ใบงานวิชาศาสนาและหน้าที่พลเมือง ประถม กศน

คำนำ เอกสารเล่มนี้เป็นการสรุปเนื้อหาสาระสำคัญรายวิชาศาสนาและหน้าที่พลเมือง (สค๑๑๐๐๒ ระดับ ประถมศึกษา) หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ทั้งนี้ในเอกสาร เล่มนี้ประกอบด้วย ใบความ รู้ ใบงาน และแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ซึ่งตรงกับมาตรฐานการเรียนรู้ระดับ เนื้อหาและตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับผังการออกข้อสอบเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารเล่มนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับผู้เรียน ครู และผู้เกี่ยวข้องในการ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

สำนักงาน กศน.จังหวัดชัยภูมิ มกราคม ๒๕๖๔

สารบัญ เรื่อง

หน้า

ใบความรู้/ใบงานเรื่องความหมายของศาสนา ความสำคัญศาสนา 1 ใบความรู้/ใบงานเรื่องหลักธรรมสำคัญของศาสนาต่างๆ 6 ใบความรู/้ ใบงานเรื่องการปฏิบัติตนตามศาสนาต่างๆ 9 ใบความรู/้ ใบงานตัวอย่างที่ใช้หลักธรรมในการดำเนินชีวิต 12 ใบความรู/้ ใบงานเรื่องการแก้ไขปัญหาความแตกแยกของบุคคล สังคม ชุมชน เพราะความแตกต่าง ทางความเชื่อศาสนาและสังคมด้วยสันติวิธี 16 ใบความรู/้ ใบงานเรื่องความหมายความสำคัญของวัฒนธรรมประเพณี 18 ใบความรู/้ ใบงานเรื่องวัฒนธรรมประเพณีที่สำคัญของท้องถิ่นและของประเทศ 21 ใบความรู/้ ใบงานเรื่องการอนุรักษ์ สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย 25 ใบความรู/ใบงานเรื่องค่านิยมที่พึงประสงค์ของไทยและท้องถิ่น 27 ใบความรู/้ ใบงานเรื่อง การประพฤติปฏิบัติตนตามค่านิยมที่พึงประสงค์ 30 ใบความรู/้ ใบงานเรื่องความหมายของประชาธิปไตย 32 ใบความรู/้ เรื่องสิทธิเสรีภาพบทบาทหน้าที่ของพลเมืองในวิถีประชาธิปไตย 36 ใบความรู/้ ใบงานเรื่องการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติตนตามกฎหมายและการมีส่วนร่วมในการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต 39 ใบความรู/้ ใบงานเรื่องคุณธรรมและค่านิยมพื้นฐานในการอยู่ร่วมกันอย่างปรองดองสมานฉันท์ 43 ใบความรู/้ ใบงานเรื่องรัฐธรรมนูญ 46 ใบความรู/้ ใบงานเรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย 50 ใบความรู/้ ใบงานเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเองและครอบครัว 52 ใบความรู้/ใบงานเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชุมชน 55 ใบความรู้/ใบงานเรื่องกฎหมายอื่น

1

ใบความรู้ที่ 1. ศาสนา ความหมายของศาสนา “ศาสนา”คือลัทธิความเชื่อในหลักการกรรมวิธีการปฏิบัติเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายสูงสุดในชีวิตที่ศาสดาของ แต่ละศาสนาสั่งสอนหรือบัญญัติไว้ 1. ความสําคัญของศาสนา สรุปได 7 ประการ คือ 1. เปนที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจชวยใหมนุษยเกิดความมั่นใจในการดํารงชีวิตและชวยใหรูสึกปลอดภัย 2. ชวยสรางความสามัคคีในหมูมนุษยชวยใหมนุษยรวมมือกันแกไขปญหาตางๆตลอดจนรวมมือกันสรางสรรค สิ่งที่ เปนประโยชนตอศาสนาและชีวิต 3. เปนเครื่องมือขัดเกลาสมาชิกในสังคมใหสมาชิกยึดมั่น เชื่อถือ ปฏิบัติตนเปนคนดีตามคําสอนกลัวบาปที่เกิด จากความประพฤติไมดีตางๆ 4. ชวยพัฒนาและยกระดับจิตใจการกระทําของมนุษยใหสูงขึ้นคือชวยใหมนุษยเสียสละและอดทนอดกลั้น ยิ่งขึ้น ทําความดีมากยิ่งขึ้น เปนตน 5. เปนบอเกิดแหงศาสตรความรูดานศิลปะขนบธรรมเนียมประเพณีตางๆมีกําเนิดจากศาสนา 6. ชวยใหมนุษยมีอิสระคําสอนของศาสนาเสนอแนวทางที่มนุษยสามารถฝกตนใหพนจากกิเลสมีอิสระจาก กิเลสทั้งปวง 7. เปนสัญลักษณ แสดงถึงความดีงามและพลังแหงความสามัคคีความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันของบุคคลในแต่ ละศาสนา

2

2 ประวัติศาสดา 2.1 พุทธประวัติ ศาสดาของศาสนาพุทธคือ พระพุทธเจ้า ทรงมีพระนามเดิมว่า เจ้าชายสิทธัตถะ กำเนิดในตระกูล กษัตริย์ในยุคที่ศาสนาอินดูเจริญรุ่งเรืองในชมพูทวีป พระองค์ประสูติ ณ ลุมพินีวัน แคว้นสักกะ เมืองกบิลพัสด์ (ปัจจุบันคือเมืองรุมมินเด ประเทศเนปาล)ทรงประสูติ ในวันศุกร์ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ปีจอ ก่อนพุทธศักราช 80 ปี เมื่อประสูติได้ 7 วัน พระราชมารดา คือ พระนางสิริมหามายาสิ้นพระชนม์ พระราชบิดาของพระองค์ คือ พระเจ้าสุทโธทนะจึงให้พระเจ้าน้าคือพระนาประชาบดีโคตรมี เป็นผู้เลี้ยงดูพระเจ้าสุทโธทนะได้เชิญพราหมณ์ มาทำนายลักษณะพระโอรส พราหมณ์ได้พยากรณ์พระราชกุมารว่า "ถ้าออกบวชจะได้เป็นศาสดาเอกของโลก ถ้าทรงเป็นฆราวาสจะได้เป็นพระจักรพรรดิ" พระเจ้าสุทโธทนะจึงปรารถนา จะให้เจ้าชายสิทธัตถะเพลิดเพลิน ในความสุขทางโลก เพื่อจะได้ให้เจ้าชายสิทธัตถะเป็นพระจักรพรรดิดังนั้นพระราชบิดาจะสร้างปราสาทที่งดงาม 3 หลัง ให้ประทับแต่ละฤดูและให้ศึกษาเล่าเรียนศิลปวิทยากับสำนักอาจารย์วิศวามิตร จ้าชายหรอภิเษกสมรส กับพระนางพิมพา ถึงแม้พระราชบิดาจะหางอำนวยความสุข ความสะดวกสบายให้พระองค์แต่เจ้าชาย ธรรมและทรงค้นพบสัจธรรมในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ คือวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 6 ปีระกา ก่อนพระพุทธศักราช45 ปี ทรงมีพระชนมายุ45 พรรษา โกณฑัญญะ ได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นคนแรกและปัญจวัคคีย์ทั้งหมด จึงบวชเป็นภิกษุ จึงถือว่าเกิด พระพุทธศาสนา ครบสมบูรณ์คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นไตรสวรรณคตณ์ ซึ่งเป็นที่เคารพของชาว พุทธต่อมาพระองค์ทรงเผยแพร่ศาสนาอยู่ 45 ปี และปรินิพพานที่เมืองกุลินารา ในวันเพ็ญเดือน 6 วันเดียวกับ ที่พระองค์ทรงประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน เรียกว่าเป็นวันวิสาขบูชา เป็นวันของชาวพุทธ 2.2 ประวัติพระเยชู คริสต์ศาสนาเป็นศาสนา 1 ใน 3 ศาสนาสำคัญของโลกในประเทศไทยมีจำนวนผู้นับถือคริสต์ศาสนา มากเป็นอันดับ 3 ศาสนาคริสต์ พัฒนามาจากศาสนายูดาย คำว่า"คริสต์" มีรากศัพท์มาจากภาษาโรมันและ ภาษากรีก แปลว่าผู้ปลดเปลื้องความทุกข์ พระเยชูเป็นผู้ให้กำเนิดศาสนาคริสต์ ท่านเกิดที่หมู่บ้านนาซาเรท แคว้นกาลิลี ห่างจากนครเยรูชาเล็มประมาณ 55 ไมล์ มารดาของพระเยซูชื่อมาเรียนหรือมารีย์บิดาซื่อโยเซฟ อาชีพช่างไม้ ตามประวัติมาเรียนมารดาของพระเยซูนั้น ตั้งครรภ์มาก่อนขณะที่โยเซฟยังเป็นคู่หมั้น ร้อนถึงเทว ฑูตของพระเจ้า คือ พระยะโฮวาห์หรือยาห์เวห์ต้องมาเข้าฝันบอกโยเซฟให้รู้ว่าบุตรในครรภ์ของมาเรียนเป็น บุตรของพระเจ้า คือ พระยะโฮวาห์หรือยาห์เวห์เป็นผู้มีบุญมากให้ตั้งชื่อว่าพระเยซูต่อไปคนผู้นี้จะช่วยไถ่บาปให้ ชาวยิว รอดพ้นจากความทุกข์ตั้งปวง

3

2.3 ประวัติพระนบีมูฮัมหมัด ศาสดาของศาสนาอิสลามคือ พระนบีมฮู ัมหมัด ท่านเกิดเมื่อวันจันทร์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 1113 เมือง เมกกะ (นักกะ) ประเทศชาอุดีอาระเบียบ บิดาชื่ออับดุลเลาะห์ มารดาชื่ออามีนะในตระกูลฮาซิม เผ่ากูเรช บิดา สิ้นชีวิตก่อนพระนบีมูฮัมหมัดเกิด มารดาสิ้นชีวิตเมื่อท่านมีอายุได้ 6 ขวบ จึงอยู่ในความอุปการะของและลุง ตามลำดับ ท่านได้แต่งงานกับหญิงม่ายชื่อคอดียะ เป็นเจ้าของกิจการค้า มีบุตรธิดารวม 7 คน (ชาย 3 คน หญิง 4 คน) เมื่อท่านได้อายุ 40 ปี ท่านได้ขึ้นไปหาความวิเวกที่ถ้ำหินเราะ บนภูเขานูริเทพยิมรออิลที่เป็นบริวารของ พระอันเลาะห์เจ้าได้ลงมาบอกว่าพระอันเลาะห์ได้แต่งตั้งให้ท่านเป็นศาสดาเผยแผ่ศาสนาอิสลามของพระองค์ ท่านจึงเป็นพระนาบีหรือเป็นศาสนาทูตหรือตัวแทนของ 2.4 ประวัติศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู เป็นศาสนาที่มีผู้นับถือจำนวนมากในโลกเช่นกันสำหรับในประเทศไทยมีผู้นับถือจำนวนน้อยที่สุด แต่ อย่างไรก็ตมวัฒนธรรมประเพณีไทยหลายอย่างที่สืบทอดมาถึงปัจจุบันมีการนำศาสนาพราหมณ์มาปะปนอยู่ ค่อนข้างมาก เช่น พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เป็นศาสนาประเภทพระหุเทวนิยม เชื่อในเทพหลายองค์ คือ พระอิศวรเป็น ผู้สร้างโลก นอกจากนั้นยังมีพระนารายณ์ พระพรหม พระอุมา พระพิฆเณศ ซึ่งทำหน้าที่ให้กับโลกต่าง ๆ กัน ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ไม่มีศาสดา ผู้สืบทอดศาสนาพราหมณ์ ได้แก่ พราหมณ์ นักบวช มีหน้าที่ศึกษาคัมภีร์ ร่ายเวทเป็นผู้นำสวดมนต์และประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ ทางศาสนา รวมทั้งผู้ศรัทธาเลื่อมใส ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู สถานที่ใช้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ได้แก่ โบสถ์ สัญลักษณ์ของศาสนาพราหมณ์ ใช้อักษรเทวนาเครีที่ เขียนว่า"โอม" ซึ่งหมายถึงเทพเจ้าทั้ง 3 ที่สำคัญมากคือ พระพรหม เป็นผู้สร้างโลกต่าง ๆ พระวิษณุ เป็นผู้ คุ้มครองโลกต่าง ๆ นอกจากนี้ยังนิยมสร้างเครื่องหมายแนวนอน 3 เส้น ไว้ที่หน้าผากเหนือคิ้วซึ่งหมายถึงที่นั่ง ของสีหะ คือ มหาเทพที่ตนนับถือ

4

ใบงานที่ 1 พุทธประวัติ

1. พระพุทธเจ้าทรงมีพระนามเดิมว่า

ตอบ……………………………………………

3. พระพุทธเจ้าประสู ติเมื่อใด

2. ใครเป็ นผูใ้ ห้กาเนิดพระพุทธเจ้า

ตอบ ................................................

4. ตอนที่ประสู ติออกมาทรงเดินได้กี่กา้ ว

ตอบ.......................................................... ตอบ………………………………

5. อภิเษกสมรสกับใคร

6. มีพระราชโอรสพระนามอะไร

ตอบ……………………………. ตอบ……………………………

7. พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู ้เป็ นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเมื่อใด

8. พระพุทธเจ้าปรินิพานเมื่อใด

ตอบ…………………………………

ตอบ...............................................

5

ใบความรู้ที่ 2 หลักธรรมของศาสนาต่างๆ เรื่องที่ 3 หลักธรรมของศาสนาพุทธ พระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าเป็นตัวแทนพระพุทธเจ้าที่ปรินิพานไปแล้ว เมื่อถึงคราวที่ศาสนาพุทธ เกิดปัญหามีความเสื่อมลงเนื่องจากพุทธบริษัท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งสอนของ พระพุทธเจ้า จะมีการนำพระไตรปิฎกมาสั่งคายนา มีการตรวจสอบชำระให้ถูกต้อง วัดในสมัยนำเก็บพระไตรปิฎก ที่จารึกไว้ในใบลานสมุดข่อย เก็บไว้ที่ศาลาธรรมที่ตั้งอยู่กลางน้ำ เพื่อป้องกัน มอด ปลวก กัดกินทำลาย หัวใจของศาสนาพุทธ โอวาทปาติโมกข์ พระพุทธองค์ทรงประกาศหัวใจของศาสนาพุทธ ในวันมาฆบูชา เป็นวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 3 ซึ่งเป็นวัน มหัศจรรย์คือ พระสงฆ์ 1,250 รูป ล้วนเป็นพระอรหันต์มาประชุมโดยมีได้นดั หมาย พระสงฆ์เหล่านีล้ ้วนเป็นผู้ที่พระพุทธเจ้าโปรด ประทานบวชให้ด้วยพระองค์เองด้วยวิธีอหิภิกขุอุปสัมปทาและเป็นวันที่พระจันทร์เสวยฤกษ์เต็มดวงพระพุทธเจ้าทรงประกาศหัวใจ ของศาสนาพุทธไว้ในโอวาทปาฏิโมกข์ มีอยู่ 3 ข้อคือ

1. การไม่ทำบาปอกุศลทั้งปวง คือไม่ทำชั่ว 2. การทำบุญกุศล คือให้ทำความดี 3. การทำจิตให้ผ่องใสไกลจากความเศร้าหมองของกิเลส 3.2 หลักธรรมของศาสนาคริสต์ พระธรรมคำสอนของศาสดาจะปรากฏในพระคริสต์คัมภีร์ คัมภีร์ไบเบิลผู้นับถือคริสต์ศาสนา ทุก คนต้องยึดมั่นในหลักปฏิบัติสำคัญของคริสต์ศาสนา เรียกว่าบัญญัติ 10 ประการ คือ 1. จงนมัสการพระเจ้าเพียงองค์เตียว อย่าเคารพรูปบูชาอื่น 2. อย่าออกนามพระเจ้าอย่างพล่อย ๆ โดยไม่สมเหตุสมผล 3. จงไปวัตวันพระอันเป็นวันศักดิ์สิทธิ์ 4. จงเคารพนับถือบิดา 5. จงอย่าฆ่าคน 6. จงอย่าทำลามก 7. จงอย่าลักขโมยจงอย่าพูดเท็จ หรือนินทาผู้อื่น 9. จงอย่าปลงใจในความอุลามก 10. จงอย่ามักได้ในทรัพย์ของเขา

6

หลักคำสอนของศาสนาคริสต์ที่สรุปสำคัญมา 2 ข้อ คือ 1. จงรักพระเจ้าอย่างสุดจิตสุดใจ 2. จงรักเพื่อนบ้าน (เพื่อนมนุษย์) เหมือนรักตัวเอง 3.3 หลักธรรมของศาสนาอิสลาม หลักธรรมของศาสนาอิสลาม จารึกไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน ซึ่งในอดีตถูกจารึกไว้ในหนังสัตว์ กระดูกสัตว์ หลักปฏิบัติของศาสนาอิสลาม 5 ประการ คือ 1. ต้องปฏิญาณตนว่า จะไม่มีพระเจ้าองค์อื่นนอกจากพระอัลเลาะห์ โดยมีพระนบีมูฮัมหมัด เป็นศาสนทูต รับคำสอนของพระองค์มาเผยแผ่ให้ชาวมุสลิม 2. ต้องนมัสการพระอัลลาะห์เพื่อสรรเสริญขอพรต่อพระองค์วันละ 5 ครั้งในเวลาใกล้พระ อาทิตย์ขึ้น บ่าย เย็น พลบค่ำ และกลางคืน 3. ปีหนึ่งต้องถือศีลอด (อัศศิยาบา) เป็นเวลา 1 เดือน โดยงดการบริโภคอาหาร น้ำดื่ม ตั้งแต่ พระอาทิตย์ขึ้นจนพระอาทิตย์ตก 4. ต้องบริจาคทาน (ชะคาด) เพื่อพัฒนาและชำระจิตให้สะอาดหมดจดบริสุทธิ์ยิ่งขึ้น 5. ในช่วงชีวติ หนึ่งควรไปประกอบพิธีฮัจญ์ คือเดินทางไปประกอบศาสนกิจที่มัสยิดใบดูดุล เลาะห์ ณ เมืองเมกกะ อย่างน้อย 1 ครั้ง 3.4 หลักธรรมของศาสนาพราหมณ์ – ชินดู ศาสนาพราหมณ์ -ชินดู เชื่อว่า พระพราหมเป็นเทพเจ้าสูงสุด เป็นผู้สร้างโลกและสรรพสิตลอดจนกำหนด โชคชะตาชีวิตของคนและสัตว์ เพราะฉะนั้นวิถีชีวิตแต่ละคนจึงเป็นไปตามพรหมลิขติ แต่ละคนก็อาจเปลี่ยนวิถี ชีวิตได้หากทำให้พระพรหม เห็นใจและโปรดปรานโดยการบวงสรวงอ้อนวอน และทำความดีต่อพระองค์ หาก ตายไป ก็จะไปเกิดในสุคติภูมิและหากโปรดปรานที่สุดก็จะไปอยู่กับพระองค์ชั่วนิจนิรันดร

7

ใบงานที่ 2 เรื่องหลักธรรมสำคัญของศาสนาพุทธ

คำชี้แจง ให้นักศึกษาศึกษาข้อมูลเรื่องความสำคัญของพระพุทธศาสนาแล้วสรุปเป็นผังความคิด

........................................... ........................................... ........................................... ........................................... ...........................................

