิชอบ ตัวอยา่ งเชน่
 การแฮคเกอร์ เขา้ ไปดูข้อมลู คอมพวิ เตอรค์ นอนื่ โดยไม่ได้รับอนุญาต
 การใช้ username / password ของผู้อน่ื Login เข้าส่รู ะบบ โดยไม่ไดร้ ับการอนุญาต
บทลงโทษ
ตอ้ งระวางโทษ จาคุกไม่เกิน 6 เดือน ปรับไมเ่ กนิ 1 หมน่ื บาท หรอื ทง้ั จาทงั้ ปรับ
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ มาตรา 9 | ตวั อยา่ งการกระทาผดิ
ทาลาย แกไ้ ข ดัดแปลง นาไฟลอ์ ันตรายเข้าสคู่ อม จนทาให้ขอ้ มูลคอมพิวเตอรข์ องผ้อู ื่นเสียหาย ตัวอย่างเช่น
 การนาไฟล์อันตราย เช่น ไวรัส มลั แวร์ มาสู่คอมพิวเตอรข์ องเพื่อน หรือ คนรจู้ กั จนระบบ

คอมพิวเตอรเ์ สียหาย

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอคลองหอยโขง่ จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวิชาอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหัสวชิ า สค0200037

........................................................

 การแฮคเกอร์ เขา้ ไปดูข้อมลู คอมพวิ เตอร์คนอื่น โดยไม่ได้รับอนุญาต
 การใช้ username / password ของผู้อนื่ Login เขา้ สรู่ ะบบ โดยไม่ไดร้ บั การอนุญาต
บทลงโทษ
ต้องระวางโทษ จาคุกไม่เกนิ 5 ปี ปรับไม่เกนิ 1 แสนบาท หรอื ทง้ั จาทั้งปรับ

พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ มาตรา 11 | ตัวอยา่ งการกระทาผิด

มาตรานี้เก่ยี วข้องโดยตรงกับพ่อคา้ แม่ค้าออนไลนค์ ่ะ เพราะเกย่ี วข้องกับการโปรโมทสนิ ค้าบนอินเตอร์เน็ต
โดยการกระทาท่ีอาจผดิ พ.ร.บ. คอมพวิ เตอร์ 2560 มดี งั นี้

 การสง่ ขอ้ มูลหรืออีเมล์ก่อกวนผอู้ ่นื (สแปม) เพอื่ ขายสนิ ค้าหรอื บรกิ าร จนผู้รบั เกิดความเดอื ดร้อน
ราคาญ โดยไม่มีปุม่ ให้กดเลิกการรบั อเี มล์

 การฝากรา้ นใน FB หรือ IG แบบรัวๆ ซา้ ไปซ้ามา โดยเจ้าของเพจไม่ได้อนุญาต จนเกดิ ความเดอื ดร้อน
ราคาญแก่เจา้ ของเพจหรอื ผ้พู บเห็น

บทลงโทษ
ต้องระวางโทษ ปรบั ไมเ่ กนิ 2 แสนบาท
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ มาตรา 12 | ตวั อย่างการกระทาผิด
กระทาการทาลาย แก้ไข หรือ รบกวนข้อมูลหรือระบบคอมพวิ เตอร์ ของระบบสาธารณะ หรือ ความ
มั่นคง เชน่
 เจาะเขา้ ระบบคอมพิวเตอร์ซ่ึงความคมุ ไฟฟ้าในนครหลวง และสงั่ ดับไฟฟ้าท่ัวเมือง อันก่อใหเ้ กดิ ความ

ว่นุ วายและมผี ลกระทบเปน็ วงกวา้ ง
บทลงโทษ
ตอ้ งระวางโทษ ปรับไมเ่ กนิ 2 แสนบาท
พ.ร.บ. คอมพวิ เตอร์ มาตรา 13 | ตัวอยา่ งการกระทาผิด

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอคลองหอยโขง่ จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวชิ าอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหัสวชิ า สค0200037

........................................................

จาหนา่ ยหรอื เผยแพร่ชดุ คาสัง่ เพอื่ นาไปใชก้ ระทาความผดิ ตัวอย่างเชน่
 เป็นผ้จู าหน่ายชดุ คาส่ังทใี่ ช้ในการเจาะระบบ หรือ รบกวนข้อมูลคอมพวิ เตอร์ เช่น โปรแกรมทา

BOTNET หรือ DOS (Denial of Service)
บทลงโทษ
ตอ้ งระวางโทษ จาคุกไม่เกิน 5 ปี เดอื น ปรบั ไมเ่ กนิ 2 หมนื่ บาท หรือท้งั จาท้ังปรับ
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ มาตรา 14 | ตัวอย่างการกระทาผิด

พ.ร.บ. คอมพวิ เตอร์ มาตรา 14 คือหนึง่ ในมาตราทีป่ ระชาชนควรให้สนใจเปน็ พิเศษ เพราะเปน็ หนึ่งใน
ฐานความผดิ ที่มคี ดฟี ้องร้องมากทีส่ ุด โดยตวั อย่างการกระทาผิด มาตราดงั กลา่ ว มดี งั นี้

 โพสต์หรือแชร์ ข้อมูลปลอม ไมเ่ ปน็ ความจรงิ หลอกลวง (อยา่ งเชน่ แมค่ า้ ออนไลน์โพสต์หลอกลวง
เพ่อื เกบ็ เงนิ ลูกค้า แต่ไม่มีการส่งมอบสินค้าจรงิ โฆษณาธรุ กิจลกู โซ่ที่หลอกลวงเอาเงินลูกค้า โพสขา่ ว
ปลอม เป็นตน้ )

 การกด like & Share ขา่ วหรอื ข้อมลู ปลอม อนั เปน็ การใหเ้ พื่อนใน social network ไดเ้ หน็ ขอ้ มลู
ดงั กล่าวด้วย ก็ถือเป็นความผิดตาม พรบ คอมพวิ เตอร์ มาตรา 14 เชน่ กัน

 เป็นแอดมนิ เพจที่ปลอ่ ยให้มีข่าวหรือข้อมูลปลอมเผยแพรใ่ นเพจตวั เอง โดยมิไดท้ าการลบทงิ้
 โพสหรอื เผยแพรภ่ าพเปลอื ย ภาพลามกอนาจารของคนรู้จัก หรือ คนรักเก่า อันเป็นเหตุให้ผู้อ่นื ได้รบั

ความอบั อาย หรอื เสยี หาย
บทลงโทษ

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอคลองหอยโขง่ จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวชิ าอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหัสวชิ า สค0200037

........................................................

หากเป็นการกระทาทส่ี ่งผลถึงประชาชน ตอ้ งได้รับโทษจาคุกไมเ่ กนิ 5 ปี ปรับไม่เกนิ 1 แสนบาท หรอื ทงั้
จาท้งั ปรับ และหากเป็นกรณีทีเ่ ปน็ การกระทาท่ีส่งผลตอ่ บุคลใดบุคคลหน่ึง ต้องไดร้ บั โทษจาคุกไมเ่ กิน 3 ปี ปรบั ไม่
เกิน 6 แสนบาท หรือท้ังจาทั้งปรับ (แตใ่ นกรณีอย่างหลังนี้สามารถยอมความกันได้)

พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ มาตรา 16 | ตวั อยา่ งการกระทาผดิ
กระทาการเผยแพร่ภาพท่สี ร้างขนึ้ หรือภาพตัดต่อ อนั เป็นเหตุใหผ้ ้อู น่ื ไดร้ บั การดหู มิน่ อับอาย หรือ เสยี
ช่อื เสยี ง ตวั อยา่ งเช่น
 เผยแพรข่ ้อมลู เยาวชน โดยไม่มกี ารปกปิดตวั ตนของเยาวชนท่านนน้ั โดยตามกฏหมาย หากเปดิ เผย

ตัวตนเยาวชนสูส่ าธารณะ อาจทาใหใ้ ช้ชีวิตในสังคมลาบาก อาจถกู ดูหม่นิ เกลียดชัง
 เผยแพร่ภาพของผูเ้ สยี ชีวิต อันสง่ ผลใหพ้ อ่ แมห่ รือคู่สมรสของผู้ตาย เกดิ ความอับอาย
บทลงโทษ
ตอ้ งระวางโทษ จาคุกไม่เกนิ 3 ปี เดือน ปรับไม่เกนิ 2 แสนบาท หรือทั้งจาทง้ั ปรับ
กรณีศึกษา: การทาผดิ กฎหมายคอมพิวเตอร์ ตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์
หลงั จากมกี ารประกาศใช้ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ฉบับท่ี 2 ก็มเี คสทเี่ ข้าข่ายกระทาความผิด พ.ร.บ.
ตวั อยา่ งเคสที่อาจผิดตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอคลองหอยโขง่ จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวิชาอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหัสวชิ า สค0200037

........................................................

เร่งหามือโพสต์ภาพ อาคารเพลินจิตเอียง ผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ฐานนาข้อความเท็จเข้าระบบ
คอมพวิ เตอร์ กอ่ ใหเ้ กดิ ความต่นื ตระหนก

จากกรณีท่ี สมาชกิ เฟซบกุ๊ คนหนงึ่ ไดโ้ พสตภ์ าพชวนหวาดเสียว พร้อมเขียนคาบรรยายว่า "ณ สถานีเพลิน
จิต ตรงโครงการสร้างตึกใหม่ตรงข้ามตึกมหาทุน น่ากลัวจะหัก (ตึก Noble ติด ๆ กันด้วย) #js100radio ช่วย
ประสานตอ่ ท"ี ทาให้ในโลกออนไลน์ต่างต่ืนตระหนก และวิจารณ์กันไปต่าง ๆ นานา อย่างไรก็ตาม ได้มีผู้ใช้เฟซบุ๊ก
รายหนง่ึ เข้ามาแสดงความคิดเห็นว่า ตึกในภาพน่าจะเป็นโรงแรมโรสวูด เพลนิ จิต ซึง่ อยูใ่ นระหว่างก่อสร้าง โดยตัว
อาคารด้านหน้าออกแบบให้มีลักษณะหน้าตัดเหมือนดาบ และเตรียมเปิดบริการในอีกสองปีข้างหน้า

ขณะท่ตี ่อมา ทางผูอ้ านวยการสานักงานเขตปทุมวัน ก็ให้สัมภาษณ์ส่ือมวลชนว่า จากในภาพไม่ได้เกิดจาก
อาคารทรดุ เอียง แต่เปน็ ดไี ซนข์ องตวั ตึกเอง (อ่านขา่ ว : อยา่ แตกต่ืน ตกึ ดังเพลินจติ ไมไ่ ดเ้ อยี งจอ่ ถล่ม-ตงั้ ใจดีไซน์)

จากเรื่องดังกล่าว (15 สิงหาคม 2560) ทวิตเตอร์ @Nalinee_PLE รายงานว่า กองบังคับการตารวจ
นครบาล 1 ส่ัง ผบก.น.6 สน.ลุมพินี เร่งหาตัวมือโพสต์ภาพอาคารย่านเพลินจิตเอียง เพื่อดาเนินคดีตาม พ.ร.บ.
คอมพิวเตอร์ ม.14 (2) นาข้อความเท็จเข้าระบบคอมพิวเตอร์ อันเป็นเท็จก่อให้เกิดความต่ืนตระหนก โทษจาคุก
ไมเ่ กนิ 5 ปี ปรับไม่เกิน 500,000 บาท หรอื ท้งั จาทัง้ ปรบั

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอคลองหอยโขง่ จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวชิ าอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหสั วิชา สค0200037

........................................................

การคกุ คามทางเพศออนไลน์ (Cyber Sexual Harassment)
Cyber Sexual Harassment คอื การใช้ภาษาลวนลามทางเพศผ่านสอ่ื โซเชียลมีเดีย ปัจจุบันพฤติกรรม
คุมคามทางเพศผ่านสังคมออนไลน์สามารถพบเห็นไปแทบทุกช่องทาง เน่ืองจากโซเชียลมีเดียเป็นส่วนหนึ่งในชีวิต
ของคนในสังคม และไม่สามารถระบุตัวตนท่ีแท้จริงของผู้ใช้งานได้ ทาให้การกระทาความผิดเป็นเร่ืองง่ายมากข้ึน
เพราะผู้กระทาความผิดสามารถ ลบทาลายหลักฐานบนโซเชียลมีเดียได้ ทาให้ยากในการติดตาม และยังมีแนวคิด
บางส่วนมองวา่ พฤติกรรมดงั กลา่ วเปน็ การพดู เล่น พูดติดตลก หรือเป็นการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคนอ่ืนไปใน
แนวลามก “เปน็ เรือ่ งปกติทใี่ คร ๆ ก็ทาได้ เพราะเราตา่ งไมร่ จู้ กั ” ไมใ่ ชเ่ ร่อื งผิดแปลก
รูปแบบการเกดิ การคุกคามทางเพศออนไลน์ (Cyber Sexual Harassment)
๑. การเหยียดเพศ
การแสดงความคิดเหน็ ในเชิงดูถกู เหยียดหยามรสนยิ มทางเพศ หรือเพศสภาพของผู้อื่น โดยเหน็ ว่าเปน็
เรือ่ งตลก และนามาล้อเลียนให้อับอาย อาทิ สายเหลือง, ลา้ งต้เู ยน็ , ขุดทอง หรอื เปล่ยี นทอมให้เปน็ เธอ ฯลฯ

๒. การลวนลามทางเพศ
การแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกับเร่ืองเพศ การพูดถึงอวยั วะเพศ (ชาย/หญงิ ) เสนอหรอื ขอทากิจกรรมทาง
เพศกับบคุ คลดังกล่าว โดยไม่สนใจเร่ืองเพศ หรอื อายขุ องผู้ถกู กระทา อาทิ อยากเลีย/อม_ใหล้ ้ม, ไดน้ ้อง_สกั คร้ัง
จะต้ังใจเรียน, เหน็ กลา้ มแลว้ อยาก_ซกั คา, ช่วงนี้ พ่หี วิ ขอกินขา้ วหลามนอ้ งได้ไหม หรอื เหน็ นอ้ งแลว้ พี่อยากเป็น
ผ้ปู ระสบภัย เปน็ ตน้
๓. การขม่ ขู่ทางเพศ
การข่มข่ผู ้ถู กู กระทาและคนสนทิ บนโลกออนไลน์ เพื่อบรรลุวตั ถุประสงค์ทางเพศ โดยพฤติกรรมดังกลา่ ว
ถอื วา่ เป็นการเกาะติดชวี ิตออนไลนข์ องผ้อู ืน่ (Cyberstalking) หรอื อกี กรณี คือ Revenge Porn เป็นการนารปู โป๊
ของเหย่ือมาขม่ ขหู่ รือแก้แคน้ และเหตกุ ารณท์ ่ีพบบอ่ ย คอื เมื่อฝา่ ยหญงิ เลิกกบั ฝ่ายชาย แล้วฝ่ายชายนาภาพโป๊ท่ี
เคยถ่ายตอนเปน็ แฟนกันมาข่มขู่ หรือแกแ้ คน้ ฝา่ ยหญงิ โดยไม่สนใจว่าฝา่ ยหญิงจะได้รับความเสอื่ มเสียหรืออับอาย
เพียงใด
สื่อออนไลนท์ ่ีพบข้อความ Cyber Sexual Harassment
 ทวติ เตอร์
 เฟซบุ๊ก
 ยูทปู
 อินสตาแกรม
 พันทปิ
 การแสดงความคดิ เหน็ ผา่ นการไลฟส์ ด ฯลฯ

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอคลองหอยโขง่ จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวชิ าอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหสั วิชา สค0200037

........................................................

ตัวอยา่ งพฤตกิ รรมทเ่ี ขา้ ขา่ ย Cyber Sexual Harassment
 การแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับคนอืน่ ไปในแนวลามก
 การกระจายขา่ วลอื เร่ืองการร่วมเพศ หรอื นนิ ทาคนอื่นด้วยขอ้ ความบนสอ่ื ออนไลน์
 การโพสต์แสดงความคดิ เหน็ ทางเพศภาพหรือวิดีโอลามกบนส่อื ออนไลน์
 ส่งข้อความและภาพลามกผ่านข้อความ
 กดดันใหค้ นอน่ื มสี ว่ นร่วมในการส่งข้อความลามก
 สง่ ตอ่ ข้อความและภาพลามกผ่านข้อความหรืออเี มล
 แอบอ้างเป็นบุคคลอน่ื บนส่ือออนไลน์ เพื่อแสดงความคิดเห็นลามกหรือเสนอการร่วมเพศ ฯลฯ

ส่ิงทีค่ วรยา้ เตือน เพอ่ื ไม่ให้เกิด Cyber Sexual Harassment
 คนหนา้ ตาดี ไม่ว่าจะเพศใด อายเุ ท่าใด หรือสัญชาติไหน ท่องไวว้ า่ บคุ คลเหลา่ น้ันไมใ่ ช่เหย่ืออารมณ์

ห่ืนทคี่ ณุ จะนามาเล่นสนกุ บนโซเชียลได้
 การแตง่ ตัวเซ็กซ่ี หรือล่อแหลม ไมใ่ ชใ่ บอนญุ าตคกุ คามทางเพศ
 การแสดงความห่นื ไมว่ ่าจะทากับใครก็ตาม การกระทาของคณุ ไมไ่ ดด้ เู ท่ หรือดเู ก่งเหนือใคร แตเ่ ป็น

เร่ืองนา่ อายทีเ่ ข้าขา่ ยผดิ กฎหมาย
 หากคณุ ไม่เคารพ “สิทธสิ ว่ นตวั ” ของผู้อื่น ก็ไม่มสี ิทธเิ รียกร้องให้คนอนื่ เคารพสิทธสิ ่วนตวั ของคุณ

เชน่ กนั ฯลฯ

Cyber Sexual Harassment เข้าขา่ ยความผิดอะไรบา้ ง
ปัจจุบันยังไม่มีตัวบทกฎหมายที่กาหนดเร่ืองการเอาผิดกับผู้กระทาผิดเรื่องลวนลามทางเพศในสังคม
ออนไลน์ เนื่องจาก พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทาความผิดทางคอมพิวเตอร์ หรือ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ 2560 ไม่ได้
บัญญัตคิ วามผดิ เกย่ี วกับการคุกคามทางเพศบนอินเทอร์เน็ตไว้เป็นการเฉพาะ อีกทั้งประมวลกฎหมายอาญา ก็ไม่มี
บทบัญญัติโดยเฉพาะเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวเช่นกัน มีเพียงบทบัญญัติท่ัวไปที่อาจนามาปรับใช้ตามกรณีที่เกิดขึ้น
อาทิ
พ.ร.บ. วา่ ดว้ ยการกระทาความผิดทางคอมพิวเตอร์ 2560
มาตรา 14 ข้อ (4) ท่ีกล่าวไว้ว่า การนาข้อมูลท่ีมีลักษณะอันลามกเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ การกระทา
ดังกลา่ วถอื วา่ มีความผิด อาจตอ้ งรบั โทษจาคุกไม่เกนิ 5 ปี ปรบั ไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจาทง้ั ปรบั
ระมวลกฎหมายอาญา
สาหรบั ในส่วนของประมวลกฎหมายอาญาทีส่ ามารถนามาเทียบเคยี งได้ อาทิ
 มาตรา 59 วรรคสอง กล่าวถงึ เรื่องเจตนา ว่า ผู้กระทาความผิดรอู้ ยูแ่ ลว้ วา่ การกระทาของตน (โพสต์

ขอ้ ความในเชงิ ลามก) จะส่งผลอะไรตอ่ ผถู้ กู กระทาน้นั บา้ ง
 มาตรา 397 กล่าวไว้ว่า บุคคลใดที่กระทาการรังแกหรือข่มเหงผู้อ่ืนจนได้รับความอับอายหรือ

เดือดรอ้ นราคาญ อาจต้องรับโทษจาคุกไมเ่ กิน 1 เดอื น ปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรอื ท้งั จาทง้ั ปรับ

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอคลองหอยโขง่ จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวชิ าอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหสั วชิ า สค0200037

........................................................

//anyflip.com/endcz/bwno/

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอคลองหอยโขง่ จงั หวดั สงขลา


Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita