ตัวอย่าง การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา

งานระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
มีหน้าที่
4.12.1 การจัดการทรัพยากร มีแนวทางการปฏิบัติดังนี้
1. ประชาสัมพันธ์ให้หน่วยงานภายในสถานศึกษา และสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาทราบ
รายการทรัพย์สินของสถานศึกษาเพื่อใช้ทรัพยากรร่วมกัน
2. วางระบบการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพร่วมกับบุคคลและหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน
3. สนับสนุนให้บุคคล และสถานศึกษาร่วมมือกันใช้ทรัพยากรในชุมชนให้เกิดประโยชน์ต่อกระบวนการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา
4.12.2 การระดมทรัพยากร ศึกษาวิเคราะห์กิจกรรมและภารกิจ งาน / โครงการตามกรอบประมาณการระยะปานกลาง (MTEF) และแผนปฏิบัติการประจำปี ที่มีความจำเป็นต้องใช้วงเงินเพิ่มเติมจากประมาณการรายได้งบประมาณไว้ เพื่อจัดลำดับความสำคัญของกิจกรรมให้เป็นไปตามความเร่งด่วนและช่วงเวลา มีแนวทางการปฏิบัติดังนี้
1. สำรวจข้อมูลนักเรียนที่มีความต้องการได้รับการสนับสนุนการศึกษาตามเกณฑ์ การรับทุนทุกประเภท ตั้งกรรมการพิจารณาคัดเลือกนักเรียนได้รับทุนการศึกษา โดยตรวจสอบข้อมูลเชิงลึกพร้อมกับให้มีการจัดทำข้อมูลสารสนเทศให้เป็นปัจจุบัน
2. ศึกษา วิเคราะห์แหล่งทรัพยากร บุคคล หน่วยงาน องค์กร และท้องถิ่นที่มีศักยภาพ ให้การสนับสนุนการจัดการศึกษา ตลอดจนติดต่อประสานความร่วมมืออย่างเป็นรูปธรรม
3. จัดทาแผนการระดมทรัพยากรทางการศึกษาและทุนการศึกษา โดยกำหนดวิธีการแหล่งการสนับสนุน เป้าหมาย เวลาดาเนินงาน และผู้รับผิดชอบ
4. เสนอแผนการระดมทรัพยากรทางการศึกษาและทุนการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษาเพื่อขอความเห็นชอบและดำเนินการในรูปคณะกรรมการ
4.12.3. การจัดหารายได้และผลประโยชน์ มีแนวทางการปฏิบัติดังนี้
1. วิเคราะห์ศักยภาพของสถานศึกษาที่ดำเนินการจัดหารายได้ และสินทรัพย์ในส่วนที่จะนำมาซึ่งรายได้และผลประโยชน์ของสถานศึกษา เพื่อจัดทำทะเบียนข้อมูล
2. จัดทำแผนปฏิบัติการ หรือระเบียบของสถานศึกษาเพื่อจัดหารายได้และบริหารรายได้และผลประโยชน์ตามแต่ละสภาพของสถานศึกษา โดยไม่ขัดต่อกฎหมายและระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง 

ประกอบด้วย
1. นายบันเทิง สุดแสน รก.รองผู้อำนวยการโรงเรียน หัวหน้า
2. นางสาวปิยะพร พราวศรี ครูชำนาญการพิเศษ ผู้ช่วย
3. นางสาวทิพย์สุคนธ์ มณีเขียว ครูชำนาญการพิเศษ ผู้ช่วย
4. นางสายสุณี สุปันนุชย์ เจ้าหน้าที่บริหารงานการเงินและบัญชี 6 ผู้ช่วย
5. นางสาวศุภรดา พันธ์ไผ่ ครูธุรการ เลขานุการ

รัฐบาลได้ให้ความสำคัญต่อการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการระดมทรัพยากรเพื่อจัดการศึกษาดังจะเห็นได้จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยหมวด ๘ มาตรา ๕๘ ได้ระบุ “ให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณการเงินและทรัพย์สิน ทั้งจากรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ สถาบันสังคมอื่น และต่างประเทศมาใช้จัดการศึกษา…”

ในการดำเนินตามนโยบายดังกล่าว สถานศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจำเป็นต้องมีแนวทางในการพัฒนาและประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย เพื่อให้โรงเรียนสามารถระดมทรัพยากรจากทุกภาคส่วนมาใช้ในการบริหารจัดการและพัฒนาการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งปัจจุบันสถานศึกษามีความสามารถ ศักยภาพ และวิธีการระดมทรัพยากรเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้สามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพที่แตกต่างกันไป ในการนี้ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ในฐานะหน่วยงานนโยบายการศึกษา จึงได้ดำเนินโครงการศึกษาวิจัยเรื่อง “รูปแบบการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา” โดยศึกษาบทเรียนของสถานศึกษาที่ระดมทรัพยากรสำหรับสถานศึกษาได้ดี เพื่อวิเคราะห์ สังเคราะห์ปัจจัยความสำเร็จ และพัฒนารูปแบบแนวทางการระดมทรัพยากรสำหรับสถานศึกษาที่จัดการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาขอขอบคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิณสุดา สิริธรังศรี และคณะนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้ที่เกี่ยวข้องที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการให้ข้อมูลและข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาในครั้งนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลการศึกษาจะเป็นประโยชน์ต่อการกำหนดแนวทางการส่งเสริมการระดมทรัพยากรสำหรับสถานศึกษาทั้งในระดับนโยบายและระดับสถานศึกษาซึ่งผู้ที่เกี่ยวข้องและสถานศึกษาต่างๆ จะสามารถใช้ประโยชน์จากผลการศึกษาและนำไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาได้

รปู แบบการระดมทรพั ยากรเพอ่ื การศกึ ษา สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา ๓๗๙.๑๓ สำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา ส ๖๙๑ ร รปู แบบการระดมทรัพยากรเพือ่ การศกึ ษา / กรงุ เทพฯ : ๒๕๖๒. ๒๙๘ หน้า ISBN : 978-616-270-200-6 ๑. ทรพั ยากรเพอื่ การศกึ ษา - วิจยั ๒. ชื่อเรอ่ื ง รูปแบบการระดมทรัพยากรเพื่อการศกึ ษา สงิ่ พิมพ์ สกศ. อันดบั ท่ี ๒๓/๒๕๖๒ พิมพ์ครง้ั ที่ 1 ๒๕๖๒ จำนวน ๑,๐๐๐ เลม่ ผู้จัดพิมพเ์ ผยแพร ่ กลุ่มวิเคราะหก์ ารเงนิ การคลังและเศรษฐศาสตรท์ างการศกึ ษา สำนักนโยบายและแผนการศกึ ษา สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร ถนนสุโขทยั เขตดุสิต กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๖๖๘ ๗๑๒๓ ตอ่ ๑๒๕๗ โทรสาร ๐ ๒๒๔๓ ๒๗๘๗ Web site: //www.onec.go.th พมิ พ์ท่ ี บรษิ ทั พริกหวานกราฟฟคิ จำกัด ๙๐/๖ ซอยจรญั สนิทวงศ์ ๓๔/๑ ถนนจรญั สนทิ วงศ์ แขวงอรุณอมรนิ ทร์ เขตบางกอกนอ้ ย กรงุ เทพฯ ๑๐๗๐๐ โทรศพั ท์ ๐ ๒๔๒๔ ๓๒๔๙ ๐ ๒๔๒๔ ๓๒๕๒ โทรสาร ๐ ๒๔๒๔ ๓๒๔๙ ๐ ๒๔๒๔ ๓๒๕๒ รปู แบบการระดมทรพั ยากรเพื่อการศึกษา (ก) คำนำ รัฐบาลได้ให้ความสำคัญต่อการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการระดมทรัพยากรเพ่ือจัดการศึกษา ดังจะเห็นได้จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ แกไ้ ขเพ่มิ เติม (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยหมวด ๘ มาตรา ๕๘ ไดร้ ะบุ “ให้มกี ารระดมทรพั ยากรและการลงทนุ ด้านงบประมาณการเงินและทรัพย์สิน ทั้งจากรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กร ชมุ ชน เอกชน องคก์ รเอกชน องคก์ รวชิ าชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ สถาบนั สงั คมอนื่ และตา่ งประเทศ มาใช้จัดการศกึ ษา...” ในการดำเนินตามนโยบายดังกล่าว สถานศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งสถานศึกษาข้ันพื้นฐานจำเป็นต้อง มีแนวทางในการพัฒนาและประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย เพื่อให้โรงเรียนสามารถระดมทรัพยากรจาก ทุกภาคส่วนมาใช้ในการบริหารจัดการและพัฒนาการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งปัจจุบัน สถานศกึ ษามีความสามารถ ศกั ยภาพ และวธิ ีการระดมทรัพยากรเพ่อื พัฒนาสถานศกึ ษาใหส้ ามารถจดั การศึกษา ได้อย่างมีคุณภาพท่ีแตกต่างกันไป ในการนี้ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ในฐานะหน่วยงานนโยบาย การศึกษา จึงได้ดำเนินโครงการศกึ ษาวิจยั เรอ่ื ง “รูปแบบการระดมทรพั ยากรเพือ่ การศึกษา” โดยศกึ ษาบทเรยี น ของสถานศกึ ษาท่รี ะดมทรัพยากรสำหรับสถานศกึ ษาไดด้ ี เพื่อวเิ คราะห์ สังเคราะห์ปัจจัยความสำเรจ็ และพฒั นา รูปแบบแนวทางการระดมทรพั ยากรสำหรบั สถานศกึ ษาท่ีจัดการศกึ ษาในระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษาขอขอบคุณ ผชู้ ่วยศาสตราจารยพ์ ิณสุดา สริ ิธรงั ศรี และคณะนกั วิจัย จากมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้ท่ีเก่ียวข้องที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการให้ข้อมูลและ ข้อคิดเห็นท่ีเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาในครั้งนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลการศึกษาจะเป็นประโยชน์ต่อการ กำหนดแนวทางการส่งเสริมการระดมทรัพยากรสำหรับสถานศึกษาท้ังในระดับนโยบายและระดับสถานศึกษา ซ่ึงผู้ที่เก่ียวข้องและสถานศึกษาต่างๆ จะสามารถใช้ประโยชน์จากผลการศึกษาและนำไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับ บริบทของสถานศกึ ษาได ้ (ดร.สุภทั ร จำปาทอง) เลขาธิการสภาการศกึ ษา (ข) รูปแบบการระดมทรพั ยากรเพอ่ื การศกึ ษา คำนำคณะวจิ ัย การระดมทรัพยากรเพอ่ื การศึกษา หมายถงึ การดำเนนิ งานให้ไดม้ าซง่ึ ทรพั ยากรทั้งระดบั นโยบาย และ ระดับสถานศึกษา ทั้งที่เป็นตัวเงิน และไม่ใช่ตัวเงิน อันได้แก่ บุคคล และสิ่งของ เช่น ภูมิปัญญา องค์ความรู้ วิชาการ แรงงาน วัสดุครุภัณฑ์ ส่ิงก่อสร้าง ฯลฯ ท่ีสนับสนุนการจัดการศึกษาให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และ เป้าหมายท่ีเกดิ กบั ผเู้ รยี นอยา่ งมีประสิทธิภาพและเกิดประสทิ ธิผล การวิจยั เรอื่ ง รูปแบบการระดมทรพั ยากรเพ่อื การศึกษา ดำเนนิ การตามข้อกำหนดสญั ญาของสำนักงาน เลขาธิการสภาการศึกษาให้มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์โดยวิทยาลัยครุศาสตร์ ดำเนินการวิจัย ระหว่างวันท่ี ๒๔ พฤษภาคม – ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ เป็นเวลา ๑๘๐ วัน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ ๑) ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และปัจจัยที่ส่งผลต่อการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาของประเทศไทยและต่างประเทศ ๒) พัฒนา รูปแบบ/แนวทางการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา จากประสบการณ์ของต่างประเทศและสถานศึกษาใน ประเทศไทยท่ีประสบความสำเร็จในการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา และ ๓) จัดทำข้อเสนอแนวทาง การส่งเสริมการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาในระดับนโยบายและระดับสถานศึกษา โดยวิธีการศึกษาเอกสาร ท้ังในและต่างประเทศ โดยศกึ ษาประเทศท่พี ฒั นาแล้ว ได้แก่ เครอื รัฐออสเตรเลยี ประเทศองั กฤษ และประเทศ กำลังพัฒนา ไดแ้ ก่ สาธารณรฐั อนิ โดนเี ซยี และสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) ผลการศึกษาปรากฏในรายงานวจิ ยั ฉบบั นี้ แบ่งการนำเสนอออกเปน็ ๕ บท คอื บทที่ ๑ บทนำ นำเสนอ เหตุผลและความเป็นมาของการวิจัยและประเด็นที่เก่ียวข้องของการวิจัย บทท่ี ๒ เป็นการนำเสนอเอกสารและ งานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการวิจัยท้ังในและต่างประเทศ ที่นำไปสู่กรอบแนวคิดของการวิจัย บทท่ี ๓ วิธีดำเนิน การวจิ ัย บทท่ี ๔ ผลการศึกษา ประกอบดว้ ยผลการศึกษาตามวตั ถปุ ระสงค์ของการวิจยั รายข้อ บทที่ ๕ เปน็ การ สรปุ ผลการวจิ ยั อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะทเ่ี กดิ จากการวจิ ยั รายงานวิจัยฉบับนี้ สำเร็จได้ด้วยความร่วมมืออย่างดียิ่งของผู้ให้ข้อมูลในสถานศึกษาท่ีเป็นตัวอย่าง ประชากร ท้ัง ๑๒ แห่งดังกล่าว ข้อมูลประเทศท่ีทำการศึกษา และคณะผู้วิจัย โดยเฉพาะสำนักงานเลขาธิการ สภาการศกึ ษา ผู้สนับสนนุ ทุนวิจัย และวิทยาลยั ครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรุ กจิ บัณฑติ ย์ จงึ ขอขอบคณุ บคุ คล และ หนว่ ยงานท่ีกล่าวนามมา และหวังเปน็ อยา่ งย่งิ ว่า รายงานการวิจัยน้ี จะเป็นประโยชนต์ อ่ หนว่ ยงานทางการศึกษา ระดบั นโยบาย สถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน รวมทง้ั นกั วิชาการ และนักการศึกษาท่วั ไป พณิ สุดา สริ ิธรังศรี หวั หนา้ คณะวิจยั รูปแบบการระดมทรัพยากรเพือ่ การศกึ ษา (ค) บทสรุปสำหรบั ผ้บู ริหาร การวิจัยเรื่อง รูปแบบการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑) ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และปัจจัยท่ีส่งผลต่อการระดมทรัพยากรทางการศึกษาของประเทศไทยและต่างประเทศ ๒) พัฒนา รูปแบบ/แนวทางการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา จากประสบการณ์ของต่างประเทศและสถานศึกษา ในประเทศไทยท่ีประสบความสำเร็จในการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา และ ๓) จัดทำข้อเสนอแนวทาง การส่งเสริมการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษาในระดับนโยบายและระดับสถานศึกษา โดยวิธีการศึกษาเอกสาร ท้ังในและต่างประเทศ โดยศึกษาเอกสารประเทศท่ีพัฒนาแล้ว ได้แก่ ออสเตรเลีย และอังกฤษ ประเทศกำลัง พัฒนา ได้แก่ อินโดนีเซีย และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) และศึกษาภาคสนาม ในสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานของประเทศไทย ที่เป็นตัวแทนสถานศึกษาของรัฐ เอกชน และองค์กรปกครอง สว่ นทอ้ งถน่ิ ทตี่ งั้ อยใู่ นกรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล รวม ๔ ภมู ภิ าค ไดแ้ ก่ ภาคกลาง ภาคเหนอื ภาคตะวนั ออก เฉียงเหนือ และภาคใต้ ท่ีมีขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ และขนาดใหญ่พิเศษ โดยการเลือกแบบเจาะจง จำนวน ๑๒ แห่ง การรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสำรวจ สัมภาษณ์ และสนทนากลมุ่ ผบู้ รหิ าร ครู ประธานกรรมการ สถานศึกษา ตัวแทนผู้ปกครอง ตัวแทนชุมชน และตัวแทนผู้สนับสนุนทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง โรงเรียนละ ๙ คน รวม ๑๐๘ คน ตามตัวแปรที่ปรึกษาตามวัตถุประสงค์และกรอบแนวคิดการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการ วิเคราะห์เน้ือหาสาระ (content analysis) ผลการวิจยั พบวา่ การระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา เป็นการดำเนินงานให้ได้มาซ่ึงทรัพยากรทั้งท่ีเป็น ตัวเงิน และไม่ใช่ ตวั เงิน อันได้แก่ บคุ คล และสง่ิ ของ เช่น ภมู ิปญั ญา องคค์ วามรู้ วิชาการ แรงงาน วสั ดุครุภัณฑ์ สิง่ ก่อสรา้ ง ฯลฯ ท่ีสนับสนุนการจัดการศึกษาให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่เกิดกับผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพและ ประสทิ ธผิ ลทง้ั ระดบั นโยบาย และระดับสถานศกึ ษา ผลการศกึ ษาดงั นี้ ๑. สภาพปัจจุบัน ปัญหา และปัจจัยท่ีส่งผลต่อความสำเร็จในการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา ของประเทศไทย พบว่า การระดมทรพั ยากรเพือ่ การศึกษา ในระดบั นโยบายมกี ารออกกฎหมายที่ชดั เจนปรากฏ ในพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ ไดก้ ำหนดหลักการจัดการศึกษา มาตรา ๘ (๒) ท่ีต้องยึดหลัก ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา มาตรา ๙ การจัดการศึกษาให้ยึดหลัก (๕) ระดมทรัพยากรจากแหล่ง ต่างๆ มาใช้ในการจัดการศึกษา หมวด ๘ ว่าดว้ ยเรอ่ื งของทรัพยากรและการลงทนุ ทางการศกึ ษา ใน ๕ มาตรา โดยเฉพาะมาตรา ๕๘ กล่าวไว้ชัดเจนว่า ให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทุนทั้งในและต่างประเทศ และ ใช้มาตรการลดหย่อนหรือยกเวน้ ภาษีตามความเหมาะสมและความจำเปน็ สำหรบั ระดบั สถานศกึ ษา เปน็ ระดบั ปฏบิ ตั ิ หรอื การนำนโยบายไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ มกี ารระดมทรพั ยากร เพ่ือการศึกษาตามบริบทและความจำเป็นของสถานศึกษา ท่ีสอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกันกล่าวคือ แนวคดิ การศกึ ษา คอื การศกึ ษาเปน็ เรอ่ื งของประชาชนในลกั ษณะการศกึ ษาเพอื่ มวลชนและมวลชนเพอื่ การศกึ ษา ที่ต้องคำนึงถึงหลักการมีส่วนร่วม การนำทรัพยากรมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด การกระจายความรับผิดชอบ ความเช่ือถือและไว้วางใจซึ่งกันและกัน การทำงานเป็นทีม การประสานความร่วมมือ การประชาสัมพันธ์ และ การติดตาม ตรวจสอบและรายงาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑) การมีส่วนร่วมของประชาชน ๒) พัฒนา (ง) รปู แบบการระดมทรัพยากรเพ่อื การศกึ ษา ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการเรียนการสอน ๓) เพิ่มคุณภาพการศึกษาของผู้เรียน และ ๔) เพิ่มโอกาส ทางการเข้าถึงการศึกษาของประชาชน วิธีการท่ีใช้ในการระดมทรัพยากรทั้งที่เป็นตัวเงิน และไม่ใช่ตัวเงิน ที่เป็นตัวเงิน แบ่งเป็น ๓ ขั้นตอน คือ ข้ันก่อนดำเนินการ ข้ันดำเนินการ และขั้นหลังดำเนินการ กล่าวคือ ข้ันการเตรียมการ ได้แก่ การวางแผนการดำเนินงาน การจัดทำโครงการ การมอบหมายผู้รับผิดชอบ การประสานการดำเนินงานและการประชาสัมพันธ์ ขั้นดำเนินการ เป็นการดำเนินการตามแผนงาน โครงการ และกิจกรรม เชน่ การทอดผา้ ป่า การจดั แสดงผลงานของนักเรยี น การจดั แสดงดนตรี การแข่งขนั กีฬา เปน็ ต้น ข้ันหลังดำเนินการ ได้แก่ การยกย่องและประกาศเกียรติคุณ การสรุป และรายงานผลการระดมทรัพยากร การระดมทรัพยากรท่ีไม่ใช่เงิน ได้แก่ การระดมด้านความรู้ แรงงาน วัสดุครุภัณฑ์ อาคารสถานที่ และส่ิงของ อื่นๆ ที่เก่ียวข้องกับการสนับสนุนการศึกษา บุคคลและองค์กรท่ีสนับสนุนการระดมทรัพยากร ได้แก่ คหบดี ผู้อาวุโสภูมิปัญญา ผู้นำชุมชน สมาคมครูและผู้ปกครอง ชมรมศิษย์เก่า สถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินทมี่ อี ยู่ในชมุ ชน และทเี่ กี่ยวขอ้ ง นอกชุมชน เปน็ ตน้ ปัญหาของการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา คือ ประชาชนขาดการมีส่วนร่วม ขาดศรัทธาในผู้นำ การไม่เห็นความสำคัญของการศึกษาของประชาชนบางส่วน ไม่มีแผนงาน โครงการและวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน ขาดแรงจูงใจในการสนับสนุนทรัพยากร สภาพเศรษฐกิจและฐานะความยากจนในชุมชน และการแทรกแซง ทางการเมืองในพ้ืนท่ี แนวทางแก้ปัญหา การมีนโยบายสนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการระดมทรัพยากร การเพ่ิมมาตรการทางภาษสี ำหรับผ้สู นบั สนนุ การศกึ ษา การทำความเข้าใจและเผยแพร่ประชาสมั พันธ์ การสรา้ ง ความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชน การจัดโครงสร้างพ้ืนฐานรองรับการจัดการศึกษาในพื้นที่ท่ีเพียงพอ การมีแผนงาน/ โครงการทช่ี ดั เจนเพื่อลดการแทรกแซงจากนอกพื้นท่ี ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จ ได้แก่ การมีระเบียบกฎหมายที่เอื้อต่อการระดม ภาวะผู้นำของ ผู้บริหาร การสร้างความสัมพันธ์ท่ีดีกับชุมชน การมีส่วนร่วมของประชาชนและผู้เกี่ยวข้อง การมีบุคคล องค์กร และหน่วยงานสนับสนุน การบริหารจัดการท่ีดีทั้งด้านความโปร่งใส ความรับผิดชอบท่ีตรวจสอบได้ และ การประสานงานท่ดี ี ตลอดจนการการประชาสัมพันธ์ และการตดิ ตามประเมินผล สำหรับสภาพปัจจุบัน ปัญหา และปัจจัยท่ีส่งผลต่อความสำเร็จในการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ของต่างประเทศ พบว่า ประเทศท่ีมีบริบททางการศึกษาหรือการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาแล้ว ให้ความสำคัญ ตอ่ การระดมดา้ นความรู้ ความก้าวหน้าทางวชิ าการ และการพัฒนาบุคลากรเป็นสว่ นใหญ่ (องั กฤษ ออสเตรเลยี ) มีนโยบายในการระดมทรัพยากรที่ชัดเจน โดยการจัดทำนโยบายและมาตรฐานการระดมทรัพยากร ตลอดจน การจัดทำความร่วมมือระดับรัฐบาลกลางและระดับรัฐ (ออสเตรเลีย) มีแนวคิดการระดมทรัพยากรเพื่อการลด ความเหล่ือมล้ำและเสริมสร้างประสิทธิภาพ เปิดโอกาสให้องค์กรต่างๆ สนับสนุนเงินแก่โรงเรียนในการจัด การศกึ ษา โดยเฉพาะมสี มาคมผปู้ กครองและพลเมอื งของโรงเรยี น ทำหนา้ ทรี่ ะดมทรพั ยากรจากพอ่ แม่ ผปู้ กครอง และชมุ ชน (ออสเตรเลยี ) โดยเฉพาะการมสี ่วนรว่ มทางด้านความร้ผู า่ นกระบวนการฝึกอบรมและพัฒนาบคุ ลากร และความก้าวหน้าทางวชิ าการ การใหอ้ สิ ระในการจดั การศึกษาและการระดมทรัพยากร ตลอดจนการสนบั สนนุ ให้สถานศึกษาเปลี่ยนสถานะเป็นสถานศึกษาที่มีการบริหารเป็นอิสระจากรัฐและท้องถ่ินเพ่ือความคล่องตัวใน การบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพการศึกษา (อังกฤษ) ประเทศที่กำลังพัฒนา มีแนวคิด การศึกษาเพ่ือสร้าง ความเสมอภาค คุณภาพ เป็นการศึกษาเพ่ือมวลชน ให้มวลชนและสังคมมีส่วนร่วมทางการศึกษา ให้ประชาชน มีส่วนร่วมทางการระดมทรัพยากร (อินโดนีเซีย และ ลาว) เปิดโอกาสให้สถาบันอุดมศึกษาต่างประเทศมาร่วม ลงทุนการศึกษา (อินโดนีเซีย) และกำหนดบทบาทหน้าท่ีที่ชัดเจนในการระดมของภาคส่วนต่างๆ ในแต่ละระดับ รปู แบบการระดมทรัพยากรเพอื่ การศึกษา (จ) ไว้ในกฎหมายชดั เจน (ลาว) ปจั จยั สำคญั ทสี่ ่งผลสำเรจ็ ในการระดมทรพั ยากรเพ่ือการศึกษาได้แก่ การมีกฎหมาย และนโยบายชัดเจน การกำหนดบทบาทหน้าที่ความรบั ผดิ ชอบของภาคสว่ นตา่ งๆ ที่เก่ียวข้อง การมีส่วนร่วมของ ประชาชนและองคก์ ร/สถาบนั พฒั นาดา้ นการศกึ ษาและทเี่ กยี่ วขอ้ งใหก้ ารสนบั สนนุ ใหค้ วามสำคญั กบั การสนบั สนนุ ความรู้และวิชาการ ความชว่ ยเหลอื จากองคก์ รภายในและนอกประเทศ ปัญหาของการระดมทรัพยากร ได้แก่ เศรษฐกิจและความยากจนของพื้นที่ในประเทศที่กำลังพัฒนา ต้องอาศยั ความช่วยเหลือท้งั ทางดา้ นความรู้ วชิ าการ และเงนิ จากตา่ งประเทศ การใหค้ วามสำคญั ของประชาชน ที่มีต่อการศกึ ษาค่อนขา้ งน้อย การขาดบุคลากรท่ีมีศกั ยภาพ ความยากจนและพื้นที่ห่างไกล (ลาว) ความแตกตา่ ง และความเหล่ือมล้ำในการระดมทรัพยากรการศึกษาในโรงเรียนท่ีมีรูปแบบการศึกษาท่ีต่างกัน ความเหล่ือมล้ำ ระหว่างผู้เรียนในสถานศึกษาที่ต้ังอยู่ในพ้ืนท่ีห่างไกลและผู้เรียนที่มาจากสถานะทางสังคมที่ต่างกัน ความไม่ สอดคลอ้ งตามความต้องการของผู้เรียนในโรงเรียนท่ีแตกตา่ งกัน (ออสเตรเลยี ) การลดบทบาทของการบริหารกบั ความสมั พนั ธ์กับหนว่ ยงานภายนอก เชน่ จากทงั้ องคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ เอกชน สง่ ผลให้ไดร้ บั การสนับสนุน ทรัพยากรนอ้ ยลง (องั กฤษ) เปน็ ต้น แนวทางการระดมทรัพยากร ได้แก่ การเพ่ิมการเปลี่ยนสถานะของโรงเรียนเป็นโรงเรียนท่ีมี ความอสิ ระจากรัฐและทอ้ งถิ่น การเพ่ิมประสิทธิภาพทางการบรหิ ารจัดการและการลดความเหลอ่ื มลำ้ ของผูเ้ รียน ในการจัดสรรงบประมาณด้วยความเสมอภาค ในประเทศที่มีบริบทการจัดการเรียนรู้ที่เหนือกว่าประเทศไทย (ประเทศท่ีพัฒนาแล้ว) การจัดระบบและโครงการความช่วยเหลือทั้งทางวิชาการและเงินจากองค์กรต่างประเทศ และการมีสว่ นรว่ มของภาคสว่ นต่างๆ ในประเทศ ในประเทศทม่ี ีบรบิ ทการจัดการเรยี นรู้ที่กำลังพัฒนา ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษาของต่างประเทศ ได้แก่ การมี กฎหมายที่กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้มีหน้าที่ระดมทรัพยากรและสนับสนุนทรัพยากรแต่ละระดับ ชัดเจน (ลาว) ภาวะผู้นำผู้บริหารและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการระดมทรัพยากร การมีส่วนร่วมของประชาชน ทุกภาคส่วน และการสรา้ งความสมั พันธ์ท่ดี ีกบั พันธมติ รและชมุ ชน (ท้ัง ๔ ประเทศ) การไดร้ บั การสนับสนุนจาก องค์กรระหว่างประเทศอย่างเป็นระบบ (ลาว) มีองค์กรและสถาบันเกี่ยวกับการพัฒนาองค์ความรู้และฝึกอบรม สนับสนุนโรงเรียน (อังกฤษ) มีองค์กรทำหน้าท่ีระดมทรัพยากรท้ังระดับรัฐ และสถานศึกษา เช่น สมาคม ผู้ปกครองและพลเมือง (ออสเตรเลีย) การนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ในการระดมทรัพยากร (ออสเตรเลีย องั กฤษ) ๒. การพัฒนารปู แบบ/แนวทางการระดมทรัพยากรเพอ่ื การศึกษา จากประสบการณข์ องตา่ งประเทศ และสถานศึกษาของประเทศไทย ดำเนินการพัฒนาด้วยวิธีการศึกษาเอกสารท้ังในและต่างประเทศ การศึกษา ภาคสนามของต่างประเทศ (ออสเตรเลีย และองั กฤษ) และสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานของประเทศไทย ท่เี ป็นตัวแทน สถานศึกษาของรัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ในภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ท่ีมีขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ และขนาดใหญ่พิเศษ โดยการเลือกแบบเจาะจง ด้วยแบบ สำรวจ สัมภาษณ์ และสนทนากลุ่มตามตัวแปรทป่ี รกึ ษา จากน้ันนำข้อมูลมาสงั เคราะหแ์ ละสรุปประเด็นท่ีสมควร นำเป็นข้อมูลนำไปยกร่างรูปแบบประกอบด้วย กฎหมายและนโยบาย แนวคิดและหลักการ วัตถุประสงค์ สาระ และประเภทของการระดมทรัพยากร หน่วยงานและองค์กรที่สนับสนุนการระดมทรัพยากร วิธีการระดม ทรัพยากร กลยทุ ธ์ในการระดมทรพั ยากร ปจั จยั ทีส่ ่งผลตอ่ ความสำเร็จในการระดม สิง่ ที่ควรคำนงึ ถึงในการระดม ทรัพยากร ตรวจสอบรูปแบบโดยผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้องท้ังในระดับนโยบาย สถานศึกษา และนักวิชาการ ทเ่ี กยี่ วข้อง จนกระทัง่ สรปุ เป็นรูปแบบ/แนวทางการระดมทรัพยากรเพือ่ การศึกษา (ฉ) รูปแบบการระดมทรพั ยากรเพอ่ื การศึกษา รูปแบบการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา เป็นรูปแบบและแนวทางการดำเนินการด้วยแนวคิด ให้ได้มาซึ่งทรัพยากรเพื่อการสนับสนุนการจัดการศึกษา ท้ังที่เป็นตัวเงิน และไม่ใช่ตัวเงิน ให้ผู้เรียนได้รับ การศึกษาด้วยความเสมอภาค มคี ุณภาพ และมปี ระสิทธิภาพ ด้วยหลักและกระบวนการมสี ว่ นร่วมของประชาชน จากทุกภาคส่วน บนพื้นฐานของการศึกษาเพ่ือมวลชนและมวลชนเพื่อการศึกษา ท้ังการร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมตัดสินใจ ร่วมดำเนินการ ร่วมรับผิดชอบ ร่วมแก้ไขปัญหา ร่วมติดตามและประเมินผล และร่วมช่ืนชม ผลสำเร็จ หลักการนำทรัพยากรมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด หลักการกระจายความรับผิดชอบ หลักความเชื่อถือ และไว้วางใจซ่ึงกันและกัน หลักการทำงานเป็นทีม หลักการประสานความร่วมมือ หลักการประชาสัมพันธ์ และ หลักการตดิ ตาม ตรวจสอบและรายงาน โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่อื ๑) การมสี ่วนร่วมทางการศึกษาของประชาชน ในลักษณะของการศึกษาเพ่ือมวลชน และมวลชนเพ่ือการศึกษา ให้ประชาชนทุกระดับมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ทางการศึกษาของผู้เรียน เด็กและเยาวชน ๒) นำทรัพยากรท่ีมีอยู่ในท้องถิ่น ชุมชนและสังคมมาใช้ให้เกิด ประโยชน์สูงสุดทางการศึกษา ๓) เสริมสร้างคุณภาพ โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาของผู้เรียน ๔) สนับสนุนการพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ๕) ก่อให้เกิดความร่วมมือทาง การศึกษาท้ังในและต่างประเทศ ขน้ั ตอนและวธิ กี ารระดมทรพั ยากร แบง่ เปน็ ๑) ขนั้ กอ่ นดำเนนิ การ ๒) ขนั้ ดำเนนิ การ และ ๓) ขนั้ หลงั ดำเนินการ ข้ันก่อนดำเนินการเป็นการวางแผนและเตรียมการท้ังด้านโครงสร้างภายใน ผู้รับผิดชอบ การจัดทำ โครงการ ประชาสัมพันธ์และประสานการดำเนินงาน ขั้นดำเนินการเป็นการดำเนินการระดมทรัพยากรตาม แผนงาน โครงการและกิจกรรมท่ีกำหนด เช่น การจัดทอดผ้าป่า การจัดแสดงผลงานของนักเรียน การจัดแสดง ดนตรี การแข่งขันกีฬา การขอรับบริจาคโดยตรง ฯลฯ ขั้นหลังดำเนินการ เป็นการยกย่องประกาศเกียรติคุณ สรปุ รายงานและเผยแพร่ผลงานการระดมทรัพยากรใหป้ ระชาชนและผเู้ กี่ยวขอ้ งทราบในวงกวา้ ง กลยทุ ธ์การดำเนนิ งานไดแ้ ก่ ๑) กลยุทธ์ด้านบคุ คล ไดแ้ ก่ ผู้บรหิ ารทม่ี ภี าวะผนู้ ำ ทัง้ ด้านคุณลกั ษณะ สว่ นตน และพฤตกิ รรมการบรหิ ารจัดการ นำทำ เสยี สละส่วนตน เข้าถึงง่าย มี มนษุ ยสัมพันธ์ สร้างการยอมรับ และศรทั ธาให้เกดิ ข้ึนทั้งในและนอกสถานศึกษาอันนำไปสกู่ ารได้รับการสนบั สนนุ ทรัพยากร ฯลฯ ๒) ด้านองค์กร โดยการกำหนดโครงสรา้ งสว่ นงานรบั ผดิ ชอบและการประสานงาน การมอบหมายภารกจิ เพอ่ื การระดมทรพั ยากร เพื่อการศึกษา ตามความถนัดของแต่ละบุคคลและองค์กร ๓) ด้านเทคโนโลยีและการส่ือสาร โดยการพัฒนา เทคโนโลยแี ละนำเทคโนโลยมี าใชใ้ นการสอ่ื สารการระดมทรพั ยากร เพอื่ ใหก้ ารระดมทรพั ยากรเขา้ ถงึ กลมุ่ เปา้ หมาย ได้อย่างหลากหลาย รวดเร็วและทันเหตุการณ์ และ ๔) ด้านการจัดการ ได้แก่ การวางแผนการดำเนินงาน การยึดหลักการมีส่วนร่วม การสร้างความสัมพันธ์ที่ดี การให้อำนาจและกระจายอำนาจในการบริหารจัดการ การประชาสัมพนั ธ์และสร้างความเขา้ ใจอันดีกบั ผู้สนับสนุนทรัพยากรเพอ่ื การศึกษา จดั สรรทรพั ยากรอย่างท่วั ถึง ตามความจำเปน็ การควบคมุ การปฏบิ ตั งิ านดว้ ยแผนงานหรอื โครงการ การเสรมิ สรา้ งประสทิ ธภิ าพการดำเนนิ งาน การกำกับ ติดตาม ตรวจสอบและรายงาน ตลอดจนการประกาศเกียรติคุณและยกย่อง ทั้งนี้ มีปัจจัยท่ีส่งผลต่อความสำเร็จในการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา ดังน้ีคือ การมีกฎหมาย และระเบียบทีเ่ ออื้ ต่อการระดม ภาวะผนู้ ำของผู้บริหาร การวางแผนทีด่ ี การมีสว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ น การสรา้ ง ความสมั พนั ธท์ ด่ี กี บั ชมุ ชน การมบี คุ คล องคก์ รและหนว่ ยงานสนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การทด่ี ี การประชาสมั พนั ธ์ ทดี่ ี และการติดตามประเมนิ ผลอย่างตอ่ เน่ือง รูปแบบการระดมทรัพยากรเพ่อื การศึกษา (ช) ๓. ข้อเสนอแนวทางการส่งเสริมระดมทรพั ยากรเพอื่ การศกึ ษา ๓.๑ ระดับนโยบาย กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงอ่ืนท่ีจัดการศึกษาและท่ีเกี่ยวข้อง องค์กร ปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน แลว้ แตก่ รณี ควรไดม้ ีการ ๑) ส่งเสรมิ ใหม้ ีการนำรูปแบบการระดมทรัพยากรเพ่อื การศกึ ษา ไปใช้ ๒) ปรบั ปรงุ กฎระเบยี บใหเ้ ออ้ื ตอ่ การระดมทรพั ยากรของสถานศกึ ษาและเพมิ่ มาตรการทางภาษี ใหค้ รอบคลมุ ดา้ นทรัพยากรที่ไม่ใชต่ วั เงนิ ๓) กำหนดเกณฑก์ ารสนับสนุนทรัพยากรเพอ่ื การศกึ ษาขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับรายได้ ๔) ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดแหล่งเรียนรู้นอกสถานศึกษา ทัง้ ในชุมชน และนอกชมุ ชน ๕) ส่งเสรมิ และพฒั นาบุคลากรครู และผบู้ ริหารใหม้ ภี าวะผู้นำ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะในการระดมทรพั ยากรและการเข้าถึงแหลง่ ทรัพยากร ๖) สง่ เสรมิ สนับสนุนใหอ้ งคก์ รภายนอกและ เครือข่ายสถานศึกษาเข้ามามีส่วนร่วมในการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาและสนับสนุนการศึกษาอย่างเป็น รูปธรรมทั้งท่ีเป็นตัวเงินและไม่ใช่เงิน ๗) ส่งเสริมการนำเทคโนโลยีทันสมัยมาใช้ในการระดมทรัพยากรเพื่อ การศึกษา ๘) ส่งเสริมสนับสนุนสถานศึกษาที่มีความพร้อมและเข้มแข็ง เปลี่ยนสถานะเป็นสถานศึกษาในกำกับ องคก์ ารมหาชน หรอื ทมี่ กี ารบรหิ ารจดั การเปน็ อสิ ระเพอื่ การระดมทรพั ยากรเพอ่ื การศกึ ษาเพมิ่ มากขนึ้ ๙) สง่ เสรมิ การบริหารสถานศึกษาแบบเครือข่ายการมีส่วนร่วม ส่งเสริมสนับสนุนครอบครัว ชุมชน เอกชน องค์กร เอกชน องค์กรวิชาชีพ สถานประกอบการ สถาบันสังคมต่างๆ ให้เข้ามามีส่วนร่วมทางการศึกษา ให้มากขึ้น ๑๐) สรา้ งแรงจงู ใจและสง่ เสรมิ ใหภ้ มู ปิ ญั ญาทม่ี อี ยใู่ นทอ้ งถน่ิ ไดเ้ ขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการสนบั สนนุ การจดั การเรยี นร ู้ ๑๑) กำหนดเกณฑ์การยกย่อง ประกาศเกียรติคุณระดับชาติ และการขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ ์ ให้แก่ผู้ทำคุณประโยชน์ทางการศึกษาที่เป็นตัวเงิน และมิใช่ตัวเงิน ให้ปรากฏเด่นชัด และ ๑๒) สร้างแรงจูงใจ บุคลากรโดยกำหนดเกณฑก์ ารเลอื่ นระดับตำแหน่ง การเลือ่ นขั้นเงินเดือนหรอื การพฒั นาใดๆ ใหก้ บั ผ้บู ริหารและ ครูท่มี ผี ลงานการระดมทรัพยากรเพ่ือการศกึ ษาเปน็ ที่ปรากฏ ๓.๒ ระดบั สถานศึกษา โดยการ ๑) นำรปู แบบการระดมทรัพยากรเพ่ือการศกึ ษาไปใชใ้ ห้สอดคลอ้ ง กบั บรบิ ทของสถานศกึ ษา ๒) สร้างเครอื ข่ายการระดมทรพั ยากรเพอื่ การศึกษา ท้งั ทเ่ี ป็นบุคคล กลุ่มบคุ คล และ องค์กร ๓) แต่งต้ังคณะกรรมการ/คณะทำงานระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาแบบมีส่วนร่วมท้ังบุคคลภายใน สถานศึกษา ๔) พัฒนาระบบข้อมูลการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ทั้งที่เป็นตัวเงิน และไม่ใช่ตัวเงิน ๕) จัด โครงสร้างสว่ นงานภายในและผูร้ บั ผดิ ชอบในการประสานงาน เผยแพร่ประชาสมั พนั ธ์ ๖) สรา้ งความสมั พนั ธท์ ีด่ ี กับชุมชน ทั้งในเร่ืองของการช่วยเหลือชุมชนในโอกาสสำคัญ และหรือรับความช่วยเหลือจากชุมชนแล้วแต่กรณี ๗) พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนให้เป็นท่ียอมรับและไว้วางใจของชุมชน ๘) บริหารจัดการทรัพยากร ด้วยความโปร่งใสและตรวจสอบได้ ๙) เสริมสร้างภาวะผู้นำผู้บริหารให้มีคุณลักษณะด้านวิสัยทัศน์ ความรู้ ความสามารถ มคี วามรบั ผดิ ชอบ มงุ่ มนั่ ปฏบิ ตั งิ านใหส้ ำเรจ็ ดา้ นพฤตกิ รรมการบรหิ ารจดั การ ไดแ้ ก่ การตดั สนิ ใจทดี่ ี นำทำ กลา้ คดิ กลา้ ทำ เสยี สละ มีมนษุ ยสมั พันธ์ท่ีดแี ละการรจู้ กั ช่วยเหลอื เก้ือกลู ชมุ ชน ๑๐) นำเทคโนโลยีมาใช้ เพื่อการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ๑๑) นำกลยุทธ์การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษามาใช้ ท้ังกลยุทธ ์ ด้านบุคคล ด้านองค์กร ด้านเทคโนโลยีและการสื่อสาร และด้านการบริหารจัดการโดยเฉพาะการวางแผน การดำเนินงาน การยึดหลักการมีส่วนร่วม การสร้างความสัมพันธ์ที่ดี การให้อำนาจและกระจายอำนาจในการ บริหารจัดการ การประชาสัมพันธ์และสร้างความเข้าใจอันดีกับผู้สนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา จัดสรร ทรัพยากรอย่างท่ัวถึงตามความจำเป็น การควบคุมการปฏิบัติงานด้วยแผนงานหรือโครงการ การเสริมสร้าง ประสิทธิภาพการดำเนินงาน การกำกับ ติดตาม ตรวจสอบและรายงาน ตลอดจนการประกาศเกียรติคุณและ ยกย่อง ตามทเ่ี สนอไวใ้ นรูปแบบการระดมทรัพยากรเพื่อการศกึ ษา (ซ) รปู แบบการระดมทรัพยากรเพ่อื การศึกษา ๔. การวิจัยคร้ังต่อไป ควรได้มีการศึกษาเชิงลึกเกี่ยวกับแนวทางการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา เป็นรายสังกดั ทัง้ รฐั เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รวมท้งั ควรศกึ ษาแนวทางการระดมทรัพยากรของ โรงเรียนพระปริยัติธรรมสามัญศึกษา เป็นกรณีพิเศษ เน่ืองจากความแตกต่างของสถานะความเป็นพระภิกษุใน การบริหารจัดการสถานศึกษาท่ีต้องได้รับการสนับสนุนการระดมทรัพยากรเป็นพิเศษ ที่แตกต่างจากการบริหาร จดั การสถานศึกษาปกติ รูปแบบการระดมทรพั ยากรเพ่อื การศึกษา (ฌ) สารบัญ หน้า คำนำ (ก) คำนำคณะวจิ ยั (ข) บทสรปุ สำหรบั ผู้บริหาร (ค) สารบญั (ฌ) สารบญั ตาราง (ฎ) สารบัญภาพ (ฏ) บทที่ ๑ บทนำ ๑ บทท่ี ๒ เอกสารและงานวจิ ยั ท่เี ก่ยี วข้อง ๑๐ บทที่ ๓ วิธีการวิจยั ๒๖ บทที่ ๔ ผลการศึกษา ๓๐ ๔.๑ ผลการศึกษาสภาพปจั จบุ ัน ปัญหา และปจั จยั ท่สี ่งผลต่อความสำเร็จ ๓๐ ของการระดมทรพั ยากรเพือ่ การศึกษาของต่างประเทศ ๔.๑.๑ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ๓๐ ๔.๑.๒ สาธารณรฐั อนิ โดนีเซยี ๔๓ ๔.๑.๓ ประเทศอังกฤษ ๕๔ ๔.๑.๔ เครือรัฐออสเตรเลยี ๗๘ สรปุ ๙๙ ๔.๒ ผลการระดมทรัพยากรเพื่อการศกึ ษาของประเทศไทย ๑๐๙ ๔.๒.๑ โรงเรียนเจริญศิลปศ์ กึ ษา จงั หวดั สมุทรสาคร ๑๐๙ ๔.๒.๒ โรงเรยี นวัดบ่อกรุ “คุรปุ ระชาสรรค”์ จังหวัดสุพรรณบรุ ี ๑๑๗ ๔.๒.๓ โรงเรยี นครุ ุประชาสรรค์ จังหวัดชัยนาท ๑๒๙ ๔.๒.๔ โรงเรยี นตาคลีประชาสรรค์ จงั หวดั นครสวรรค ์ ๑๓๘ ๔.๒.๕ โรงเรียนวัดวิเวกวนาราม จงั หวดั เชยี งใหม ่ ๑๔๙ ๔.๒.๖ โรงเรียนปรนิ สร์ อยแยลสว์ ทิ ยาลัย จงั หวัดเชยี งใหม ่ ๑๕๖ ๔.๒.๗ โรงเรยี นบรบือวทิ ยาคาร จงั หวดั มหาสารคาม ๑๖๖ ๔.๒.๘ โรงเรียนเกิง้ วิทยานกุ ลู จังหวดั มหาสารคาม ๑๗๖ ๔.๒.๙ โรงเรยี นการกุศลวดั สระทอง จังหวัดรอ้ ยเอด็ ๑๘๖ ๔.๒.๑๐ โรงเรียนบ้านโนนจิก จังหวัดศรสี ะเกษ ๑๙๗ ๔.๒.๑๑ โรงเรียนวัดเขา (วันครู ๒๕๐๑) จงั หวัดนครศรธี รรมราช ๒๐๕ ๔.๒.๑๒ โรงเรียนสวนพระยาวิทยา จงั หวดั นราธวิ าส ๒๑๒ สรุป ๒๒๐ (ญ) รปู แบบการระดมทรพั ยากรเพื่อการศกึ ษา สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ ๔.๓ ประเด็นสำคญั ทส่ี มควรนำไปสรา้ งรูปแบบการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา ๒๒๒ ๔.๔ รูปแบบการระดมทรัพยากรเพือ่ การศึกษา ๒๒๙ ๔.๕ ขอ้ เสนอแนวทางการระดมทรัพยากรเพือ่ การศกึ ษาในระดับนโยบายและระดบั ๒๔๕ สถานศึกษา บทที่ ๕ สรปุ ผลการวจิ ัย การอภิปราย และเสนอแนะ ๒๔๘ ๕.๑ สรุปผลการวจิ ยั ๒๔๘ ๕.๒ การอภปิ รายผลการวิจยั ๒๕๓ ๕.๓ ขอ้ เสนอแนะ ๒๕๘ ๕.๓.๑ ระดับนโยบาย ๒๕๘ ๕.๓.๒ ระดบั สถานศกึ ษา ๒๕๘ ๕.๓.๓ แนวทางการวิจัยครงั้ ตอ่ ไป ๒๕๘ รายการอา้ งอิง ๒๕๙ ภาคผนวก ๒๖๗ รูปแบบการระดมทรพั ยากรเพ่อื การศึกษา (ฎ) สารบัญตาราง หนา้ ตารางที่ ๒.๑ การลงทุนในทรัพยากรการศกึ ษา ๑๕ ตารางท่ี ๓.๑ ตวั อยา่ ง (โรงเรียน) ในการวจิ ัย ๒๗ ตารางที่ ๔.๑ ความช่วยเหลือจากนานาประเทศให้กับแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ๓๕ ปี ๒๕๕๔-๒๕๖๓ ตารางที่ ๔.๒ สรปุ และเปรียบเทียบบรบิ ทการศกึ ษาและวธิ กี ารระดมทรัพยากรทางการศกึ ษา ๙๙ ของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรฐั อนิ โดนีเซีย ประเทศองั กฤษ และเครอื รัฐออสเตรเลีย (ฏ) รูปแบบการระดมทรพั ยากรเพือ่ การศึกษา หนา้ ๖ สารบญั ภาพ ๗๒ ๗๖ ๙๔ ภาพที่ ๑.๑ กรอบแนวคดิ การวจิ ยั เร่ือง รูปแบบการระดมทรัพยากรเพอื่ การศึกษา ๑๑๑ ภาพที่ ๔.๑ โครงสร้างการแบ่งส่วนงานกองทุน Trent Academies Group ๑๑๒ ภาพท่ี ๔.๒ วธิ ีการระดมทรพั ยากรเพื่อการศกึ ษาของโรงเรยี น Rushcliffe School ๑๑๕ ภาพท่ี ๔.๓ วธิ ีการระดมทรพั ยากรของโรงเรยี น Bungendore Public School ๑๑๘ ภาพท่ี ๔.๔ วธิ ีการระดมทรัพยากรเพอ่ื การศึกษาของโรงเรยี นเจรญิ ศลิ ป์ศึกษา ๑๒๐ ภาพท่ี ๔.๕ วธิ ีการระดมทรัพยากรเพือ่ การศึกษาของโรงเรียนเจริญศลิ ปศ์ ึกษา ๑๒๘ ภาพที่ ๔.๖ กลยุทธก์ ารกระดมทรพั ยากรเพ่ือการศกึ ษาของโรงเรยี นเจริญศิลปศ์ ึกษา ๑๓๑ ภาพท่ี ๔.๗ วธิ ีการระดมทรัพยากรของโรงเรยี นวดั บอ่ กรุ “คุรปุ ระชาสรรค”์ ๑๓๖ ภาพท่ี ๔.๘ วิธีการจัดการทรัพยากรเพอื่ การศึกษาของโรงเรียนวดั บ่อกรุ “คุรุประชาสรรค์” ๑๓๙ ภาพท่ี ๔.๙ การระดมทรพั ยากรเพื่อการศึกษาของโรงเรยี นวดั บอ่ กรุ “ครุ ปุ ระชาสรรค์” ๑๔๑ ภาพท่ี ๔.๑๐ วิธีการระดมทรพั ยากรเพอ่ื การศึกษาของโรงเรยี นครุ ุประชาสรรค ์ ๑๔๗ ภาพท่ี ๔.๑๑ กลยทุ ธ์การระดมทรพั ยากรเพื่อการศกึ ษาของโรงเรียนครุ ปุ ระชาสรรค ์ ๑๕๐ ภาพที่ ๔.๑๒ วิธกี ารระดมทรพั ยากรเพื่อการศกึ ษาของโรงเรยี นตาคลปี ระชาสรรค์ ๑๕๑ ภาพที่ ๔.๑๓ ขั้นตอนการจัดการทรัพยากรเพือ่ การศกึ ษาโรงเรียนตาคลีประชาสรรค ์ ๑๕๕ ภาพท่ี ๔.๑๔ กลยุทธก์ ารระดมทรัพยากรเพ่ือการศกึ ษาของโรงเรยี นตาคลีประชาสรรค์ ๑๕๘ ภาพท่ี ๔.๑๕ การระดมทรพั ยากรเพอ่ื การศึกษาของโรงเรยี นวดั วเิ วกวนาราม ๑๕๙ ภาพท่ี ๔.๑๖ วธิ กี ารระดมทรพั ยากรเพื่อการศกึ ษาของโรงเรียนวดั วิเวกวนาราม ๑๖๔ ภาพท่ี ๔.๑๗ กลยุทธ์การระดมทรพั ยากรเพอื่ การศึกษาของโรงเรียนวัดวิเวกวนาราม ๑๖๘ ภาพที่ ๔.๑๘ ขั้นตอนการระดมทรพั ยากรเพอ่ื การศึกษาของโรงเรยี นปรินสร์ อยแยลส์วทิ ยาลยั ๑๗๓ ภาพที่ ๔.๑๙ วธิ กี ารระดมทรัพยากรเพ่อื การศกึ ษาของโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วทิ ยาลยั ๑๗๘ ภาพที่ ๔.๒๐ กลยุทธก์ ารระดมทรัพยากรของโรงเรียนปรนิ สร์ อยแยลส์วิทยาลัย ๑๘๔ ภาพที่ ๔.๒๑ วธิ ีการระดมทรพั ยากรเพอ่ื การศึกษาโรงเรียนบรบือ ๑๘๘ ภาพที่ ๔.๒๒ กลยทุ ธก์ ารระดมทรัพยากรเพอ่ื การศึกษาโรงเรียนบรบือ ๑๙๔ ภาพที่ ๔.๒๓ วธิ ีการระดมทรัพยากรเพ่อื การศึกษาโรงเรียนเก้ิงวิทยานุกูล ๑๙๘ ภาพที่ ๔.๒๔ กลยุทธก์ ารระดมทรพั ยากรเพอื่ การศกึ ษาโรงเรยี นเก้ิงวิทยานุกูล ภาพท่ี ๔.๒๕ วธิ กี ารระดมทรพั ยากรเพอ่ื การศึกษาโรงเรยี นการกศุ ลวดั สระทอง ภาพที่ ๔.๒๖ กลยุทธ์การระดมทรพั ยากรเพ่ือการศึกษาโรงเรยี นการกุศลวดั สระทอง ภาพที่ ๔.๒๗ วธิ ีการระดมทรัพยากรเพื่อการศกึ ษาโรงเรียนบา้ นโนนจกิ รปู แบบการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา (ฐ) สารบัญภาพ (ต่อ) หนา้ ๒๐๓ ๒๐๖ ภาพที่ ๔.๒๘ กลยุทธก์ ารระดมทรัพยากรเพอ่ื การศึกษาโรงเรียนบา้ นโนนจกิ ๒๐๗ ภาพที่ ๔.๒๙ ขัน้ ตอนการระดมทรัพยากรเพอ่ื การศกึ ษาของโรงเรยี นวดั เขา (วันครู ๒๕๐๑) ๒๑๑ ภาพที่ ๔.๓๐ วิธีการระดมทรพั ยากรเพ่อื การศึกษาของโรงเรียนวดั เขา (วนั ครู ๒๕๐๑) ๒๑๓ ภาพท่ี ๔.๓๑ กลยุทธ์ในการระดมทรัพยากรของโรงเรียนวดั เขา (วันครู ๒๕๐๑) ๒๑๘ ภาพท่ี ๔.๓๒ วธิ ีการระดมทรพั ยากรเพ่อื การศึกษาของโรเรยี นสวนพระยาวิทยา ๒๓๔ ภาพที่ ๔.๓๓ กลยทุ ธก์ ารระดมทรพั ยากรเพอ่ื การศกึ ษาของโรงเรยี นสวนพระยาวิทยา ๒๓๖ ภาพท่ี ๔.๓๔ การระดมทรัพยากรทีเ่ ป็นตวั เงิน ๒๓๘ ภาพที่ ๔.๓๕ วิธกี ารระดมทุนการศึกษาของโรงเรยี น ๒๔๐ ภาพท่ี ๔.๓๖ การพฒั นาหลกั สูตรและรายวิชาเพิม่ เตมิ ๒๔๒ ภาพที่ ๔.๓๗ รูปแบบการจดั การการเรียนร้แู บบเครือข่ายการมสี ว่ นร่วม ภาพที่ ๔.๓๘ วิธีการจัดการทรัพยากรเพอ่ื การศกึ ษาของโรงเรยี น รปู แบบการระดมทรพั ยากรเพ่อื การศึกษา 1 บทท่ี ๑ ๑.๑ เหตผุ ลและความเปน็ มา บทนำ การศึกษาเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์ เป็นฐานสำคัญของการพัฒนาประเทศและ สร้างความสามารถในการแข่งขันที่ท่ัวโลกต่างให้ความสำคัญกับการศึกษาของชนในชาติ โดยเฉพาะองค์การ สหประชาชาตไิ ดก้ ำหนดใหก้ ารศกึ ษาเปน็ การศกึ ษาเพอ่ื มวลชน หรอื การศกึ ษาเพอื่ คนทกุ คน (Education for All) และได้ดำเนินโครงการเพื่อสนับสนุน พัฒนาการศึกษา และคุณภาพมนุษย์มาโดยตลอด โดยเฉพาะอย่างย่ิง ได้กำหนดเป้าหมายให้การศึกษาเป็นเป้าหมายหน่ึงใน ๑๗ เป้าหมายเพ่ือการพัฒนาแห่งศตวรรษ สู่การพัฒนา ที่ยั่งยืน ภายในปี พ.ศ. ๒๕๗๓ ในการนี้ ได้มีการกำหนดการสร้างหลักประกันให้เด็กหญิงและชายทุกคนสำเร็จ การศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาท่ีมีคุณภาพและไม่มีค่าใช้จ่าย เพ่ือให้ได้ผลลัพธ์ทางการศึกษาที่มี ประสิทธิผล รวมทั้งการขจัดความเหล่ือมล้ำทางเพศในการศึกษา สร้างหลักประกันแก่กลุ่มเปราะบางท้ังผู้พิการ ชนเผ่าพ้ืนเมือง และเยาวชนให้เข้าถึงการศึกษาและอาชีพทุกระดับอย่างเท่าเทียมกัน เป็นต้น สะท้อนถึงการให้ ความสำคญั ตอ่ โอกาส คุณภาพและความเสมอภาคทางการศึกษาของเด็กและเยาวชนท่คี วรไดร้ บั สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับท่ีผ่านมา โดยเฉพาะฉบับปัจจุบัน (พุทธศักราช ๒๕๖๐) ท่กี ำหนดไวใ้ นมาตรา ๒๗ วา่ ชายและหญิงมสี ิทธเิ ท่าเทยี มกนั มาตรา ๕๔ รัฐตอ้ งดาํ เนินการให้เยาวชน ทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ต้ังแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บ ค่าใช้จ่าย นอกจากนั้นยังได้บัญญัติว่า การศึกษาท้ังปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถเช่ียวชาญได้ตามความถนัดของตน และมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ในการดําเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนา หรือให้ประชาชนได้รับการศึกษา รัฐต้องดําเนินการให ้ ผขู้ าดแคลนทนุ ทรัพยไ์ ด้รับการสนบั สนนุ ค่าใชจ้ า่ ยในการศึกษา ตามความถนดั ของตน ในการนี้ พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และทีแ่ กไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ไดก้ ำหนดหลกั การจดั ระบบ โครงสรา้ ง และกระบวนการจดั การศกึ ษา ไวใ้ นมาตรา ๙ หลายประการ โดยกำหนดให ้ (๕) ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่างๆ มาใช้ในการจัดการศึกษา และ (๖) การมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอ่ืน ท้ังนี้ ได้ขยายความไว้ในหมวด ๘ ความว่า ให้มีการระดมทรัพยากร และการลงทนุ ดา้ นงบประมาณ การเงนิ และทรัพยส์ นิ ทงั้ จากรฐั องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ บุคคล ครอบครวั ชุมชน องค์กรชุมชนเอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ สถาบันสังคมอื่น และตา่ งประเทศมาใชจ้ ดั การศกึ ษา ดังนี้ (๑) ใหร้ ัฐและองคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ ระดมทรัพยากรเพอื่ การศึกษา โดยอาจจัดเก็บภาษี เพื่อการศึกษาได้ตามความเหมาะสม ท้ังน้ี ให้เป็นไปตามท่ีกฎหมายกำหนด (๒) ให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบัน 2 รปู แบบการระดมทรพั ยากรเพือ่ การศึกษา ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา โดยเป็นผู้จัดและมีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษา บริจาคทรัพย์สินและทรัพยากรอ่ืนให้แก่สถานศึกษา และมีส่วนร่วมรับภาระค่าใช้จ่าย ทางการศึกษาตามความเหมาะสมและความจำเป็น นอกจากนี้ แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ทอี่ อกตามความในรฐั ธรรมนญู พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ยงั ไดก้ ำหนดให้ ผปู้ กครอง/ชมุ ชน มสี ว่ นรว่ มในการสนบั สนนุ พัฒนาหลักสูตรและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน สนับสนุนการดำเนินงานของสถานศึกษาในรูปแบบต่างๆ ร่วมกับครูและเครือข่ายในการพัฒนาทักษะ ความรู้ ความสามารถของบุตรหลานให้เต็มตามศักยภาพ ตลอดจน ติดตาม ดูแล ป้องกัน ช่วยเหลือ และแก้ปัญหาเรื่องต่างๆ ทางการศึกษาของโรงเรียน ที่นับเป็นการกำหนด บทบาททช่ี ัดเจนครัง้ แรก จากการประเมินผู้เรียนในโครงการประเมินผู้เรียนนานาชาติ (The Programme for International Student Assessment, PISA) ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ (OECD, 2013) พบวา่ ผลลพั ธท์ างการศกึ ษามีความสมั พนั ธ์ กับทรัพยากร นโยบาย และการปฏิบัติทางการศึกษาน้อยมาก อย่างไรก็ดี ทรัพยากรท่ีเพียงพอมีส่วนสำคัญ ในการสนับสนุนผู้เรียนให้มีโอกาสที่ดีในการเรียนรู้ โดยทรัพยากรการศึกษาจะถูกนำมาแปลงเป็นผลการเรียนรู้ ถ้านำมาใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ท้ังน้ี ทรัพยากรท่ีถูกนำมาใช้ในการลงทุนทางการศึกษา ได้แก่ การเงิน บุคคล วสั ดุ และเวลาทีผ่ ้เู รยี นใช้ในการเรียนรู้ (Fuller, 1987; Greenwald, Hedges and Laine, 1996; Buchmann and Hannum, 2001; Rivkin, Hanushek and Kain, 2005; Murillo and Román, 2011; Hægeland, Raaum and Salvanes, 2012; Nicoletti and Rabe, 2012 ใน OECD, 2013, น. ๓๘-๔๐) ผลการประเมนิ ดังกล่าว ยังพบอีกว่า การระดมทรัพยากรมีความสำคัญไม่น้อยกว่าการจัดสรรทรัพยากรภายในระบบและ โรงเรียน การจัดสรรทรัพยากรท่ีดีไปยังโรงเรียนด้อยโอกาส ช่วยลดช่องว่างระหว่างการได้เปรียบเสียเปรียบ ระหว่างโรงเรียน (Lamb, Teese and Helme, 2005; Henry, Fortner and Thompson, 2010 ใน OECD, 2013, น. ๑๐) ท้งั นี้ ในประเทศอุตสาหกรรม การใชง้ านทรัพยากรและทรพั ยากรทีม่ คี ณุ ภาพ สง่ ผล ต่อความแปรผนั ของประสทิ ธภิ าพของผเู้ รียน ดังน้ัน ทรัพยากรเพื่อการศึกษาจึงประกอบไปด้วย เงิน บุคคล/ภูมิปัญญา องค์ความรู้ทางวิชาการ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ส่ือการเรียน (เช่น หนังสือและเคร่ืองเขียน อุปกรณ์การเรียนต่างๆ) เครื่องแต่งกาย วัสดุ ครุภัณฑ์และส่ิงก่อสร้าง หรือจำแนกประเภททรัพยากรเพ่ือการศึกษา ได้ว่า ๑) ทรัพยากรเงิน และ ๒) ทรพั ยากรที่ไม่ใชเ่ งิน ท่ีสมควรทำการศึกษาเชงิ ลึกตอ่ ไป สำหรับการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาที่ประสบผลสำเร็จ กลุ่มศึกษาของธนาคารโลก ได้เสนอไว้ว่า ผู้บริหารสถานศกึ ษาจำเปน็ ต้องตรวจสอบตนเองในประเด็นต่อไปนี้ คือ ๑) วสิ ยั ทศั น์และพันธกจิ ของสถานศึกษา คืออะไร วิสัยทัศน์ของสถานศึกษามีความสัมพันธ์กับชุมชนอย่างไร ๒) ผลที่เกิดขึ้นภายหลังการระดมทรัพยากร ทางการศึกษาคืออะไร ๓) หลักฐานของความสำเร็จที่ผ่านมาคืออะไร ๔) การบริหารจัดการและภาวะผู้นำของ คณะกรรมการสถานศึกษาเป็นอย่างไร สามารถตรวจสอบได้และมีความโปร่งใสหรือไม่ ๕) ระบบการเงินต้อง ปลอดภัยและมีการจัดการอย่างเหมาะสม ๖) ความมีช่ือเสียง ความน่าเชื่อถือและภาพลักษณ์ที่ดีของกรรมการ สถานศกึ ษา ๗) องค์กรและชมุ ชนไดร้ บั ประโยชน์จากการระดมทรพั ยากรเพอ่ื การศึกษา และ ๘) ความสามารถ ในการสร้างสรรค์