........................................... ........................................... ........................................... ........................................... ...........................................

.................................................................... .................................................................... ....................................................................

….................................................................. …................................................................... …...................................................................

8

ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การปฏิบัติตนตามศาสนาต่างๆ 3. การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาพุทธ พระพุทธศาสนาหลักธรรมที่สำคัญสำหรับการปฏิบัติตน ดังนี้ 1.มีความเมตตากรุณาช่วยเหลือกัน 2.เคารพในกรรมสิทธ์ทรัพย์ของผู้อื่น 3.สำรวมระวังไม่ประพฤติผิดในกาม 4.ไม่พูดเท็จ 5.กล่าวถ้อยคำที่สร้างความสามัคคี 6.พูดแต่คำสุภาพ 7.พูดแต่ความจริง 8.ไม่โลภอยากได้ของเขา 9.ไม่คิดร้ายผู้อื่น 10.มีความเห็นชอบ 4.2 การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาคริสต์ การปฏิบัติตามคำสอนศาสนาคริสต์ มีดังนี้ 1. การละเว้นความชั่ว มีขอ้ บัญญัติ ไว้ 10 ประการ ที่สอนให้เว้นความช้ำ เซ่น ไม่ฆ่าคน ไม่ผิดประเวณี ไม่ ลักทรัพย์ ไม่ใส่อารมณ์ ไม่นินทา ไม่คิดมิชอบ ไม่โลภ ในสิ่งของผู้อื่น 2. ความขยัน ศาสนาคริสต์ยกย่องคนขยัน คนทำงานและไม่ชอบคนเกียจคร้าน 3. ความซือ่ สัตย์ หาสนาคริสต์สอนให้มนุษย์ต้องซื่อสัตย์ต่อพระเจ้า 4. ความรู้จักพอ สอนให้รู้จักพอกับความมั่งคั่งและเกียรติยศ 5. การอยู่ร่วมกันในครอบครัวความรักเพื่อนมนุษย์ สอนให้บุตรคารพและเชื่อฟังคำสอนของบิดามารดา 6. ความรักเพื่อนมนุษย์ สอนให้บุตรเคารพและเชื่อฟังคำสอนของบิดามารดา

9

4.3 การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาอิสลาม ศาสนาอิสลามมีคำสอนสำหรับการปฏิบัติตน ดังนี้ 1. การทำความดีละเว้นความชั่ว ศาสนาอิสลามสอนให้กระทำความดียับยั้งความชั่ว และให้ศรัทธาในพระเจ้า 2. ความสัจจริง คือ การมพูดโกหก และทำตามสิ่งที่ตนพูด 3. ความพอดี คือสอนให้ทำตัวให้พอเหมาะ คือเดินสายกลาง 4. กรรักษาความสะอาดทากาย คือการชำระจิตใจให้สะอาดและการทำความสะอาดทางกายก่อนการทำ ละหมาด 5. ความเอื้อเฟื้อแบ่งปีน ศาสนาอิสลามถือว่ามนุษย์ที่ดี คือผู้บำเพ็ญประโยชน์ต่อเพื่อนมนุษย์จึงมีคารบริจด ทานที่เรียกว่า "ซะกาต" 6. การแสวงหาความรู้ คือ การแสวงหาความรู้ทั้งทางโลกและทางธรรมความรู้ทางโลกจะช่วยให้ประกอบ อาชีพลี้ยงตัวและครอบครัวได้ ส่วนทางธรรมจะช่วยกล่อมเกลาจิตใจให้พ้นจากอำนาจฝ่ายต่ำ 4.3 การปฏิบัติตนตามศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู มีคำสอนให้คนปฏิบัติเพื่อยกระดับชีวิตให้สูงขึ้นให้บรรลุจุดมหมายที่สูงสุด คือ โมกษะอาศรม 4 ได้แก่ 1. พรหมจารี หมายถึง ผู้เป็นนักศึกษามีหน้าที่ศึกษาเล่าเรียน ประพฤติตนเป็นพรหมจรรย์ในสำนักอาจารย์ พร้อมปรนนิบัติรับใช้อาจารย์ 2. คฤหัสถ์ หมายถึง ผู้ครองเรือน ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าครอบครัว 3. วานปรัสถ์ หมายถึง ผู้อยู่ป่า แสวงหาความสงบฝึกจิตให้บริสุทธิ์ ปฏิบัติตนเป็นประโยชน์ต่อสังคม เช่น เป็นอาจารย์ให้การศึกษา 4. สันยาสี หมายถึง ผู้สละโลก เป็นระยะสุดท้ายของชีวิต สละโลกโดยสิ้นเชิง

10

ใบงานที่ 3 เรื่อง การปฏิบัติตนตามศาสนาต่างๆ

คำชี้แจง ให้เขียนคำตอบลงในตารางให้ถูกต้อง

ลำดับ 1.

2.

3.

ศำสนำ

หลักธรรมสำคัญ

11

ใบความรู้ที่ 4 เรื่องที่ 5 บุคคลตัวอย่างที่ใช้หลักธรรมทางศาสนาในการดำเนินชีวิต สำหรับบุคคลที่ขอยกมาเป็นตัวอย่างในการใช้หลักธรรมทางศาสนาในการดำเนินชีวิต คือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชพระมหากษัตริย์ไทยทรงเป็นบุคคลตัวอย่างที่ใช้หลักธรรมในการ ดำเนินชีวิต พระองค์ทรงเป็นพุทธมามะกะ และทรงเป็นองค์อัครศาสนูปถัมภกของศาสนาทุกศาสนาในประเทศ ไทย หลักการทรงงานของพระองค์ที่สามารถรวบรวมได้มีดังต่อไปนี้ คือ 1. ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ การที่พระราชทานโครงการใดโครงการหนึ่งทรงศึกษาข้อมูล รายละเอียด อย่างเป็นระบบทั้งจากข้อมูลเบื้องต้นจากเอกสารแผนที่สอบถามจากเจ้าหน้าที่นักวิขาการ 2. ระเบิดจากข้างใน พระองค์ทรงมุ่งเน้นเรื่องการพัฒนาตนทรงตรัสว่าต้องระเบิดจากข้างใน หมายความ ว่า ต้องสร้างความเข้มแข็งให้คนในขุมขนที่เราเข้ไปพัฒนาให้คิดสภาพพร้อมที่จะรับการพัฒนาเสียก่อน 3. แก้ปัญหาที่จุดเล็ก พระองค์ทรงมองเห็นปัญหาในภาพรวมก่อนเสมอ แต่การแก้ปัญหาของพระองค์จะ เริ่มที่จุดเล็ก ๆ 4. ทำตามลำดับชั้นตอนในการทรงนพระองค์จะเริ่มต้นจากสิ่งที่จำเป็นที่สุดของประชาชนก่อน ได้แก่ สาธารณสุข เมื่อมีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงแล้วก็จะสามารถทำประโยชน์ด้นอื่น ๆ ต่อไปไต้ ต่อจากนั้นก็จะเป็น เรื่องสาธารณูปโภคพื้นฐานและสิ่งจำเป็นในการประกออาชีพ เช่น ถนน แหล่งน้ำเพื่อการเกษตร 5. ภูมิสังคมการพัฒนาใดๆ ต้องคำนึงถึงสภาพภูมิประเทศของบริเวณนั้นว่าเป็นอย่างไร และสังคมวิทยา เกี่ยวกับลักษณะนิสัยใจคอของคน ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีในแต่ละท้องถิ่นมีความแตกต่างกัน 6. องค์รวมทรงมีวิธีการคิดอย่างองค์รวม คือการมองอย่างครบวงจร ในการพระราชหนพระราชดำริ เกี่ยวกับโครงการหนึ่งนั้นจะทรงมองเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นและแนวทางแก้ไขอย่างเชื่อมโยง ดังเช่น กรณี"ทฤษฎี ใหม่" 7. ไม่ติดตำราการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ เป็นการพัฒนาที่รอมขอมกับสภาพธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และสภาพสังคมจิตวิทยาแห่งชุมชน 8. ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด พระองค์ทรงประหยัด เช่น หลอดยาสีฟันพระทนต์นั้น พระองค์ ทรงใช้อย่างคุ้มค่า ในปีหนึ่งพระองค์เบิกดินสอ 12 แห่งทรงใช้เดือนละแท่งใช้กระทั่งกุด 9. ทำให้ง่าย พระองค์กรงมีพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถในการคิดค้นดัดแปลง ปรับปรุงและ แก้ไขพัฒนาประทศตามแนวพระราชดำริ ทรงใช้กฎแห่งธรรมชาติเป็นแนวทาง ตัวอย่างเช่น การปลูกหญ้าแฝก เป็นหญ้าคลุมดินเพื่อป้องกันการพังทลายของหน้าดิน 10. การมีส่วนร่วม พระองค์ทรงเป็นนักประชาธิปไตย จึงทรงนำประชาพิจารณ์มาใช้ในการบริหาร ดังพระ ราชดำรัสตอนหนึ่งว่า "สำคัญที่สุดต้องหัตทำใจให้กว้างหนักแน่นรู้จักรับฟังความคิดเห็น 11. ประโยชน์สว่ นรวม ในการปฏิบัติพระราชกรณียกิจ และการพระราชทานพระราชดำริ พระองค์ทรง รำลึกถึงประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลักสำคัญ

12

12. บริหารรวมที่จุดเดียว เป็นรูปแบบการบริหารแรงงานแบบเบ็ดเสร็จที่เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกโดยหงให้ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เป็นตันแบบในการบริการรวมที่จุดเดียว 13. ทรงใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ หากเราต้องการแก้ไขธรรมชาติจะต้องใช้ธรรมขาติช่วยเหลือ เช่น การ แก้ไขปัญหาป่าเสื่อมโทรมได้พระราชทานพระราชดำริการปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก 14. ใช้อธรรมปราบอธรรม ทรงนำความเจริญ กฎเกณฑ์ของธรรมชาติมาเป็นหลักการ แนวปฏิบัติที่สำคัญ ในกรแก้ปัญหาและปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสภาวะที่ไม่ปกติเข้าสู่ระบบที่เป็นปกติ เช่น การนำน้ำดีขังไล่น้ำเสีย หรือเจือจางน้ำเสียให้กลับเป็นน้ำดีการบำบัดน้ำเน่าเสียโดยใช้ผักตบขวาซึ่งมีตามธรรมชาติดูดซึมสิ่งสกปรก ปนเปือ้ นในน้ำ ดังพระราชดำรัสว่า -ใช้อธรรมปราบอธรรม" 15. ปลูกป่าในใจคน ปัญหาการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติให้กลับคืนมาจะต้องปลูกจิตสำนึกในการรักผืนป่า ให้แก่คนเสียก่อ ดังพระราชดำรัสความตอนหนึ่งว่า -..เจ้าหน้าที่ป่าไม้ควรจะปลูกต้นไม้ลงในใจคนเสียก่อนแล้ว คนเหล่านั้นก็จะพากันปลูกตันไม้ลงบนแผ่นดินและรักษาต้นไม้ด้วยตนเอง..." 16. ขาดทุนคือกำไร หลักการคือ ...ขาดทุนคือกำไร Our loss is gain...การเสียคือการได้ ประเทศชาติก็ จะก้าวหน้า และการที่คนอยู่ดีมีสุขนั้นเป็นการนับที่เป็นมูลค่าประเมินไม่ได้... หลักการคือการให้และการ เสียสละส่ผลให้มีผลกำไรคือความอยู่ดีมีสุขของราษฎร 17. การพึ่งตนเอง พระองค์ทรงมีพระราชดำรัสความตอนหนึ่งว่า...การช่วยเหลือสนับสนุน ประชาชนใน การประกอบอชีพและตั้งตัวให้มีความพอกินพอใช้ก่อนอื่นเป็นสิ่งสำคัญยิ่งยวด เพราะผู้มีอาชีพและฐานะเพียง พอที่จะพึ่งพาตนเองได้ ย่อมสามารถสร้างความเจริญในระดับสูงขั้นต่อไป..." 18. พออยู่พอกิน การที่พระองค์ทรงเสด็จไปเยี่ยมประชาชน ทรงเข้าพระทัยปัญหาอย่างลึกซึ้งถึงเหตุผล มากมายที่ทำให้ราษฎรอยู่ในวงจรแห่งทุกข์เข็ญ จากนั้นจึงพระราชทานความช่วยเหลือให้ราษฎรเพื่อให้มีชีวิต อยู่ในชั้นพออยู่พอกินก่อนแล้วจึงค่อยขยับขยายให้มีสมรรถนะที่ก้าวหน้าต่อไป 19. เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระองค์มีพระราชดำรัสชี้แนะแนวทางแห่งการดำเนินชีวิต โดยยืดถือ หลักความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมทั้งความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันที่ดีพอสมควร 20. ความซื่อสัตย์ สุจริต จริงใจต่อกัน พระองค์มีพระราชดำรัสว่า ".ผู้ที่มีความสุจริตและบริสุทธิ์ใจ แจะมี ความรู้น้อยก็ย่อมทำประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมได้มากกว่าผู้มีความรู้มากแต่ไม่มีความสุจริตไม่มีความบริสุทธิ์ใจ..." 21. ทำงานอย่างมีสุข พระองค์ทรงตรัสว่า ..ทำงนกับฉัน ฉันไม่มีอะไรจะให้นอกจกความสุขร่วมกันในการ ทำประโยชน์ให้กับผู้อื่น..." 22. ความเพียร : พระมหาชนก จกพระราชนิพนธ์พระมหาชนก ซึ่งเป็นตัวอย่างของผู้มีความเพียร พยายาม แม้จะไม่เห็นฝั่งก็ยังว่ายน้ำต่อไป เช่นเดียวกับพระองค์ที่ทรงริเริ่มทำโครงการต่าง ๆ ในระยะแรกที่ไม่มี ความพร้อมในการทำงนมากนักทรงใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองคงมั่นพัฒนาบ้านเมืองให้เกิดความร่มเย็นเป็น สุข 23. รู้ รัก สามัคคี พระองค์ทรงมีพระราชดำรัส คำสามคำนี้ ให้นำไปใช้ได้ทุกยุคทุกสมัย รู้ คือ การลงมือทำสิใด โดยรู้ถึงปัจจัยทั้งหมด รู้ถึงปัญหาและรู้ถึงวิธีการแก้ปัญหา รัก คือ ความรัก เมื่อรู้แจ้ง จะต้องรักการพิจารณาที่จะเข้าไปลงมือปฏิบัติแก้ไขปัญหาอื่น

13

ใบงานที่ 4 บุคคลตัวอย่างที่ใช้ หลักธรรมในการดำเนินชีวิต คำชี้แจง ให้นักศึกษาโยงเส้นข้อความกับรูปภาพต่อไปนี้ที่สัมพันธ์กันอย่างถูกต้อง 1. เวียนเทียน

2. นัง่ สมาธิ

3. ใส่บาตร

4. ไหว้พระ

14

ใบความรู้ที่ 5 เรื่องที่ 6 การแก้ไขปัญหาความแตกแยกของบุคคล สังคม ชุมชน เพราะความแตกต่างทางความเชื่อศาสนาและสังคมด้วยสันติวิธี

ศาสนามีประโยชน์คือ ช่วยให้ทุกคนในสังคมอยู่ด้วยกันอย่างสงบสุขและมีสันติมีความรักใคร่สามัคดี ปรองดองกัน ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญที่ส่งผลให้ตนเอง ครอบครัว ชุมชนสังคม มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ทำ ให้เกิดความสามารถนำพาตนเอง ครอบครัว ชุมชนสังคม เจริญรุดหนไป อย่างไรก็ตาม หากชุมชน สังคมมีข้อ ปฏิบัติทางศาสนาเดียวกัน มีวัฒนธรรมประเพณีเหมือนกัน สังคมนั้นจะมีความกลมเกลียว แต่ภาวะปัจจุบันสังคมไทยเกิดปัญหาความแตกแยก ไม่สามัคคีกัน โดยระบุว่าสาเหตุเป็นเพราะ ความเชื่อทางศาสนานั้น เมื่อวิเคราะห์สาเหตุและสืบสาวเหตุการณ์แล้วความเชื่อหาศาสนาไม่ใช่สาเหตุ ทั้งนี้ เพราะศาสนาล้วนมีกฎเกณฑ์ที่ไม่ให้มนุษย์เบียดเบียนรังแกกัน ดังนั้นสังคมไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัย พุทธศาสนา และอินดู อยู่ร่วมกันอย่างผสมกลมกลืนคำสอนของพุทธศาสนาปรากฏในศาสนาอินดูและพิธีกรรมศาสนาฮินดู ปรากฏอยู่ในสังคมไทยพุทธ โดยอยู่ร่วมกันอย่างลงตัว กรณีตัวอย่างจากพุทธประวัติ การแก้ปัญหาความแตกแยกในสังคมโดยสันติวิธี ครั้งหนึ่งเหล่ากษัตริย์ โกลิยวงศ์ พระญาติฝ่ายพุทธบิดาและเหล่ากษัตริย์โกลิยวงศ์ พระญาติฝ่ายพุทธมารดา ทะเลาะวิวาทกันเรื่อง แย่งน้ำโรหิณีเนื่องจากฝนแล้งน้ำไม่เพียงพอ การทะเลาะวิวาทลุกลามไปจนเกือบกลายเป็นศึกใหญ่ พระ สัมมาสัมพุทธเจ้าทรงทราบเหตุด้วยพระญาณ จึงเสด็จไปห้ามสงคราม โดยตรัสให้เห็นถึงความไม่สมควรที่ กษัตริย์ต้องมาฆ่าฟันกันด้วยสาเหตุเพียงแค่การแย่งน้ำ และตรัสเตือนสติว่า ระหว่างน้ำกับพี่น้อง อะไรสำคัญยิ่ง กว่ากัน ทั้งสองฝ่ายจึงได้สติคืนดีกัน และขอพระราชทานอภัยโทษต่อเบื้องพระพักตร์พระพุทธองค์

15

ใบงานที่ 5 เรื่องที่ 6 การแก้ไขปัญหาความแตกแยกของบุคคล สังคม ชุมชน เพราะความแตกต่างทางความเชื่อศาสนาและสังคม ด้วยสันติวิธี

คำชี้แจง ให้นักศึกษาตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นดังข้อต่อไปนี้ 1. ความแตกแยกทางด้านศาสนามีสาเหตุมาจากเรื่องใด จงอธิบาย ............................................................................................................................. .................................................. .......................................................................................................................................................... ..................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. 2. ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากความขัดแย้งทางด้านศาสนาเป็นอย่างไรบ้าง ............................................................................................................................. .................................................. .............................................................................................................................................................. ................. ............................................................................................................................................................................... 3. แนวทางแก้ไขความขัดแย้งทางด้านศาสนาควรทำอย่างไร ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................................................................... 4. จากกรณีศึกษาความขัดแย้งทางด้านศาสนาระหว่างศาสนาคริสต์กับศาสนาอิสลาม ควรแก้ไขปัญหา อย่างไร ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. ....................................................................................................................................................... ........................ 5. หลักธรรมใดที่ใช้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจคน และสามารถใช้แก้ปัญหาความแตกแยกของ บุคคล สังคม และชุมชน จงอธิบายรายละเอียดหลักธรรมดังกล่าว ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................................................. ..................

16

ใบความรู้ที่ 6 วัฒนธรรมประเพณี

เรื่องที่ 1 ความหมายและความสำคัญของวัฒนธรรมและประเพณี 1.1. ความหมายและความสำคัญของวัฒนธรรม วัฒนธรรม คือ มรดกแห่สังคมที่มนุษย์ได้สร้างสรรค์ขึ้น และได้รับการถ่ายทอดกันมาจกอดีตสู่ปัจจุบัน เป็นผลผลิตที่แสดงถึงความเจริญงอกงามทั้งด้านวัตถุและที่ไม่ใช่วัตถุ เช่น อุดมการณ์ คำนิยม ประเพณี ศีลธรรม กฎหมายและศาสนา เป็นตัน ความสำคัญของวัฒนธรรม มีอยู่ 5 ประการ คือ 1. วัฒนธรรมช่วยให้มนุษย์สะดวกสบายขึ้น ช่วยแก้ปัญหาและสนองความต้องการต่าง ๆ ของมนุษย์ สามารถอาชนะธรรมชาติได้ เพราะสร้างวัฒนธรรมขึ้นมาช่วย 2. วัฒนธรรมทำให้สมาชิกในสังคมมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันและสามัคคีกัน 3. วัฒนธรรม แสตงถึงเอกลักษณ์ของชาติ ชาติที่มีวัฒนธรรมสูงย่อมได้รับการยกย่อง และเป็น หลักประกันความมั่นคงของชาติ 4. วัฒนธรรมกำหนดพฤติกรรมของคนในสังคมเพื่อให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข 5. วัฒนธรรมทำให้ประเทศชาติมีความเจริญรุ่งเรือง 1.2. ความหมายและความสำคัญของประเพณี ประเพณี หมายถึง แบบความประพฤติที่คนส่วนรวม ถือเป็นธรรมเนียมหรือระเบียบแบบแผนและ ปฏิบัติสืบต่อกันมาช้านาน จนเกิดเป็นแบบอย่างความคิดหรือการกระทำที่ได้สืบต่อกันมา และยังมีอิทธิพลอยู่ ในปัจจุบัน ซึ่งอยู่ในรูปแบบของ จารีต ประเพณี ขนบประเพณี และธรรมเนียมประเพณี จารีตประเพณี คือ ประเพณีที่เกี่ยวข้องกับศีลธรรมและจิตใจ เช่น การตอบแทนบุญคุณบิด มารดา บุพการี การเลี้ยงดูเมื่อท่านแก่เฒ่า การคารพเชื่อฟังครู อาจารย์ การนับถือบรรพบุรุษ ขนบประเพณี คือ ประเพณีที่ประพฤติปฏิบัติกันอยู่ทั่วไปมาอย่างเป็นระเบียบบังคับให้คนในสังคมนั้นๆ ยึดถือและปฏิบัติตาม เช่น กฎหมาย กฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ และมีนบประเพณีที่คนในสังคมไม่ต้อง ปฏิบัติตามเสมอไป เช่น ประเพณีการโกนจุก เป็นตัน ธรรมเนียมประเพณี คือ ประเพณีที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติระหว่างบุคคลที่สังคมยอมรับ เช่น การ ทักทาย การไหว้ การเดิน กิริยามารยาท เป็นต้น

17

ความสำคัญของประเพณี มีอยู่ 5 ประเภทคือ 1. เป็นเครื่องบอกความเจริญของชาตินั้น ๆ ชาติที่เจริญในปัจจุบัน จะมีประเพณีต่าง ๆ ที่แสดงถึงความ เจริญก้าวหน้า 2. ประเพณีส่วนมากมีการสืบทอดมาตั้งแต่อดีตเชื่อมโยงถึงปัจจุบัน ประเพณีจึงสามารถใช้เป็นแนวทางใน การศึกษาประวัติศาสตร์ได้เป็นอย่างดี 3. ประเพณีทำให้คนในสังคมเกิดความภาคภูมิใจในความดีงามของชุมชน สังคมและชาติบ้านเมืองตนเอง 4. ประเพณีทำให้คนในสังคมได้ทำกิจกรรมร่วมกัน อันเป็นการดำรงความรักสามัคคี ทำให้คนในชุมชน สังคม ภาค และเป็นชาติมีความมั่นคงสืบต่อกันมา 5. ประเพณีเป็นสัญลักษณ์ที่สำคัญ ซึ่งแสดงออกความเป็นเผ่า ชุมชน สังคมและชาติ

18

ใบงานที่ 6 เรื่องที่ 1 ความหมายและความสำคัญของวัฒนธรรมและประเพณี คำชี้แจง ให้นักศึกษาวิเคราะห์ภาพแล้วตอบคำถามต่อไปนี้

1. ภาพนี้แสดงถึงความสำคัญของพระพุทธศาสนาอย่างไร ............................................................................................................................. .................................................. ................................................................................................................................................................. .............. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. 2. นักศึกษาทำกิจกรรมในภาพนี้อย่างไร ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................. .................................................. ................................................................................................................................................................ ............... ..............................................................................................................................................................................

19

ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง วัฒนธรรม ประเพณีที่สำคัญของท้องถิ่น และของประเทศ

2.1 วัฒนธรรมที่สำคัญของท้องถิ่นและของประเทศ วัฒนธรรมที่สำคัญของท้องถิ่น และของประเทศที่แสดงออกถึงความเป็นไทยที่สำคัญต่าง ๆ คือ ภาษา การแต่งกาย อาหาร และมารยาท ภาษา ภาษาที่ใช้สื่อสารกันในสังคม มี 2 ลักษณะคือ ภาษาทางกาย (ภาษาทางกิริยา)และภาษาทางวาจา ใน แต่ละเผ่า แต่ละชุมชน แต่ละภาค จะมีภาษาถิ่นสำเนียงถิ่น กิริยาอากรแสดงออกของท้องถิ่น และจะมี ภาษากิริยาอาการต่าง ๆ คนไทยจะใช้ภาษาไทยกลางซึ่งเป็นภาพรวมของประเทศ ดังนั้น วัฒนธรรมทางภาษา จะบ่งบอกที่มาของถิ่นกำเนิดซึ่งควรจะเป็นความภูมิใจในตัวตน ไม่เป็นสิ่งเชย น่าอายหรือล้าสมัยในการ แสดงออกทางภาษาถิ่น เช่น การพูดของภาคอีสาน ที่บ่งบอกถึงความเป็นคนภาคอีสาน เป็นต้น การแต่งกาย กรแต่งกายของคนในสังคมไทยในปัจจุบันได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมตะวันตก ในชีวิตประจำวัน คนไทยจึงแต่งตัวแบบสากล ต่อเมื่อมีงานบุญ ประเพณี จึงนำการแต่งกายประจำถิ่นที่แสดงออกถึงความเป็น เผ่าเป็นชุมชนและเป็นภาค อย่างไรก็ตามเรายังเห็นคนรุ่นเก่า รุ่นพ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ในท้องถิ่นบางแห่ง ยังคงมีวัฒนธรรมการแต่งกายที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษให้เราเห็นได้ในชีวิตประจำวัน เช่น การนุ่งผ้าซิ่นไป ทำบุญที่วัด อาหาร เนื่องจกการติดต่อสื่อสารของโลกปัจจุบันเป็นโลกไร้พรมแดนเราจึงสมารถ รับประทานอาหารไทยทีร้น อาหารต่าง ๆ อาทิ ในเมืองออสแองแจลิสเมืองฮ่องกง วัฒนธรรมทางอหารการกินของคนไทยในท้องถิ่นต่าง ๆ ยังคงสืบต่อตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบันเพราะสภาวะแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ ทรัพยากรต่าง ๆ ส่งผลให้วัตถุดิบที่ ใช้ในการประกอบอหารท้องถิ่นไทย ยังคงมีอยู่และนำมาใช้ในการประกอบอาหารการกินได้ตลอดมา แต่อาหาร บางชนิดเริ่มสูญหายไป เด็กไทยปัจจุบันเริ่มจะไม่รู้จักคุ้นเคยอาหารบางชนิด เช่นขนมกง ซึ่งเป็นประเพณี แต่งงานภาคกลาง ในอดีตจะมีขนมกงเป็นขนมทำจากถั่วทองปั้นเป็นรูปวงกลมมีซี่เหมืนล้อเกวียน เพื่อให้ชีวิต แต่งงานราบรื่นก้าวไปข้างหน้า มารยาท มารยาทของคนไทยที่อาศัยอยู่เป็นผ่า เป็นชุมชน เป็นภาค ตลอดจนไทยกลางไต้รับการสืบทอดมา จากบรรพบุรุษ แต่เมื่อกลัวโดยรวมแล้วมารยาทไทยนั้นทั่วโลกยอมรับ ว่ามีความงดงม อ่อนช้อย เช่น การไหว้ กรกราบ บ่งบอกถึงความเป็นชาติที่มีวัฒนธรรมอันดีงาม ทำให้คนต่างประเทศประทับใจ และเป็นส่วนหนึ่งที่ ช่วยส่งเสริมอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวให้เจริญก้าวหน้า

20

2.2 ประเพณี ประเพณี คือ แนวทางปฏิบัติที่คนในสังคมยืดถือ และสืบทอดกันมา เป็นสิ่งที่ถูกต้องดีงามทำให้ชุมชนอยู่ ร่วมกันอย่างมีความสุข 2:2.1 ประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์ของสังคมไทย 1) ประเพณีที่เกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ เนื่องจากสถาบันพระมหากษัตริย์มีความใกล้ชิดและเป็นที่ยอมรับ ของสังคมไทยมาช้านาน และชาวไทยต่างก็ยกย่องเทิดทูนพระมหากษัตริย์ เพราะพระองค์ทรงมีพระมหา กรุณาธิคุณต่อปวงชนเสมอมา ดังนั้น ประเพณีวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับองค์พระมหากษัตริย์ที่สำคัญ เช่นพระ ราชพิธีวันฉัตรมงคลวันพ่อแห่ชาติ หรือวันเฉลิมพระขนมพรรษาวันที่ 5 ธันวาคม ซึง่ เราได้ยกย่องให้วันนี้เป็นวัน ชาติไทยด้วย 2) ประเพณีที่เกี่ยวกับอาชีพ อาชีพหลักของคนไทยเป็นอาชีพเกษตรกรรมมาช้านาน ตั้งนั้นพิธีกรรมทาง อาชีพการเกษตรจะเป็นที่ยอมรับและเชื่อถือของสังคมมาตลอด 3) ประเพณีทางศาสนา ศาสนาและความเชื่อ เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมที่สืบเนื่องปฏิบัติติดต่อกันมา นานาจนกลายเป็นประเพณี โดยเพาะอย่างยิ่งการปฏิบัติตนของชาว พุทธในวันสำคัญทางพุทธศาสนา เช่น วันวิสาขบูชา วันมาฆบูชา วันอาสาฬหบูชาวันพระ วันออกพรรษา และ วันตักบาตรเทโว เป็นต้น 2.2.2 ประเพณีของแต่ละท้องถิ่น สำหรับประเพณีของแต่ละท้องถิ่น แบ่งเป็นภาค ดังนี้ 1) ประเพณีภาคเหนือภาคเหนือ หรือเรียกว่า "ล้านนาไทย" มีเอกลักษณ์ที่แตกต่างไปจากภาคอื่น ๆ เพราะมีลักษณะภูมิประเทศเป็นทิวเขาและหุบเขา ประชากรมีหลายชนชาติ ส่วนใหญ่เป็นชาวไทย ที่เรียกว่า ไทยเหนือ" หรือ "คนเมือง ซึ่งส่วนใหญ่พูดภาษาสำเนียงเหนือประเพณีสำคัญ ๆ ของภาคเหนือ มีดังนี้ ประเพณีลอยกระทง หรือประเพณียี่เป็ง หรือลอยโขมด เพื่อเป็นการบูชาท้าวพกาพรหม เป็นการลอยเคราะห์ ลอยบาลอยเพื่อบูชาพระนารายณ์ เป็นตัน ประเพณียี่เป็ง ตรงกับเดือนยี่ขึ้น 14-15 คำ วัดวาอารามจะจัดเตรียมสิ่งของดังต่อ 1. ทำราชวัตร รอบวิหาร เจดีย์ ทำซุ้มประตูทางเข้าวัด 2. ทำโคมแขวน โคมค้าง โคมรูปต่าง ๆ 3. ทำว่าว หรือโคมลอย มี 2 ชนิด คือ 3.1 โคมที่ใช้ปล่อยตอนกลางวัน เรียกว่า ว่าว โดยใช้วธิ ีรมควัน 3.2 โคมที่ปล่อยตอนกลางคืน ใช้วิธีรมควันเหมือนว่าวแต่จะจุดไฟที่ผ้าผูกติดกับปากโคมปล่อยสู่อากาศ 4. การทำบอกไฟ (บั้งไฟ) ประกอบด้วยบอกไฟหลายชนิด เช่นบอกไฟดอก บอกไฟดาว บอกไฟเทียน เป็น ต้น ทำขึ้นเพื่อจุดในวันยี่เป็ง ประเพณีภาคกลาง ประเพณีภคกลาง มักจะเป็นประเพณีเกี่ยวกับการเกษตร เช่นประเพณีวิ่งควาย เป็น ประเพณีที่เป็นมรดกตกทอด เพื่อเป็นกรทำขวัญควาย และให้ควายได้พักผ่อน ซึ่งเป็นประเพณีประจำจังหวัด

21

ชลบุรี ประเพณีวัวเทียมเกวียน ของจังหวัดเพชรบุรีเมื่อเสร็จสิ้นจากการทำนา ก็จะนำวันที่เป็นสัตว์ที่ช่วยทำนา มาวิ่งแข่งกัน หรือเอาเกวียนมาเทียมวิ่งแข่งกัน 3) ประเพณีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือภาคอีสาน มีพื้นที่แห้งแล้งส่งผลไปถึง การประกอบอาชีพซึ่งมีประเพณีที่สำคัญคือ ประเพณีแห่เทียนพรรษา ของจังหวัดอุบลราชธานีมีการประกวดตัน เทียน 2 ประเภท คือประเภทติดพิมพ์ และประเภทแกะสลัก โดยมีชื่องานว่า"ฮุ่งเฮืองเมืองธรรมงามล้ำเทียน พรรษา ภูมิปัญญาชาวอุบล" ประเพณีไหลเรือไฟ ของจังหวัดนครพนม ที่ในน้ำจะนำเทียนมาตกแต่งเรือให้เป็น รูป ที่สวยงาม เมื่อจุดเทียน จะเกิดแสงสว่างเป็นรูปภาพที่ออกแบบไว้ 4) ประเพณีภาคใต้ ภูมิประเทศของภาคใต้ เป็นคาบสมุทรยื่นไปในทะเลทางตะวันตกของคาสมุทร ซึ่งมีประเพณีสำคัญ คือ ประเพณีบุญเดือนสิบ ซึ่งเกิดจากความเชื่อว่าบรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว ยังต้องใช้เวรกรรมอยู่ในยมโลก และจะ กลับมาเยี่ยมญาติหรือครอบครัวประเพณีจัดอยู่ในช่วงแรม 1 ค่ำ เดือน 10 ถึงแรม 15 ค่ำ ส่วนมากจัดใน จังหวัด นครศรีธรรมราช ซึ่งมีอาหารที่ขาดไม่ได้ 5 ชนิด ประกอบด้วย 1. ขนมล เปรียบเสมือนเสื้อผ้า เพื่อให้ผู้ตายสวมใส่ไปนรกภูมิ 2. ขนมพอง เปรียบเสมือนแพเพื่อให้ผู้ตายใช้เป็นพาหนะข้ามห้วงแห่งสังสารวัฏ (การเวียนว่าย ตาย เกิด) 3. ขนมบ้า เปรียบเสมือนสะบ้าให้ผู้ตายได้เล่นในนรกภูมิ 4. ขนมดีชำ เปรียบเสมือนเบี้ยหรือเงินให้ผู้ตายนำไปใช้ 5. ขนมกง เปรียบเสมือนเครื่องประดับเพื่อให้ดูภูมิฐานและสวยงาม

22

ใบงานที่ 7 เรื่อง วัฒนธรรม ประเพณีที่ สำคัญของท้องถิ่น และของประเทศ คำชี้แจง ให้นักเรียนโยงเส้นรูปภาพต่อไปนี้ให้สัมพันธ์กับข้อความ

1. อัตถจริยา

2. ทาน

3. สมานัตตตา

4. ปิยวาจา

23

ใบความรู้ที่ 8 เรื่องที่ 3 การอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย 3.1 ความสำคัญในการอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย การอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทยเป็นสิ่งที่สำคัญที่คนไทยทุกคนพึงตระหนักถึงหน้าที่ที่ทุก คนพึงกระทำ ทั้งนีเ้ พราะวัฒนธรรมประเพณีประจำชาติและท้องถิ่นจัดเป็นสิ่งที่มีคุณคำควรแก่การอนุรักษ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งขนบธรรมเนียมประเพณีโบราณสถาน โบราณวัตถุ ภาษาวรรณกรรมต่าง ๆ ซึ่งได้บรรจุและ สั่งสมความรู้ ความหมายคุณคำที่มีมาตั้งต่ออดีตให้คนไทยปัจจุบันได้เรียนรู้ เพื่อรู้จักตนเองและมีความภูมิใจใน ความเป็นชาติไทย และสิ่งเหล่านี้จะสูญหายหากขาดการเอาใจใส่ในการอนุรักษ์และส่งเสริมในทางที่ถูกที่ควร 3.2 แนวทางในการอนุรักษ์ วัฒนธรรมประเพณีของไทย 3.2.1 ศึกษา ค้นคว้า วิจัย วัฒนธรรม ประเพณีไทยและท้องถิ่นที่ยังไม่ได้รวบรวม ศึกษาไว้ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจถ่องแท้ ทำให้เกิดความรู้สึกยอมรับในคุณคำจะไคแหนหวงภูมิใจและเผยแพรให้เกิดประโยชน์ต่อไป 3.2.2 สร้างความข้าใจให้คนไทยทุกคนข้าใจ ปรับเปลี่ยน ตอบสนองวัฒนธรรมประเพณีอื่น ๆ จกภายนอก อย่างเหมาะสม 3.2.3 ขยายขอบเขตเรื่องการอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีไทยให้คนไทย ทุกคนเห็นเป็นหน้าที่สำคัญที่จะ ต้อร่วมกันทะนุบำรุงรักษาทั้งด้วยกำลังกาย และกำลัง ทุนทรัพย์ 3.24 ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้วัฒนธรรมประเพณีระหว่างเผ่า ชุมชน ภาคเพื่อสื่อสารสร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างกัน 3,2.5 ช่วยกันจัดทำระบบข้อมูลสารสนทศทางวัฒนธรรมประเพณี เพื่อใช้เป็นฐานความรู้ของสังคม เพื่อใช้ ในการประชาสัมพันธ์และส่งผลถึงภาวะอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องที่สำคัญคือ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ จะส่งผลต่อเศรษฐกิจของชาติโดยรวม ตัวอย่างการอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีภาคต่าง ๆ ประเพณีอุ้มพระดำน้ำ ประเพณีอุ้มพระดำน้ำ เป็นประเพณีท้องถิ่นในช่วงเดือน 10 ของ ชาวจังหวัดเพชรบูรณ์ ที่มีความเป็นอก ลักษณ์ ในงานจะมีการอัญเชิญพระพุทธรูปมหาธรรมราชพระคู่บ้านคู่เมืองของชาวเพชรบูรณ์ โดยมีจ้าเมือง จะต้องเป็นคนอุ้มพระมาดำลงไปในน้ำซึ่งมีความเชื่อว่า จะทำให้บ้านเมืองและประชาชนมีความสุขความเจริญ

24

ใบงานที่ 8 เรื่องที่ 3 การอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย คาชี้แจง

ให้นกั เรียนวิเคราะห์กจิ กรรมในภาพ แล้วตอบคาถาม

คำถำม 1. ภาพกิจกรรมดังกล่าวแสดงถึงประเพณีหรือวัฒนธรรมในครอบครัวอย่างไร

2. การปฏิบตั ติ นตามประเพณีหรือวัฒนธรรมดังกล่าว มีผลดีอย่างไร

3. นักเรียนสามารถนาข้อคิดจากภาพไปประยุกต์ปฏิบตั อิ ย่างไรบ้าง

25

ใบความรู้ที่ 9 เรื่องที่ 4 คำนิยมที่พึงประสงค์ของไทยและของท้องถิ่น 4.1 ด่านิยมที่พึ่งประสงค์ของไทย ค่านิยมเป็นสิ่งที่กำหนดความเชื่อ ซึ่งส่งผลถึงพฤติกรรมของคนในสังคมจึงควรมีการกำหนดคำนิยมที่ พึงประสงค์ให้กับประชาชนได้ปฏิบัติ อย่างไรก็ตามมีผู้แจกแจงคำนิยมของสังคมไทยไว้ดังนี้ คือ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้กล่าว คำ นิยมของสังคมไทยมี 3 ประการ คือ 1. รักความเป็นไทย 2. คนไทยไม่ชอบการเบียดเบียนและหาเรื่องกับคนอื่น 3. การรู้จักประสานประโยชน์ รู้จักการประนีประนอม โอนอ่อนผ่อนตาม ทำให้เมืองไทย ไม่ตกเป็น อาณานิคมของประเทศใด ในปัจจุบันสังคมไทยมีปัญหา คนขาดคุณธรรม จริยธรรม ปัญหาเรื่องเพศเรื่องความรุนแรง และ อบายมุขฯ ในปี 2549 กระทรวงศึกษาธิการจึงกำหนดลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เป็น 8 คุณภาพพื้นฐาน เพื่อเป็น รากฐานในการพัฒนาเด็กและเยาวชน ให้เป็นคนดีส่งผลให้สังคมไทยเป็นสังคมที่ดี คือ 1. ขยัน คือ ตั้งใจเพียรพยายามทำหน้าที่การงานอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ อดทน 2. ประหยัด คือ รู้จักก็บออมถนอมใช้ทรัพย์สิแต่พอควรพอประมาณให้เกิดประโยชน์คุ้มคาไม่ฟุ่มเฟือยฟุ้งเฟ้อ 3. ชื่อสัตย์ ประพฤติตรง ไม่เอนเอียง ไม่มีเล่ห์เหลี่ยม มีความจริงใจปราศจากความรู้สึก ลำเอียง หรืออคติ 4. มีวินัย คือ ยึดมั่นในระเบียบแบบแผน ข้อบังคับ และข้อปฏิบัติ มีทั้งวินัยในตนเอง และวินัยต่อสังคม 5. สุภาพ คือ เรียบร้อย อ่อนโยน ละมุนละม่อม มีกิริยามารยาทที่ตีงามมีสัมมาคารวะ 6. สะอาด คือ ปราศจกความมัวหมองทั้งกาย ใจ และสภาพแวดล้อมความผ่องใสเป็นที่เจริญตา ทำให้เกิด ความสบายใจแก่ผู้พบเห็น 7. สามัคคี คือ ความพร้อมเพรียงกัน ความกลมเกลียว ความปรองดองร่วมใจกัน ปฏิบัติงานบรรลุผลตามที่ ต้องการเกิดการงานอย่างสร้างสรรค์ ปราศจากการทะเลาะวิวาท ไม่เอารัดเอาเปรียบกันเป็นการยอมรับความมี เหตุผล ยอมรับความแตกต่างหลากหลายความคิด เชื้อชาติ หรืออาจเรียกอีกอย่างว่าความสมานฉันท์ 8. มีน้ำใจ มีความจริงใจ ไม่เห็นแก่ตัวและเรื่องของตัวเอง แต่เห็นอกเห็นใจเห็นคุณค่าในเพื่อนมนุษย์ มีความ เอื้ออาทร อาใจใส่ ให้ความสนใจในความต้องการความจำเป็น ความทุกข์สุขของผู้อื่นและพร้อมที่จะให้ความ ช่วยเหลือเกื้อกูลกันและกัน 4.2 คำนิยมท้องถิ่น ค่านิยมของท้องถิ่นจะบ่งบอกลักษณะนิสัยเด่นของคนในท้องถิ่น เช่นคนภาคเหนือมีมารยาทอ่อนโยน พูดจาอ่อนหวาน คนภาคใต้มีความรักใคร่พวกพ้องต่างๆเหล่านี้สามารถศึกษาได้จก ลักษณะของคนในชุมชน วิถี ชีวิตการแสตงออก สถาบันทางการศึกษา ศาสนา และครอบครัว มีส่วนสำคัญในการสร้างเสริมคำนิยมใหม่ ๆให้ เกิดขึ้นในครอบครัว ชุมชน สังคม

26

ใบงานที่ 9 เรื่องที่ 4 คำนิยมที่พึงประสงค์ของไทยและของท้องถิ่น คำชี้แจง จงตอบคำถามและอธิบายความหมายคำยมที่พึงประสงค์ของไทยและท้องถิ่นได้ 1. ค่านิยมของสังคมไทยมีกี่ประการ คืออะไร ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................. .................................................. ................................ 2. การพัฒนาเด็กและเยาวชนเป็นคนดีส่งผลให้สังคมไทยเป็นสังคมที่ดีมีกี่ข้อ อะไรบ้าง ............................................................................................................................. .................................................. ................................................................................................................................................................. .............. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. .................................................................................................................................................... ........................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. ........................................................ 3. ค่านิยมหลักของคนไทยมีกี่ประการ อะไรบ้าง ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................................................................ ... ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................. ..................................................

27

ใบความรู้ที่ 10 เรื่องที่ 5 การประพฤติปฏิบัติตนตามคำนิยมที่พึงประสงค์

การประพฤติปฏิบัติตนตามคำนิยมที่พึงประสงค์นั้นเป็นสิ่งที่ควรกระทำทุกคนจึงเป็นพลังสำคัญ ส่งผลให้ประเทศชาติพัฒนาไปอย่างยั่งยืน หรืออาจกล่าว หากสังคมใดมีแต่ความเจริญทางวัตถุแต่ขาดความ เจริญค้นจิตใจ สังคมนั้นจะพัฒนาอย่างไม่ยั่งยืน ซึ่งความเจริญทางด้านจิตใจนั้นนอกจากคนในสังคมจะต้อง ประพฤติปฏิบัติดีตามหลักธรรมศาสนาแล้วควรสร้างเสริมค่านิยมที่ดีให้เกิดขึ้นกับคนในชาติ โดยพร้อมเพรียง กันอีกด้วย ตัวอย่างเช่น ค่านิยมความประหยัด การสร้างนิสัยประหยัดพลังงานน้ำมัน ของคนในชาติไม่ใช่ทำ เฉพาะผู้มีรายได้น้อย แต่ผู้มีฐานะร่ำรวยจะต้องมีนิสัยประหยัดพลังงานด้วย เป็นต้น และแม้ว่าน้ำมันมีราคาถูก ลงทุกคนในชาติควรประหยัดต่อไปให้เป็นนิสัย

28

ใบงานที่ 10 เรื่องที่ 5 การประพฤติปฏิบัติตนตามคำนิยมที่พึงประสงค์

คำชี้แจง ให้นักศึกษาการประพฤติปฏิบัติตนตามคำนิยมที่พึงประสงค์ มาพอสังเขป 1. ให้นักศึกษาการประพฤติปฏิบัติตนตามคำนิยมที่พึงประสงค์ มาพอสังเขป ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................... .................................................... ............................................................................................................................. .................................................. .......................................................................................................................................................... ..................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. ................................................................................................................................ ............................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ..................................................

29

ใบความรู้ที่ 11 หน้าที่พลเมืองไทย เรื่องที่ 1 ความหมายของประชาธิปไตย 1.1 ความหมายของประชาธิปไตย ประชาธิปไตยเป็นรูปแบการปกครองในประเทศมาจากคำ 2 คำ ดังนี้ "ประชา" หมายถึง ประชาชนที่เป็นพลเมืองของประเทศ "อธิปไตย" หมายถึง อำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ดังนั้น ประชาธิปไตย หมายถึง ประชาชนปกครองหรือการปกครองโดยประชาชน พจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายของประชาธิปไตยไว้ว่า "ระบอบการปกครองที่ถือมติของปวงชน เป็นใหญ่ หรือการถือเสียงข้างมากเป็นใหญ่"และศาสตราจารย์ ดรกมล ทองธรรมชาติ ให้ความหมายว่า "ประชาธิปไตย เป็นการปกครองของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน" สรุป ประชาธิปไตย หมายถึงการที่ประชาชนหรือพลเมืองของประเทศมีอำนาจและมีส่วนร่วมในการ กำหนดนโยบายในการปกครองประเทศ โดยคำนึงถึงประโยชน์ของประชาชนส่วนรวมเป็นหลัก 1.2 หลักการสำคัญของการปกครองระบอบประชาธิปไตย 1.2.1 หลักอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน หมายถึง ประชาชนเป็นเจ้าของอำนาจสูงสุดในการ ปกครองประเทศ 1.2.2 หลักความเสมอภาค ประชาชนทุกคนมีความเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย ความเท่าเทียมกัน ทางการเมือง 1.2.3 หลักสิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ ได้แก่ การที่ประชาชนมีอำนาจอันชอบธรรมในการเป็น เจ้าของทรัพย์สิน มีอิสระในการกระทำในขอบเตของกฎหมาย และมีแนวทางปฏิบัติตนที่เป็นอิสระภายใต้ ขอบเขตของกฎหมาย 1.2.4 หลักนิติธรรม การปกครองในระบอบประชาธิปไตย มีหลักกฎหมาย เป็นกฎเกณฑ์และกติกาของประเทศ คือ การที่ประชาชนใช้กฎหมายเป็นหลักในการดำเนินชีวิตเพื่อการอยู่ ร่วมกันอย่างสันติสุข และเกิดความยุติธรรมในสังคม 1.2.5 หลักการยอมรับเสียงข้างมาก คือ การที่ประขาชนยอมรับในมติของประขาชนส่วนใหญ่ 1.2.6 หลักการใช้เหตุผล คือ การที่ประชาชนใช้เหตุผลเป็นหลักในการหาข้อสรุปเพื่อการอยู่ร่วมกัน 1.2.7 หลักประนี้ประนอม คือ การที่ประชาชนไม่ใช้ความรุนแรงในการแก้ไขปัญหา แต่ใช้การตกลง ร่วมกันในการขจัดข้อซัดแย้งที่ไม่เห็นด้วย 1.2.8 หลักความยินยอม คือ การที่ประชาชนใช้วิจารณญาณในการตัดสินใจของตัวเอง ปราศจาก การบังคับ มีความเห็นตรงกัน และตัดสินใจผ่านตัวแทนของประชาชนในการดำเนินงานทางการเมืองและการ ปกครอง

30

1.3 ลักษณะของสังคมประชาธิปไตย ในสังคมประชาธิปไตย ประชาชนจะปฏิบัติต่อกัน ดังนี้ 1.3.1 การเคารพในสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ตามขอบเขตที่บัญญัติไว้ใน 1.3.2 การใช้หลักเหตุผลในการตัดสินปัญหา ข้อขัดแย้ง 1.3.3 การเคารพในกฎกติกาของสังคมเพื่อความสงบสุขและความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคม 1.3.4 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของส่วนรวมและสังคม 1.3.5 การยอมรับฟัดวามคิดเห็นของผู้อื่น และเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน 1.3.6 การยืดมั่นในหลักความยุติธรรม และการปฏิบัติต่อกันอย่างเสมอภาคเท่เทียมกันของ สมาชิกทุกคน ในสังคม 1.4 คุณลักษณะที่สำคัญของสมาชิกในสังคมประชาธิปไตย 1.4.1 ยึดมั่นในอุดมการณ์ประชาธิปไตย 1.4.2 รู้จักใช้เหตุผลและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ซึ่งมีเหตุผลและมีการประนีประนอมกันในทาความคิด 1.4.3 เคารพในสิทธิและการตัดสินใจของผู้อื่น 1.4.4 มีความเสียสละและเห็นแก่ประโยชน์ของส่วนรวมมากกว่าส่วนตน 1.4.5 สามารถทำงานร่วมกันกับผู้อื่น 1.4.6 ใช้เสียงข้างมากโดยไม่ละเมิดสิทธิเสียงข้างน้อยกฎหมาย 1.4.7 ยึดถือหลักความเสมอภาคและเท่าเทียมกันของสมาชิก 1.4.8 ปฏิบัติตามกฎข้อบังคับของสังคม 1.4.9 รู้จักการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี 1.5 ความสำคัญของการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย 1.5.1 ทำให้สังคมและประเทศชาติการพัฒนาไปอย่างมั่นคง 1.5.2 เกิดความรักและความสามัคคีในหมู่คณะ 1.5.3 ลังคมมีความเป็นระเบียบ สลบเรียบร้อย 1.5.4 สมาชิกทุกคนได้รับสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ จากกฎหมายเท่าเทียมกันและเกิดความเป็นธรรมในสังคม 1.55 สมาชิกในสังคมความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และมีน้ำไจต่อกัน 1.6 วิถีประชาธิปไตย สังคมประชาธิปไตยที่สมบูรณ์เป็นสังคมที่ปลูกฝัดวามเป็นประชาธิปไตยให้แก่ประชาขนทั้งในแความคิด อุดมการณ์ และวิธีการดำเนินชีวิตตั้งแต่เด็กเป็นตันไป ในชีวิตประจำวันของบุคคลในครอบครัว ขุมชนและ สังคมจะดำเนินไปอย่างสงบสุขได้เมื่อทุกคนที่เป็นสมาชิกข้ใจแลตระหนักถึงความสำคัญของการใช้คุณลักษณะ ประชาธิปไตยเป็นแนวทางในการตำเนินชีวิต ดังนี้ 1.6.1 ประชาธิปไตยในครอบครัว ประชาธิปไตยในครอบครัวจะเริ่มได้ก็ต่อเมื่อพ่อแม่คิดและประพฤติปฏิบัติต่อกัน ต่อลูกๆ และต่อบุคคล อื่นอย่างเป็นประชาธิปไตย ในการดำเนินชีวิตประจำวันทุกๆ ด้าน ได้แก่ 1) การแสตงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล

31

2) การรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 3) การตัดสินใจโดยใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์ 4) การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผล 5) การลงมติโดยใช้เสียงส่วนใหญ่ 6) การเคารพกฎระเบียบของครอบครัว 7) การกล้าแสดงความคิดเห็นต่อส่วนรวม 8) การยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น 1.6.2 ประชาธิปไตยในชุมชนท้องถิ่น วิถีชีวิตประชาธิปไตยในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ภายในชุมชนเป็นการรวมกลุ่มของบุคคล ภายใน ชุมชน โดยสมาชิกในชุมชนต้องมีคุณลักษณะประชาธิปไตยที่สำคัญ คือ 1) การเคารพใน กฎ ระเบียบ ของชุมชนท้องถิ่น 2) การมีส่วนรวมในการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น 3) การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 4) การตัดสิใจในส่วนรวมโดยใช้การลงมติเสียงส่วนใหญ่ 5) การตัดสินใจโดยใช้วิธกี ารลงมติเสียงส่วนใหญ่ 6) การแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล 7) การร่วมกันวางแผนในการทำงานเป็นกลุ่มหรือตัวแทนของกลุ่ม

32

ใบงานที่ 11 เรื่องที่ 1 ความหมายของประชาธิปไตย คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนบรรยายภาพแสดงถึงการมีสว่ นร่วมในกิจกรรมต่างๆ ตามกระบวนการ ประชาธิปไตย 1.

คาบรรยาย 2.

คาบรรยาย 3.

คาบรรยาย 4.

คาบรรยาย 5.

คาบรรยาย

33

ใบความรู้ที่ 12 เรื่องที่ 2 สิทธิ เสรีภาพ บทบาท หน้าที่ของพลเมืองในวิถีประชาธิปไตย

2.1 ความหมายของสิทธิเสรีภาพ หน้าที่ "สิทธิ" หมายถึง อำนาจหรือผลประโยชน์อันชอบธรรมของบุคคลที่มีกฎหมายให้ความคุ้มครอง เช่น สิทธิใน การนับถือศาสนา การประกอบอาชีพ การได้รับการศึกษา ฯลฯ "เสรีภาพ" หมายถึง ความมีอิสระในการกระทำของบุคคลซึ่งการกระทำนั้นจะต้องไม่ขัดต่อกฎหมาย เช่น การแต่งกาย การแสดงความคิดเห็น ฯลฯ "หน้าที่" หมายถึง ภาระหรือความรับผิดชอบที่บุคคลจะต้องปฏิบัติตามกฎหมาย 2.2 ความสำคัญของสิทธิ เสรีภาพและหน้าที่ มีดังนี้ 2.2.1 การที่รัฐได้บัญญัติ สิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ ของบุคคลในรัฐธรรมนูญทำให้ประชาชนได้รับความ คุ้มครองและปฏิบัติอย่างเท่าเทียมเสมอภาคและยุติธรรม 2.2.2 บุคคลทุกคนจะต้องทราบและพึงปฏิบัติตามขอบเขตสิทธิ เสรีภาพและหน้าที่ที่ได้บัญญัติไว้ใน รัฐธรรมนูญ 2.2.3 การใช้อำนาจรัฐ จะต้องคำนึงถึงสิทธิ เสรีภาพของประชาชน 2.3.4 ทั้งรัฐและประชาชนพึงปฏิบัติตามหน้าที่ที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญอย่างเคร่งครัด ย่อมก่อให้เกิด ความสงบในชาติ 2.3.5 หนที่ของประชาชนในระบอบประชาธิปไตย ได้แก่ 1) หน้าที่ในกรรักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2) หน้าที่ในการป้องกันประเทศ ได้แก่ การช่วยสอดส่องดูแลและแจ้งให้เจ้าหน้าที่บ้านเมืองทราบถึง ภัยที่จะเกิดขึ้นแก่ประเทศชาติ เช่น การแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับการค้ายาเสพติด การสมัครเป็นอาสาสมัครรักษา ดินแดน เป็นต้น 3) หน้าที่ในการรับราชการทหารตามกฎหมาย โดยชายไทยทุกคนที่มีอายุ 20 ปีบริบูรณ์ จะต้องไป ตรวจเข้ารับการเกณฑ์ทหารประจำการเป็นเวลา 2 ปีเพื่อเป็นกำลังสำคัญมือเกิดภาวะสงคราม 4) หน้าที่ในการปฏิบัติติดตามที่กฎหมายกำหนด ทั้งนี้เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อย ทำให้สังคมมี ความสงบสุข และสมาชิกในสังคมอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข 5) หนที่ในการเสียภาษีอากรตามที่กฎหมายกำหนดเพื่อรัฐได้มีรายได้เพื่อนำมาใช้จ่ายภายในประเทศ รวมทั้งจัดสวัสดิการต่าง ๆ ให้กับประ 6) หน้าที่ในการรับการศึกษาภาคบังคับตามเงื่อนไขและวิธีการที่กฎหมายกำหน เพื่อช่วยให้มีคุณภาพ ที่ดีและเป็นกำลังใจในการพัฒนาประเทศต่อไป

34

7) หน้าที่ในการช่วยเหลือราชการตามกฎหมายกำหนดเพื่อประโยชน์ส่วนตนและส่วนรวม 8 )หน้าที่ในการใช้สิทธิเลือกตั้งโดยสุจริต ในการเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรข้าไป ทำหน้าที่บริหาร ประเทศ ตามระบอบประชาธิปไตยให้ยั่งยืน 2.3 บทบาท บทบาท หมายถึง การทำหน้าที่ตามสถานภาพที่สังคมกำหนด เช่น นายเอกมีสถานภาพ เป็นพ่อ ต้อง ดำเนินบทบาทในการให้กรอบรมเลี้ยงดู สั่งสอนบุตรให้เป็นคนดี ส่งเสียบุตรให้ได้รับการศึกษาที่สมควรตามวัย ส่วนนายโทมีสถานภาพเป็นบุตรที่ต้องดำเนินบทบาท เชื่อฟังคำสั่งสอนของบิดามารดา ตั้งใจหมั่นเพียรใน การศึกษา ช่วยเหลือบิดามารดในการทำงานบ้านตามควร บทบาทก่อให้เกิดกรกระทำตามสิทธิและหน้าที่ของ สมาชิกในสังคม ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ซึ่งกันและกันหากไม่กำหนดบทบาท ความสัมพันธ์ ระหว่างสมาชิกในสังคมจะไม่มีระเบียบและทิศทางที่แน่นอน สถานภาพกับบทบาทเป็นสิควบคู่กัน สถานภาพบอกว่าใครเป็นใครมีตำแหน่งหน้าที่อย่างไร ส่วนบทบาท บอกว่าอยู่ในสภาพใด ควรปฏิบัติอย่างไรจึงจะเหมาะสม

35

ใบงานที่ 12 เรื่องที่ 2 สิทธิ เสรีภาพ บทบาท หน้าที่ของพลเมืองในวิถีประชาธิปไตย

คำชี้แจง ให้นกั เรียนเขียนผังมโนทัศน์ เรื่อง สิทธิ เสรีภาพ บทบาท หน้าที่ของพลเมืองในวิถี ประชาธิปไตย

36

ใบความรู้ที่ 13 เรื่องที่ 3 การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติตนตามกฎหมาย การมีส่วนร่วมในการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต

3.1 การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติตนตามกฎหมาย ในฐานะพลเมืองของประเทศ ซึ่งมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข ที่มีสิทธิ เสรีภาพ บทบาทหน้าที่ ต้องปฏิบัติตน ก. การปลูกฝังและประพฤติปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวซ้องกับตนเองและครอบครัว ครอบครัว เช่น เมื่อมีคน เกิด ตาย ในบ้านต้องดำเนินการตามกฎหมายทะเบียนราษฎร์ ข. ชุมชน/สังคมต้องปฏิบัติตนให้เหมาะสมกับการอยู่ในสังคมประชาธิปไตยตามบทบาทหน้าทีโ่ ดยยึด กฎหมายที่เกี่ยวข้อง เช่น การปฏิบัติตนตามกฎหมาย ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ไม่ทำลาธรรมชาติ 3,1.1 การรักษาสิทธิตามกรอบของกฎหมาย กฎหมายให้สิทธิแก่บุคคลหรือหน่วยงาน สามารถเรียกร้อง เพื่อรักษาสิทธิของตนที่ถูกบุคคลหรือ หน่วยงานไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานของเอกชนหรือรัฐมาละเมิดสิทธิของบุคคลหรือชุมชนโดยให้เป็นหน้าที่ของ บุคคลองค์กรแลผู้เกี่ยวข้องหน้าที่ร่วมกันในการเรียกร้องเพื่อรักษาสิทธิ ผลประโยชน์ที่ถูกละเมิด ซึ่งการละเมิด กรณี ดังนี้ 1) การละเมิดสิทธิ/ผลประโยชน์ส่วนบุคคล 2) การละเมิดสิทธิ/ผลประโยชน์ของชุมชน 3.1.2 การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย 1) การมีส่วนร่วมในกระบวนการปกครองประเทศ หมายถึงการตระหนักและเห็นความสำคัญของการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย เช่น การไปใช้สิทธิเลือกตั้งผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา 2) การดำเนินชีวิตตามวิถีทางประชาธิปไตย หมายถึง การปฏิบัติตนให้มี คุณธรรม จริยธรรม การเสียสละเพื่อส่วนรวม และการใช้เหตุผลเป็นหลักในการตัดสินใจ 3) ปฏิบัติตามกฎระเบียบของสังคม เป็นสมาชิกที่ดีของสังคมไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ควบคุมตัวเองได้ เช่น นักเรียนเคารพกฎระเบียบของโรงเรียน เป็นต้น 4) ยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรม เช่น ยึดมั่นในความชื่อสัตย์ ประกอบอาชีพด้วยความสุจริต มีความ สามัคคี มีความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ เป็นตัน 5) การมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของชุมชน เช่น เสียสละส่วนตนเพื่อประโยชน์ส่วนรวม สามารถทำงาน ร่วมกับผู้อื่นได้

37

3.2 การมีสวนร่มในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต สังคมไทยให้ความสำคัญกับเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ความซื่อสัตย์สุจริตมาตั้งแต่โบรณจนถึงปัจจุบัน มี สุภาษิตและคำพังเพยที่คนไทยใช้สอนลูกหลานให้เป็นคนดี มีความซื่อสัตย์ไม่คดโกงผู้อื่นให้ได้ยินเสมอมา เช่น "ชื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน "คนดีตกน้ำไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้" "ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว" เป็นต้น สังคมปังจุบันที่ เป็นสังคมวัตถุนิยม ส่งผลให้ประชาชนคนไทยถูกซักนำให้หลงใหลอยู่กับวัฒนธรรมสมัยใหม่ที่เป็นทาสของเงิน ยกย่องคนรวยมีอำนาจวาสนาโดยไม่คำนึงถึงความเป็นคนดีมีคุณธรรมและภูมิปัญญาทำให้เกิดปัญหาการทุจริต อย่างกว้างขวางปัญหาทุจริตประพฤติมิชอบ ซึ่งเป็นปัญหาใหญ่ในทุกระดับ ทุกภาคส่วนของสังคมและมี ความสำคัญยิ่งต่ออนาคตของชาติบ้านเมืองที่ต้องได้รับการแก้ไขเยียวยาโดยด่วน เป็นเรื่องที่ประชาชนจะต้อง รู้เท่าทันมีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมที่จะป้องกัน แก้ไขขจัดปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบเหล่นี้ให้ลดลงและหมด ไป 3.2.1 การสร้างความตระหนักให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการต่อต้านการทุจริตการสร้าความตระหนักให้ ประชาชนมีส่วนร่วมในการต่อต้านการทุจริต มีวิธีการ ดังนี้ 1) ปลูกจิตสำนึกและค่านิยมการมีคุณธรรมจริยธรรมและการมีวินัยแก่ประชาชนทุกภาคส่วน ส่งเสริม การตำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมให้ใช้การศึกษาเป็นเครื่องมือในการปลูกจิตสำนึก นักเรียน นักศึกษา เยาวชนและประชาชน อย่างต่อเนื่อง 2) ส่งเสริมสนับสนุนให้ความเข้แข็งแก่ครือข่าย การมีส่วนร่วมขององค์กรต่าง ๆ โดยการประชาสัมพันธ์ กรสร้างขวัญและกำลังใจ การส่งเสริมข้อมูลและทักษะการทำงนตันกฎหมาย กรขยายเครือข่าย การป้องกัน และปราบปรามการทุจริตให้กระจายลงไปถึงระดับฐานราก 3) ส่งเสริมความเป็นอิสระและมีประสิทธิภพแก่องค์กรที่มีหน้าที่ตรวจสอบการทุจริตโดยเฉพาะสำนักงาน ป.ป.ช. ให้มีการถ่วงดุลอำนาจจากภาครัฐที่เกี่ยวข้องทุกระดับโดยปราศจกการแทรกแซงของอิทธิพลจากภาค การเมือง และภาคธุรกิจราชการ 4) ส่งเสริมการสร้างมาตรฐานจรรยาบรรณวิชาชีพแก่บุคลากรที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เป็นที่ยอมรับและมั่นใจ ขององค์กรเครือข่าย 3.3 การกระตุ้นจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจ ตระหนักและมีจิตสำนึกในการมีส่วนร่วมที่จะป้องกันการทุจริตประพฤติมิ ชอบในชุมชน และสังคม หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จึงได้ กำหนดแนวทางการเรียนรู้ ในรูปแบบกรณีศึกษาให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการคิด วิเคราะห์ กรมีส่วนร่วมในการ แก้ปัญหาการทุจริตรูปแบบต่างๆด้วยเจตนาที่จะให้ผู้เรียนสามารถนำไป เป็นแนวทางในการปฏิบัติ เพื่อ ประโยชน์ต่อตนเองครอบครัว ชุมชน และสังคมจนเกิดการพัฒนาจิตสำนึกในการมีส่วนร่วมป้องกันและ ปราบปรามการทุจริต ได้แก่

38

กรณีศึกษาเรื่องที่ 1 เรื่อง "ใต้โต๊ะหรือบนโต๊ะ นายนภดล ขับรถกระบะจากบ้านพักไปโรงพยาบาลในกรุงเทพ เพื่อไปเยี่ยมแม่ที่ประสบอุบัติเหตุ อาการ เป็นตายเท่ากันอยู่ในห้อง ICU ขณะขับรถผ่านสี่แยกไฟแดงด้วยความร้อนใจและเห็นว่าไม่มีรถอื่นในบริเวณนั้น เลย ทำให้นายนภดลตัดสินใจขับรถฝ่าไฟแดง ตำรวจที่อยู่บริเวณนั้นเรียก ให้หยุดและขอตรวจใบขับขี่ นาย นภดลจึงได้แอบส่งเงินจำนวนหนึ่งให้แก่ตำรวจ เพื่อจะได้ไม่เสียเวลาให้ตำรวจเขียนใบสั่งและต้องไปจ่ายค่าปรับ ที่สถานีตำรวจ หลังจากนั้นตำรวจได้ปล่อยนายนภดลไป ประเด็น 1. ท่านคิดว่าการที่นายนภดลขับรถผ่าไฟแดงด้วยเหตุผลเพื่อจะรีบไปเยี่ยมแม่ที่ประสบอุบัติเหตุอยู่ใน ห้อง C เป็นการปฏิบัติที่ถูกต้องหรือไม่ เพราะอะไร 2 ถ้าท่านเป็นนายนภดล จะมีวิธีปฏิบัติอย่างไรในกรณีดังกล่าวให้ถูกต้องตามกฎหมายหน้าที่ พลเมือง และคุณธรรมจริยธรรม 3. ตำรวจที่รับเงินที่นายนภดลแอบให้ เพื่อที่จะไม่ต้องเสียค่าปรับได้ชื่อว่าเป็นการกระทำที่ทุจริตผิด กฎหมาย หรือคอร์รัปชั่นอย่างไร 4. ในฐานะที่เป็นประชาชน ท่านคิดว่า จะมีส่วนหรือมีบทบาทในการป้องกันพฤติกรรม ที่เกิดขึ้นได้หรือไม่ อย่างไร

39

ใบงานที่ 13 เรื่องที่ 3 การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติตนตามกฎหมาย การมีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต

คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนการกระทำที่แสดงให้เห็นถึงจริยธรรมและการกระทำที่แสดงให้เห็นถึงการทุจริต ลงในแผนผังที่กำหนดให้

การกระทำ

การทุจริต

จริยธรรม

40

ใบความรู้ที่ 14 เรื่องที่ 4 คุณธรรมและคำนิยมพื้นฐานในการอยู่ร่วมกัน อย่างปรองดองสมานฉันท์ 4.1 ความหมายของ คุณธรรม ค่านิยม และ ความสมานฉันท์ คุณธรรม คือ ความดีงามที่ถูกปลูกฝังขึ้นในจิตใจ มีจิตสำนึกที่ดีความละอาย และเกรงกลัวในการที่จะ ประพฤติชั่ว ถึงแม้ว่าคุณธรรมจะเป็นเรื่องภายในจิตใจแต่สมารถสะท้อนออกมาได้ทางพฤติกรรม เช่น ความ ซื่อสัตย์ความกตัญญูกตเวที ความมีระเบียบวินัย เป็นต้น ความปรองดอง หมายถึง ออมชอม ประนีประนอมยอมกัน ไม่แก่งแย่งกัน ตกลงกันด้วยความไกล เกลี่ย ตกลงกันด้วยไมตรีจิต (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554) คำนิยม คือ ความคิด พฤติกรรมและสิ่งอื่นที่คนในสังคมมองเห็นว่ามีคุณคำ จึงยอมรับมาปฏิบัติและ หวงแหไว้ระยะหนึ่ง คำนิยมมักเปลี่ยนแปลงไปตามกาลสมัยและความคิดเห็นของคนในสังคม ความสมานฉันท์ คือ ความพอใจร่วมกัน ความเห็นพ้องต้องกัน มีความต้องการที่จะทำกรอย่างใด อย่างหนึ่งตรงกัน หรือเสมอเหมือนกัน ซึ่งความสมานฉันท์จะเป็นตัวลดความขัดแย้ง และนำไปสู่ความสามัคคี ค่านิยมพื้นฐานในการอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์ 12 ประการ มีความสำคัญ อย่างยิ่งที่คนไทยจะต้องนำมาประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจำวันอยู่มอ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 1. มีความรักชาติศาสนา พระมหากษัตริย์ เป็นคุณลักษณะที่แสดงถึงรักความเป็นชาติไทย เป็นพลเมืองดีของขา ติ มีความสามัคคี เชิดชูความเป็นไทยเห็นคุณค่า ภูมิใจ ปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ และแสดงความ จงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ 2. ชื่อสัตย์ เสียสละ อดทน เป็นคุณลักษณะที่แสตงถึงการยึดมั่นในความถูกต้องประพฤติตรงตามความเป็นจริง ต่อตนเองและผู้อื่น ละความเห็นแก่ตัว รู้จักแบ่งปันช่วยเหลือสังคมและบุคคลที่ควรให้ รู้จักควบคุมตนเองเมือ่ ประสบกับความยากลำบากและสิ่งที่ก่อให้เกิดความเสียหาย 3. กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์เป็นคุณลักษณะที่แสตงออกถึงการรู้จักบุญคุณ ปฏิบัติตามคำสั่ง สน แสดงความรัก ความคารพ ความอาใจใส่ รักษาชื่อเสียงและตอบแทนบุญคุณของพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครู บาอาจารย์ประชาขนร่วมกิจกรรมแสดงความกตัญญูถูกตเวที 4. ใฝ่หดวามรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งหาตรงและทางอ้อม เป็นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ เพียร พยายามในกรศึกษาเล่าเรียน แสวงหาความรู้ ทั้งทางตรงและทางอ้อม 5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงม เป็นการปฏิบัติสืบทอด อนุรักษ์วัฒนธรรมและประเพณีไทย อันดีงาม ด้วยความภาคภูมิใจเห็นคุณค่าความสำคัญ 6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปัน เป็นความประพฤติที่ควรละเว้น และความ ประพฤติที่ควรปฏิบัติตาม 7. เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่ถูกต้อง คือมีความรู้ ความเข้าใจ ประพฤติปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ของตนเอง เคารพสิทธิและหน้าที่

41

8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่ เป็นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการปฏิบัติตม ข้อตกลงกฎเกณฑ์ระเบียบ ข้อบังคับและกฎหมายมีความเคารพและนอบน้อมต่อผู้ใหญ่ 9 มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทำ รู้ปฏิบัติตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นการประพฤติ ปฏิบัติตน อย่างมีสติตัว รู้คิด รู้ทำ อย่างรอบคอบถูกต้อง เหมาะสม และน้อมน้ำพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวฯ มาปฏิบัติในชีวิตประจำวัน 10. รู้จักดำรงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจำเป็น มีไว้พอกินพอใช้ถ้าเหลือก็แจกจ่าย จำหน่าย และขยายกิจการ เมื่อมี ความพร้อม สามารถดำเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี มีความรู้ มีคุณธรรม และ ปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข 11. มีความเข้มแข็งทั้งร่างกายและจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออำนาจฝ่ายต่ำหรือกิเลสมีความละอายเกรงกลัวต่อบาป ตามหลักของศาสนาเป็นการปฏิบัติตนให้มีร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรปราศจากโคภัยและมีจิตใจที่ เข้มแข็งไม่ กระทำความชั่วใดๆ ยืดมั่นในการทำความตีตามหลักของศาสนา 12 คำนึงถึงประโยชน์ของส่วนรวมและต่อชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง ให้ความร่วมมือใน กิจกรรมที่ เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม และประเทศขาติ เสียสละประโยชน์ส่วนตนเพื่อรักษาประโยชน์ของส่วนรวม

42

ใบงานที่ 14 เรื่องที่ 4 คุณธรรมและคำนิยมพื้นฐานในการอยู่ร่วมกัน อย่างปรองดองสมานฉันท์

คำชี้แจง จงอธิบายคำต่อไปนี้ 1. คุณธรรม คือ ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. 2. ความปรองดอง คือ ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................. .................................................. 3. ค่านิยม คือ ................................................................................................................................................ ............................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. 4. ความสมานฉันท์ คือ ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. 5. ค่านิยมพื้นฐานในการอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์มีกี่ประการ อะไรบ้าง ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................. .................................................. ...............................................................................................................................................................................

43

ใบความรู้ที่ 15 เรื่อง รัฐธรรมนูญ

รัฐธรรมนูญ เป็นกฎหมายสูงสุดหรือเป็นกฎหมายหลักของประเทศที่ออกโตยฝ่ายนิติบัญญัติ คือ รัฐสภา อันประกอบด้วย ตัวแทบของประชาชน ดังนั้นรัฐธรรมนูญจึงเป็นกฎหมายที่ประขาชนส่วนใหญ่ ให้ ความเห็นชอบ ความสำคัญ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายที่สำคัญที่สุด เป็นเสมือนกฎเกณฑ์หรือกติกาที่ประขาชนในสังคม ยอมรับให้เป็นหลักในการปกครองและการบวิหารประเทศ ซึงการออกกฎหมายใดๆ ย่อมต้องดำเนินการภายใน กรอบของบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ กฎหมายใดที่ขัดแย้งต่อรัฐธรรมนูญดูจะไม่สมารถใช้บังคับได้ สาเหตุที่มีรัฐธรรมนูญในประเทศไทย สาเหตุที่สำคัญมาจากการที่ประเทศไทยเกิดการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองจากระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย ซึ่งเริ่มมีแนวคิดตั้งแต่รัชกาลที่ 6 โดยกลุ่มบุคคลที่เรียก ตนเอง ว่า"คณะราษฎร"ประกอบด้วย ข้าราชการ ทหารพลเรือน ได้เข้าถึงอำนาจการปกครอง พระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงได้ทรงพระปรมาภิไธย ในร่างรัฐธรรมนูญการปกครองแผ่นดิน ฉบับชั่วคราวที่คณะ ราษฎร์ได้ตรียมไว้ นับว่าเป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทยเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2475ถือได้ว่าประเทศไทยมี การเปลี่ยนแปลกปกครองจากระบอบบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นการ รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันมีหลักการและเจตนารมณ์ที่จะชำรงรักษาไว้ซึ่งเอกราชและความมั่นคงของชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ซึ่งหลักการสำคัญของรัฐธรรมนูญพุทธศักราช 2550 ได้ระบุไว้ในหมวด 1 บททั่วไป สรุปได้ ดังนี้ 1. ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียว จะแบ่งแยกมิได้ 2. มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 3. อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย 4. ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์สิทธิ เสรีภาพ และความสมอภาคของบุคคลต้องได้รับ 5. ประชาชนชาวไทยทุกคนไม่แยกเพศ ศาสนา และย่อมได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกัน โครงสร้างของรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญแห่ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 แบ่งโครงสร้างออกเป็น 15หมวด และมีบทเฉพาะ กาล สรุปสาระสำคัญแต่ละหมวดดังนี้ หมวด 1 บททั่วไป ประเทศไทย เป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบ่งแยกออกมิได้มีการปกครองแบบ ประชาธิปไตยอันมีพรมหากษัตริย์เป็นประมุข พระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจทางรัฐสภาคณะรัฐมนตรี และศาล หมวด 2 พระมหากษัตริย์ ทรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ทรงเลือกและแต่งตั้งประธาน องคมนตรีและองคมนตรีไม่เกิน18 คน

44

หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย การใช้อำนาจโดยองค์กรของรัฐ ต้องคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็น มนุษย์สิทธิและเสรีภาพของบุคคลทั้งด้นการประกอบอาชีพ การสื่อสาร การแสดงความคิดเห็นความเป็นธรรม ด้านการศึกษา การสารรณสุข และสวัสดิการของรัฐ เสรีภาพในการชุมนุมที่ไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่นและกฎหมาย หมวด 4 หน้าที่ของชนชาวไทย บุคคลมีหน้าที่พิทักษ์รักษาชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์และการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย อันมีพรมหากษัตริย์เป็นประมุข และมีหน้าที่ป้องกันรักษาผลประโยชน์ของชาติ ปฏิบัติ ตมกฎหมาย โดยเฉพาะหน้าที่ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ เน้นให้ประชาชนมีส่วนร่วม การกระจายอำนาจ การดำเนินการ มุ่งเน้น การพัฒนา คุณภาพ คุณธรรม มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ให้ความคุ้มครองและพัฒนาเด็กเยาวชน ส่งเสริมความรู้ รักสามัคคี หมวด 6 รัฐสภา รัฐสภามีหน้าที่บัญญัติกฎหมาย และควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร หมวด 7 การมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งมีสิทธิเข้าชื่อร้องขอ ต่อวุฒิสภาให้ถอดถอนบุคคลออกจกตำแหน่งได้ เพราะมีสิทธิออกเสียงประชามติ หมวด 8 การเงิน การคลัง และงบประมาณ เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจัดหารายได้ การกำหนด รายจ่ายการก่อหนี้หรือการดำเนินการที่ผูกพันทรัพย์สินของรัฐหลักเกณฑ์การกำหนดวงเงินสำรองง่ายเพื่อกรณี ฉุกเฉินหรือจำเป็นซึ่งเป็นกรอบในการกำกับการใช้จ่ายเงินตามแนวทางการรักษาวินัยการเงิน การคลัง และ รักษาเสถียรภพหางเศรษฐกิจ อย่างยั่งยืน และเป็นแนวทางในการจัดทำงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดิน หมวด 9 คณะรัฐมนตรี รัฐธรรมนูญกำหนดให้มีนายกรัฐมนตรี 1 คน และมีรัฐมนตรีอื่นอึกไม่เกิน 35 คน โดย ได้รับการแต่งตั้งจากพระมหากษัตริย์ หมวด 10 ศาล กำหนดให้ศาลหรืออำนาจตุลการแบ่งเป็น 1. บททั่วไป 2. ศาลรัฐธรรมนูญ 3. ศาลยุติธรรม 4. ศาลปกครอง 5. ศาลทหาร หมวด 11 องค์กรตามรัฐธรรมนูญ กำหนดให้มีองค์กรที่จะตำเนินการตรวจสอบ ติดตามการทำงานของบุคคล คณะบุคคล และ หน่วยงานทั่งภาครัฐและเอกขน ดังนี้ 1. องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ประกอบด้วย คณะกรรมการการเลือกตั้งผู้ตรวจการแผ่นดินคณะกรรมการ กรป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและคณะกรรมการตรวจเงิน แผ่นดิน 2. องค์กรอันตามรัฐธรรมนูญ ประกอบด้วย องค์กรอัยการคณะกรมการสิทธิมนุษยชน แห่งชาติ และสภาที่ ปรึกษาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ หมวด 12 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ กำหนดให้มีการตรวจสอบข้าราชการประจำ และข้าราชการ การเมือง

45

หมวด 13 จริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ การพิจารณา สรรหา แต่ตั้ง บุคคลข้าสู่ตำแหน่งต้องเป็นไปตามระบบคุณธรรมและคำนึงถึง พฤติกรรมทาจริยธรรมด้วย หมวด 14 การปกครองส่วนท้องถิ่น ให้ความเป็นอิสระแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการบริหาเน้นการ กระจายอำนา โตยให้การสนับสนุนและกำหนตนโยบายการบริหาร หมวด 15 การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้มีการแก้ไขเพิม่ เติมได้ แต่ห้ามแก้ไขที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขบทเฉพาะกาลให้องคมนตรีดำรงตำแหน่งอยู่ใน วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญ บทเฉพาะการ ให้องคมนตรีดำรงตำแหน่งอยู่ในวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญ

46

ใบความรู้ที่ 15 เรื่อง รัฐธรรมนูญ

คำชี้แจง เติมคำหรือข้อความลงในช่องว่าง 1. ในการตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญผู้มีสิทธิ์เสนอร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญได้แก่ ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................. .................................................. 2. หลังจากที่เสนอร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญต่อรัฐสภาแล้ว จะมีกระบวนการพิจารณาแบ่ง ออกเป็น 3 วาระ ได้แก่ ............................................................................................................................. .................................................. ....................................................................................................................................................... ........................ ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. .......................................................................................................................................... ..................................... 3. ผู้มีสิทธิ์ร่างพระราชกำหนด คือ ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................. .................................................. ...............................................................................................................................................................................

47

ใบความรู้ที่ 16 เรื่องที่ 6 ความรู้เบื้องดันเกี่ยวกับกฎหมาย

6.1 ความหมายของกฎหมาย กฎหมาย คือ ข้อบังคับของรัฐที่ใช้ควบคุมความประพฤติของคนในประเทศโดยมีจดุ มุง่ หมายที่จะ คุม้ ครองประโยชน์รักษาความสงบเรียบร้อยในการอยู่ร่วมกันในสังคม ผู้ใดฝ่าฝืนจะต้องถูกลงโทษ 6.2 ความสำคัญของกฎหมาย กฎหมายมีความเกี่ยวช้องกับมนุษย์ตั้งแต่เกิดจนตาย เช่น การเกิด เกี่ยวซ้องกับกฎหมายบุคคล กฎหมายทะเบียนราษฎร โดขึ้นเกี่ยวข้องกับ พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติแต่งาน เกี่ยวข้องกับกฎหมายครอบครัว ตาย กฎหมายมรดก กฎหมายมีความสำคัญ 6.2.1 เป็นเครื่องมือสร้างระเบียบให้สังคมและประเทศชาติ 6.2.2 ก่อให้เกิดความเป็นธรรมในสังคม 6.3 ลักษณะทั่วไปของกฎหมาย 6.3.1 กฎหมายมีลักษณะเป็นข้อบังคับ ดังนี้ 1) บังคับให้ทำ เช่น ชายไทยต้องเกณฑ์ทหาร ผู้มีรายได้ต้องเสียภาษีเด็กต้องเข้าเรียน ตาม พ.ร.บ. การศึกษา ฯลๆ 2) บังคับไม่ให้ทำ เช่น ห้ามทำร้ายร่างกาย ห้ามลักทรัพย์ฯลๆ 6.4 ความจำเป็นที่ต้องเรียนรู้กฎหมาย ในฐานะที่เราเป็นสมาชิกของสังคมจึงมีความจำเป็นต้องศึกษาและเรียนรู้ทำความเข้าใจในกฎหมาย ต่างๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกับตัวเราและสังคมที่เราอยู่ ทั้งนี้ก็เพื่อก่อเกิดประโยชน์ต่อตนเอง

48

ใบงานที่ 16 เรื่องที่ 6 ความรู้เบื้องดันเกี่ยวกับกฎหมาย

คำชี้แจง จงอธิบายความหมายต่อไปนี้ 1. กฎหมายคืออะไร ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. 2. กฎหมายมีความสำคัญอย่างไรบ้าง ............................................................................................................................. .................................................. ................................................................................................................................................................ ............... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. ................................................................................................................................................... ............................ 3. กฎหมายแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................. .................................................. ...............................................................................................................................................................................

49

ใบความรู้ที่ 17 เรื่องที่ 7 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับคนเองและครอบครัว

กฎหมายในชีวิตประจำวันที่เกี่ยวข้องกับตนอง และครอบครัว ได้แก่ กฎหมายดังต่อไปนี้ 7.1 กฎหมายเกี่ยวกับชื่อบุคคล พระราชบัญญัติซื่อบุคคลกำหดไว้ (สัญชาติไทยต้องมีชื่อตัวและต้องมีชื่อตัวและชื่อสกุล) 7.1.1 การตั้งชื่อตัวต้องไม่ให้พ้องกับพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์และพระนามของ พระราชินี หรื อรชทินนม และต้องไม่มีคำหยาบคาย ชื่อตัวมีกี่พยางค์ก็ได้และมีความหมายดี การตั้งชื่อสกุลไม่เกิน 10 พยัญชนะ (ยกเว้นราชทินนามเก่า) 7.1.2 ในเรื่องชื่อสกุล เดิมกฎหมายกำหนดให้หญิงที่มีสามีต้องเปลี่ยนชื่อสกุลของตนมาใช้ สกุลของสามี แต่ ปัจจุบันกฎหมายได้มีการแก้ไขใหม่มีผลตามพระราชบัญญัติชื่อบุคคล (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2548 7.2 กฎหมายทะเบียนราษฎร์ "กฎหมายทะเบียนราษฎร์" เกิดขึ้นมาเพื่อการจัดระเบียบคนในสังคมและการที่จะเป็นประชาชนไทยที่ถูก ต้อไม่ใช่เพียงแค่ลืมตาดูโลกบนแผ่ดินไทยแล้วจะถือว่าเป็นคนไทยที่สมบูรณ์ จำเป็นต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ทะเบียนราษฎร์อย่างเคร่งครัดซึ่งกฎหมายทะเบียนราษฎร์พื้นฐานที่ควรตระหนักให้ความสำคัญ ได้แก่ การเกิด การตายการย้ายที่อยู่และการทำบัตรประชาชน 7.2.1 การแจ้งเกิด ต้องแจ้งต่อนายทะเบียนที่อำเภอภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันเกิดแล้วหางการจะออก "ใบสูติบัตร" ซึ่งเป็น เอกสารที่แสตงขาติกำเนิด วันเตือนปีเกิด การแจ้งเกิดนี้ไม่เสียคำธรรมเนียมใด ๆ แต่ถา้ ไม่แจ้งเกิด มีความผิด ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกิน 1,000 บาท วิธีการแจ้งเกิด 1) แจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับเด็กที่เกิด คือ ชื่อ นามสกุล พ.ศ. สัญชาติของเด็กที่เกิด วันเดือนปีเกิด เวลาตก ฟาก ตลอดจนวันข้างขึ้นข้างแรม สถานที่เกิด บนเลขที่ ถนนตำบล เขต จังหวัด 2) แจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับมารดาของเด็กที่เกิด คือ ชื่อ นามสกุลและนามสกุลเดิมก่อนสมรส อายุ สัญชาติ ที่อยู่โดยละเอียด 3) แจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับบิดา คือ ซื่อ นามสกุล อายุ สัญชาติ 4) หลักฐานที่จะต้องนำไปแสดงต่อนายทะเบียน -สำเนาทะเบียนบ้าน ฉบับเจ้าบ้าน (ท.ร.14) บัตรประจำตัวประชาชน หรือบัตรประจำตัวอื่น ๆของเจ้าบ้านและของคนแจ้ง หนังสือรับรองการเกิด

50

(ท.ร.1/1) ซึ่งแพทย์หรือพยาบาลหรือเจ้าหน้าที่อนามัย หรือผดุงครรภ์แล้วแต่กรณี ออกให้(ถ้ามี) บัตรประจำตัวประชาชน หรือบัตรประจำตัวอื่น ๆ ของพ่อแม่เด็กที่เกิด 7.2.2 การแจ้งตาย เมื่อมีคนตา ผู้เกี่ยวข้องต้องไปแจ้งการตายเพื่อให้ได้ใบมรณะบัตร บัตรที่แสดงว่าคนนั้นตายแล้ว ภายใน 24 ชั่วโมง การแจ้งตายไม่เสียคำธรรมเนียมใดๆแต่ถ้าไม่แจ้งตายภายในเวลาที่กำหนดมีความผิดต้องระวางโทษ ปรับไม่เกิน 1,000บาท วิธีการแจ้งตาย 1) แจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับผู้ตาย เช่น ซือ่ นามสกุล อายุ สัญชาติ เพศของผู้ตาย เวลาที่ตาย ระบุวัน เดือน ปี เวลาโดยละเอียด สถานที่ตาย สาเหตุการตาย การดำเนินการกับศพของผู้ตาย (เก็บ ฝัง เผา) ที่ไหน เมื่อไร 2) หลักฐานที่จะต้องนำไปแสดงต่อนายทะเบียน - สำเนาทะเบียนบ้าน ฉบับเจ้าบ้าน (ท.ร.14) - บัตรประจำตัวประชาชน หรือบัตรประจำตัวอื่น ๆ ของเจ้าบ้าน - บัตรประจำตัวประชาชนของผู้ตาย 7.2.3 การจดทะเบียนสมรส ชายหญิงที่จะจดทะเบียนสมรส ต้องไปให้ถ้อยคำและแสดงความยินยอมเป็นสมีภรรยากันโดยเปิดเผย ต่อหนนายทะเบียนที่อำเภอ กิ่งอำเภอ เขต หรือสถานทูต สถานกงสุลไทยในต่างประทศแห่งใดก็ได้โดยไม่ จำเป็นต้องมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านของท้องถิ่นนั้น หลักฐานที่จะต้องนำไปแสดงต่อนายทะเบียน -บัตรประชาชน -สำเนาทะเบียนบ้านของทั้งสองคน กรณีที่ทั้งคู่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (17ปี แต่ไม่ถึง 20ปี) ต้องให้บุคคลมีผู้อำนาจให้ความ ยินยอม เช่น พ่อแม่ หรือ ผู้ปกครอง เป็นต้น โดยอาจให้ผู้ยินยอมลงลายมือชื่อในขณะจดทะเบียน หรือทำเป็นหนังสือยินยอมก็ได้

51

ใบงานที่ 17 เรื่องที่ 7 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเองและครอบครัว

คำชี้แจง ให้นักศึกษาอ่านกรณีศึกษา แล้วตอบคำถาม เปิ้ลอายุ 16 ปี ชวนเจฟฟี่ซึ่งเป็นเพื่อนอายุ 17 ปี ซึ่งทำการสมรสแล้วไปซื้อจักรยานยนต์เพื่อไว้ใช้ขับขี่ไปทำ ธุระในที่ต่างๆ ที่อยู่ห่างไกลจากหมู่บ้าน เจ้าของร้านจำหน่ายรถจักยานยนต์ไม่ยอมขายรถจักรยานยนต์ให้ทั้ง 2 คน แต่เจฟฟี่ได้แสดงหลักฐานการสมรสให้เจ้าของร้านดู คำถาม 1. ถ้านักศึกษาเป็นเจ้าของร้านจำหน่ายรถจักรยานยนต์ จะขายรถจักรยานยนต์ให้กับใคร จงอธิบาย เหตุผล ............................................................................................................................. .................................................. ....................................................................................................................................................... ........................ ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. .......................................................................................................................................... ..................................... 2. ใครไม่สามารถซื้อจักรยานยนต์ได้ เพราะอะไรแต่ถ้าเขาต้องการซื้อจักรยายยนต์ เขาควรปฏิบัติอย่างไร ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ..................................................

52

ใบความรู้ที่ 18 เรื่องที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชุมชน

กฎหมายที่เกี่ยวซ้องกับชุมชน เป็นกฎหมายว่าด้วยการรักษาสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัวคนในชุมชน มี ให้เกิดความผิดปกติจากธรรมชาติที่ควรจะเป็นตลอดจนการดูแลปกบ๊อง และป้องกันให้เกิดความเป็นธรรมใน สังคม ไม่เอารัดเอาเปรียบต่อกันซึ่งกฎหมายที่ควรรู้ได้แก่ 8.1 กฎหมายส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยทั่วไปบุคคลมีสิทธิละหน้าที่ต้องมีส่วนร่วมในการจัดการ บำรุงรักษาและใช้ประโยชน์จากภัยจาก ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล และยังยืน รวมถึงมีหน้าที่ต้องอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตามที่ รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้ โดยเฉพาะพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 กำหนดไว้ 8.2 กฎหมายที่เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค กฎหมายว่าด้วยหาการคุ้มครองผู้บริโภคปัจจุบัน คือ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 และมี การแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2541 เป็นกฎหมายที่ให้ความคุม้ ครองและให้ความเป็นธรรมแก่ ผู้บริโภค บุคคลซึ่งกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคได้แก่ บุคคล 6 ประเภทดังนี้ 8.2.1 ผู้ซื้อสินคำจากผู้ขาย 8.2.2 ผู้ได้รับการบริการจากผู้ขาย 8.2.3 ผู้ทรัพย์สินจากผู้ให้เช่า 8.2.4 ผู้เช่าซื้อทรัพย์สินจกผู้ให้เช่าซื้อ 8.2.5 ผู้ซึ่งได้รับการเสนอหรือได้รับการชักขวนให้ซื้อสินค้าหรือรับริกรจาก 8.2.6 ผู้ใช้สินคำหรือได้รับบริการจกผู้ประกอบธุรกิจโตยชอบ แม้มิได้เป็นผู้เสียค่าตอบแทน

53

ใบงานที่ 18 เรื่องที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชุมชน

คำชี้แจง ให้นักศึกษาเขียนสรุปเกี่ยวกับประเภทกฎหมาย โดยยกตัวอย่างกฎหมายแต่ละประเภทมาอย่างละ 3 อย่าง และอธิบายจุดประสงค์และผลดีของการบัญญัติกฎหมายที่เกี่ยวกับการดำเนินชีวิตในสังคมแล้ว บันทึกข้อมูลบนแผนภาพ ประเภทกฎหมาย/กฎหมาย

จุดประสงของการบัญญัติ

ผลดีของการบัญญัติ

1. กฎหมายที่เกี่ยวกับตนเอง และครอบครัว 1. 2. 3.

........................................................... ........................................................... .......................................................... ...........................................................

........................................................... ........................................................... .......................................................... ...........................................................

2. กฎหมายที่เกี่ยวกับชุมชน และประเทศชาติ 1. 2. 3.

........................................................... ........................................................... .......................................................... ............................................................

........................................................... ........................................................... .......................................................... ...........................................................

54

ใบความรู้ที่ 19 เรื่องที่ 9 กฎหมายอื่น ๆ

กฎหมายอื่น ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันที่ควรศึกษา ทั้งนี้เพื่อเป็นกาวรักษาผลประโยชน์ทเี่ ราพึงมี หรือเป็นกาป้องกันไม่ให้ปฏิบัติตนผิดกฎหมาย โดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์กฎหมางที่สำคัญ มีตงต่อไปนี้ 9.1 กฎหมายประกันถังคม กฎมายประกันสังคม เป็นกฎหมายที่ให้หลักประกันแก่บุคคลในสังคมที่มีปัญหา หรืความเดือดร้อน ทางด้นการเงิน เนื่องจากการประสบเคราะห์ หรือมีเหตุการณ์อันทำให้เกิดปัญหา ขอบเขตการบังคับใช้กฎหมายประกันสังคม ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 ที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันได้กำหนดให้ สถนประกอบ กิจการที่มีลูกจงรวมกันตั้งแต่ 10 คน ขึ้นไป และนายจ้างของสถานประกอบกิจการนั้น ต้องยู่ภายไต้ข้อบังคับ ของกฎหมายดังกล่าว ลูกจ้างซึ่งมีฐานะเป็นผู้ประกันตนก็คือ บุคคลที่สมัครเข้าทำงานในสถานประกอบกิจกา ที่มีลูกจ้า รวมกันตั้งแต่ 10 คน ขึ้นไป โดยกฎหมายประกันสังคมบังคับให้ลูกจ้าดังกล่าวต้องจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุน ประกันสังคม ซึ่งนายจ้างจะเป็นผู้หักเงินคำข้างทุกครั้งที่มีการจ่ายค่าจ้างและนำส่งข้าคอทุนประกันสังคม เป็น เงินสมทบส่วนของลูกจ้าง " ปัจจุบันกฎหมายปิดให้ใช้ได้ตั้งแต่กิจการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไปแล้วแต่เจ้าของและลูกจ้างสมัครใจ ประโยชน์ทดแทน ประโยชน์ทดแทน หมายถึง ความช่วยเหลือที่ให้แก่ผู้ประกันตนหรือผู้ที่มีสิทธิเมื่อผู้ประกันตนประสบ เคราะห์ภัยหรือเดือดร้อน และปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดแล้ว ซึ่งรูปแบบของประโยชน์ทดแทนมี 4 รูปแบบ คือ บริการ 9.3 กฎหมายคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานของประเทศไทยปัจจุบันนี้คือ พระราชบัญญัติคุ้มครอง แรงงาน พ.ศ. 2541 ซึ่งถือได้ว่าเป็นแหในการคุ้มครองแรงงาน บุคคลที่ได้รับการคุ้มครอง จากกฎหมายฉบับนี้ คือ "ลูกจ้าง" ซึ่งหมายความถึงผู้ซึ่งตกลงทำงนให้นายจ้างโดยรับคำจ้าง สาระสำคัญของพระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน ประกอบด้วย 1. การคุ้มครองกำหนดเวลาในการทำงาน 2. สิทธิของลูกจ้างในการพักผ่อนระหว่างทำงาน 3.สิทธิของลูกจ้างในการมีวันหยุด 4. สิทธิการลาของลูกจ้าง

55

5. สิทธิได้รับเงินทดแทนการดคุม้ ครองการใช้แรงงานหญิง 6. การคุ้มครองการใช้แรงงานเด็ก 9.4 กฎหมายว่าด้วยสิทธิเด็กและสตรี ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 กำหนดให้เด็ก หมายถึง บุคคลซึ่งมีอายุต่ำกว่า 18 ปีบริบูรณ์ ไม่รวมผู้ที่บรรลุนิติภาวะโดยการสมรสสิทธิเด็ก หมายถึง สิทธิ เสรีภาพ ความเสมอภาคของเด็ก ที่ได้รับการ คุ้มครองตามกฎหมาย เช่น สิทธิในการได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปี สิทธิในการได้รับการคุ้มครองจากการ ใช้ความรุนแรงของผู้ใหญ่ เป็นตันกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองเด็ก 1. รัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 การพิทักษ์คุ้มครอง เด็กทั้งเด็กปกติ เด็กพิการ ทุพพลภาพ และเด็กด้อยโอกาส 2. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ชาติ พ... 2542 กำหนดให้รัฐจัดการศึกษาให้เด็ก มีสิทธิ สมอกันในการรับ การศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี 3. พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545 กำหนดให้เด็กต้องเข้ารับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี 4.พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 กฎหมายที่คุ้มครองสวัสดิภาพและส่งเสริมความประพฤติที่ดีงาน ของเด็ก 5. กฎหมายแรงาน มีข้อกำหนดห้ามใช้แรงงานเด็ก 6. ประมวลกฎหมายอาญา กำหนดบทลงโทษหนักแก่ผู้ที่ละเมิดสิทธิเด็ก 7. ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการลงโทษนักเรียน กำหนดไม่ให้ครูลงโทษนักเรียนด้วยการเฆี่ยนตี ซึง่ ถือเป็นการละเมิดสิทธิเด็กกฎหมายเกี่ยวกับความผิดของเด็กทางอาญาการกระทำผิดทาอาญา หมายถึง กร กระทำใดๆ ทีกระทำลงไปแล้วมีความผิด โทษทางอาญา

56

ใบงานที่ 19 เรื่องที่ 9 กฎหมายอื่น ๆ คำชี้แจง ให้นักศึกษาตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา คือใคร ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................. .................................................. 2. การคำนวณเงินได้สุทธิสามารถทำได้อย่างไร ...................................................................................................................................................... ......................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. ......................................................................................................................................... ...................................... 3. ผู้มีเงินได้ต้องยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้ภายในกำหนดเวลาใดของทุกปี ................................................................................................................................................. .............................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. 4. การปฏิบัติตนตามกฎหมายภาษีอากรมีผลดีต่อสังคมและประเทศชาติอย่างไร ............................................................................................................................. .................................................. ................................................................................................................................................. .............................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................. .................................................................................................................................... ...........................................

57

แบบทดสอบ คำสั่ง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ศาสนาพุทธเป็นศาสนาประเภทใด ก. เอกเทวนิยม ข. พหุเทวนิยม ค. สัพพัตถเทวนิยม ง. อเทวนิยม 2. ความสำคัญของศาสนามีกี่ประเภท ก. 7 ข. 5 ค. 4 ง. 3 3. ข้อใดคือความหมายของวัฒนธรรมทีถ่ ูกต้อง ก. วัฒนธรรมคือสิ่งที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ข. วัฒนธรรมคือความชื่อการแต่งกายของแต่ละชนชาติ ค. วัฒนธรรมคือระบบการเมืองการปกครองและสภาพแวดล้อม ง. วัฒนธรรมคือวิถีการดำเนินชีวิตที่สร้างขึ้นเพื่อใช้การดำเนินชีวิตในสังคม 4. ศาสดาหมายถึงอะไร ก. ผู้ปฏิบัติตามคำสอนของศาสนา ข. ผู้นับถือศาสนา ค. ผู้ค้นพบศาสนาและนำคำสอนมาเผยแพร่ ง. สาวกของศาสนา 5. สัมมาสมาธิอยู่ในธรรมะหมวดใด ก. มรรค8 ข. อริยสัจ4 ค. ฆราวาสธรรม ง. พรมวิหาร4 6. คำสอนของศาสนาใดที่เน้นให้มนุษย์มีความรักต่อกัน ก. ศาสนาพุทธ ข. ศาสนาคริสต์ ค. ศาสนาอิสลาม ง. ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู

58

7. คำสอนศาสนาใดที่เน้นให้มนุษย์มีความรักต่อกัน ก. ศาสนาพุทธ ข. ศาสนาคริสต์ ค. ศาสนาอิสลาม ง. ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู 8. การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในสังคม วิธีใดเป็นวิธีที่ดีที่สุด ก. ใช้หลักธรรมทางศาสนา ข. ใช้หลักกฎหมาย ค. ใช้หลักการเจรจา ง. ใช้คณะกรรมการ 9. สังคมที่ความเจริญก้าวหน้าทางวัตถุเป็นสังคมวัตถุนิยม ประชาชนควรมีค่านิยมใดจึงจะเหมาะสม ก. รู้รักสามัคคี ข. ประหยัดและนิยมไทย ค. ใช้ชวี ิตเรียบง่าย ง. มีระเบียบวินัย 10. เมกกะ คือ เมืองสำคัญของศาสนาใด ก. ศาสนาพุทธ ข. ศาสนาอิสลาม ค. ศาสนาคริสต์ ง. ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู 11. การถือศีลอดเป็นข้อปฏิบัติของศาสนาใด ก. ศาสนาพุทธ ข. ศาสนาอิสลาม ค. ศาสนาคริสต์ ง. ศาสนาพรามหมณ์ – ฮินดู 12. ศาสนาใดที่นับถือเทพเจ้าหลายองค์ ก. ศาสนาพุทธ ข. ศาสนาอิสลาม ค. ศาสนาคริสต์ ง. ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู 13. ข้อใดคือวัฒนธรรม ก. อาหาร ข. การแต่งกาย ค. ภาษาพูด ง. ถูกทุกข้อ

59

14. ข้อใดคือประเพณี ก. การพูดทักทาย ข. การแต่งงาน ค. การรับประทานอาหาร ง. การถือศีล8 15. ประเพณีวิ่งควายอยู่ในจังหวัดใด ก. ชัยนาท ข. อ่างทอง ค. ชลบุรี ง. สมุทรปราการ 16. ประเทศไทยได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมประเพณีจากที่ใด ก. อารยธรรมตะวันตก ข. อารยธรรมจีน ค. อารยธรรมอินเดีย ง. ถูกทุกข้อ 17. การตอบแทนบุญคุณ บิดา มารดา บุพการี จัดเป็นอะไร ก. ประเพณี ข. จารีตประเพณี ค. ขนบประเพณี ง. ธรรมเนียมประเพณี 18. ภาษาไทยได้รับอิทธิพลจากภาษาอะไรบ้าง ก. ภาษาบาลี – สันสกฤต ข. ภาษาอังกฤษ ค. ภาษาจีน ง. ถูกทุกข้อ 19. ประเพณีใดที่มีทุกภาคของประเทศไทย ก. สงกรานต์ ข. แข่งเรือ ค. วิ่งควาย ง. สารทเดือน 10

60

20. ประเพณีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญได้รับอิทธิพลจากศาสนาใด ก. ศาสนาพุทธ ข. ศาสนาคริสต์ ค. ศาสนาอิสลาม ง. ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู 21. วัฒนธรรม ประเพณีมีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมใด ก. กีฬา ข. การท่องเที่ยว ค. พาณิชยกรรม ง. นันทนาการ 22. ในความเป็นชาติแต่ละชาติมีความแตกต่างในด้านใด ก. วัฒนธรรมประเพณี ข. ภาษา ค. ศิลปะ ง. เชื้อชาติ 23. ความหมายคำว่า”ประชาธิปไตย”ตรงกับข้อใด ก. ประชาชนเป็นใหญ่ในประเทศ ข. ระบอบการปกครองที่ถือมติของปวงชนเป็นใหญ่หรือการถือเสียงข้างมากเป็นใหญ่ ค. การปกครองที่ยึดหลักสิทธิเสรีภาพ ง. การปกครองที่มี 3 อำนาจ 24. การใช้ชีวิตประชาธิปไตย ต้องเริ่มต้นที่ใดเป็นแห่งแรก ก. ครอบครัว ข. โรงเรียน ค. ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ง. การเลือกตั้งผู้ใหญ่บ้าน 25. หลักสำคัญในการประชุมร่วมกันคืออะไร ก. รักษาระเบียบ ข. มีสว่ นร่วมในการจัดประชุม ค. ยอมรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น ง. เคารพกฎกติกา 26. สถานภาพการสมรสได้แก่ข้อใด ก. โสด ข. สมรส ค. หม้าย ง. ถูกทุกข้อ

61

27. ข้อต่อไปนี้ข้อใดหมายถึง “หน้าที่ของปวงชนชาวไทย” ก. ชาวไทยมีหน้าที่เกณฑ์ทหาร เมื่ออายุครบ 20 ปี ข. หน้าที่เลือกตั้งผู้แทนราษฎร ค. หน้าที่ทะนุบำรุงศาสนา ง. หน้าที่รักษาสถาบันทุกสถาบัน 28. เมื่อมีคนตายเกิดขึ้นในบน ให้แจ้งการตายภายในเวลาเท่าใด ก. 24 ชั่วโมง ข. 2 วัน ค. 3 วัน ง. 7 วัน 29. อาชีพลูกจ้างอยู่ในความคุ้มครองของกฎหมายใด ก. กฎหมายแพ่ง ข. กฎหมายอาญา ค. กฎหมายครอบครัว ง. กฎหมายประกันสังคม 30. โทษสูงสุดเกี่ยวกับคดียาเสพติด คืออะไร ก. จำคุก 20 ปี ข. จำคุก 20 ปี ทั้งจำทั้งปรับ ค. จำคุกตลอดชีวิต ง. ประหารชีวิต 31. ผู้ใดขาดคุณสมบัติในการสมัครเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ก. นายแดงจบการศึกษาระดับปริญญาตรี ข. นายแดงไม่ไปเลือกตั้งทุกครั้ง ค. นายเขียวไปเลือกตั้งทุกครั้ง 32. ประเทศไทยปกครองระบอบประชาธิปไตยตั้งแต่ปี พ.ศ.อะไร ก. 2455 ข. 2465 ค. 2475 ง. 2485 33. "ชาติชายเป็นคนพิการ เมื่ออายุครบสิบแปดปี เขาสมารถไปใช้สิทธิเลือกตั้งได้" ข้อความ นี้สอดคล้องกับเรื่องใด ก. ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ข. ความเสมอภาค ค. สิทธิ หน้าที่ ง. เสรีภาพ

62

34 . ถ้าเห็นสัญลักษณ์ไฟกระพริบสีเหลืองให้รถทุกคันปฏิบัติอย่างไร ก. วิ่งต่อไป ข. เตรียมหยุด ค. รีบวิ่งให้ผ่านไป ง. ลดความเร็วลง 35. ข้อใดเป็นหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญของชายไทย ก. ต้องแต่งกาย ข. ต้องอุปสมบท ค. รับการเกณฑ์ทหาร ง. ต้องทำงานรับราชการ 36. กรณีที่ต้องเข้าไปค้นสถานที่ที่สงสัยว่ามีการละเมิดสิทธิเด็ก เจ้าหน้าที่ควรปฏิบัติอย่างไร ก. นำแพทย์ไปด้วย ข. ไปพร้อมกับนักจิตวิทยา ค. ขอให้ศาลออกหมายค้น ง. ไม่ต้องขอหมายค้นจากศาล 37. การปฏิบัติของผู้ปกครองในข้อใด เป็นการขัดขวางการพัฒนาความเจริญเติบโตของเด็ก ก. ห้ามวิ่งเล่น ข. ห้ามคบเพื่อนเกเร ค. ห้ามนอนดึก ง. ห้ามเที่ยวกลางคืน 38. ประชาชนชาวไทยมีบทบาทสำคัญในร่างรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันก่อนประกาศใช้อย่างไรบ้าง ก. ส่งตัวแทนประชาชนไปร่วมร่างรัฐธรรมนูญ ข. ออกเสียงประชามติให้ความเห็นชอบรับร่างรัฐธรรมนูญ ค. สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญมาจากการเลือกตั้งของประชาชน ง. ประชาชนไปใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพื่อไปร่างรัฐธรรมนูญ 39. รัฐธรรมนูญมีความสำคัญหลายประการ ยกเว้นข้อใด ก. ยืนยันความเป็นอกราชของประเทศไทย ข. คุ้มครองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิและเสรีภาพของชาวไทย ค. ยืนยันว่าประเทศไทยมีกรปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ง. มีบทลงโทษผู้กระทำความผิดทั้งทางด้านการเมืองการปกครอง และทางด้นบ่อนทำลายความมั่นคงของ ประเทศ 40. สถาบันใดมีอำนาจในทางตราพระราชบัญญัติ ก. รัฐสภา ข. รัฐบาล ค. คณะรัฐมนตรี ง. ตาลรัฐธรรมนูญ

63

เฉลยแบบทดสอบ 1. ตอบ ง. ไม่เชื่อว่าพระเจ้าเป็นผู้สร้างโลก 2. ตอบ ก. เป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจช่วยให้มนุษย์เกิดความมั่นใจในการดำรงชีวิต 3. ตอบ ง. วัฒนธรรมคือวิถีการดำเนินชีวิตที่สร้างขึ้นเพื่อใช้การดำเนินชีวิตในสังคม 4. ตอบ ค. ผู้ค้นพบศาสนาและนำคำสอนมาเผยแพร่ 5. ตอบ ก. มรรค8 8คือหนทางแห่งการดับทุกข์ 6. ตอบ ข. ศาสนาคริสต์ 7. ตอบ ค. ศาสนาอิสลาม 8. ตอบ ก. ใช้หลักธรรมทางศาสนา 9. ตอบ ข. ประหยัดและนิยมไทย 10. ตอบ ข. ศาสนาอิสลาม 11. ตอบ ข. ศาสนาอิสลาม 12. ตอบ ง. ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู 13. ตอบ ง. การแต่งกาย,อาหาร,ภาษาพูด 14. ตอบ ข. การแต่งกาย 15. ตอบ ค. ชลบุรี 16. ตอบ ง. อารยธรรมจีน,อารยธรรมตะวันตก,อารยธรรมอินเดีย 17. ตอบ ข. จารีตประเพณี 18. ตอบ ง. ภาษาบาลี-สันกฤต,ภาษาอังกฤษ,ภาษาจีน 19. ตอบ ก. สงกรานต์ 20. ตอบ ง. ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู 21. ตอบ ข. การท่องเที่ยว 22. ตอบ ก. วัฒนธรรมประเพณี 23. ตอบ ข. ระบอบการปกครองที่ถือมติของปวงชนเป็นใหญ่หรือการถือเสียงข้างมากเป็นใหญ่ 24. ตอบ ก. ครอบครัว 25. ตอบ ค. ยอมรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น 26. ตอบ ง. ถูกทุกข้อ 27. ตอบ ก. ชาวไทยมีหน้าที่เกณฑ์ทหาร เมื่ออายุครบ 20 ปี 28. ตอบ ก. 24 ชั่วโมง 29. ตอบ ง. กฎหมายประกันสังคม 30. ตอบ ง. ประหารชีวิต 31. ตอบ ข. นายแดงไม่ไปเลือกตั้งทุกครั้ง 32. ตอบ ค. 2475 33. ตอบ ข. เตรียมหยุด 34. ตอบ ค. รับการเกณฑ์ทหาร 35. ตอบ ง. ไม่ต้องขอหมายค้นจากศาล 36. ตอบ ก. ห้ามวิ่งเล่น 37. ตอบ ข. ออกเสียงประชามติให้ความเห็นชอบรับร่างรัฐธรรมนูญ

64

38. ตอบ ง. มีบทลงโทษกระทำความผิดทั้งทางด้านการเมืองการปกครองและทางด้านบ่อนทำลายของ ประเทศ 39. ตอบ ก. รัฐสภา 40. ตอบ ก. รัฐสภา

65

คณะผู้จัดทำ คณะที่ปรึกษา ดร.จรูญศักดิ์ พุดน้อย นางสาวหลิงฟ้า ขันติรัติน์ ผู้สรุปเนื้อหา นางชลีพร กรุดทอง นายจรินทร์ อุตสาหะ นายเสกสรรค์ สีคะปัสสะ นางสาววรัญญา ตรงประสิทธิ์

ผู้อำนวยการ สำนักงาน กศน.จังหวัดชัยภูมิ รองผู้อำนวยการสำนักงาน กศน.จังหวัดชัยภูมิ ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอำเภอคอนสาร ครูชำนาญการ ครูผู้ช่วย ครูศูนย์การเรียนชุมชน

ผู้พิสูจน์อักษร นางขวัญใจ ไลนอก นางชุลีพร เพ็ญจันทร์ นางนวพร สุ่ยวงษ์ นางชลีพร กรุดทอง

ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอภูเขียว ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอบ้านแท่น ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอเกษตรสมบูณ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอคอนสาร

ผู้จัดทำ/เรียบเรียง นางสาววรัญญา ตรงประสิทธิ์ ว่าที่ร้อยตรีกำพล ปินไชย นางสาวธิดารัตน์ ใสสอด นางสาววรรณรินทร์ ปัทมสุวรรณ

ครูศูนย์การเรียนชุมชน นักวิชาการศึกษาปฎิบัติการ นักเทคโนโลยีสารสนเทศ นักเทคโนโลยีสารสนเทศ

ผู้ออกแบบปก/รูปเล่ม นางสาววรัญญา ตรงประสิทธิ์

ครูศูนย์การเรียนชุมชน

66

หนังสืออ้างอิง บุษบา คุณาศิรินทร์. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน เศรษฐศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544. กรุงเทพ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.), 2547 อาดิส เชยกลิ่น และคณะ. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ประถมศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551. กรุงเทพฯ : สามเจริญ พานิชย์, 2562

67

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita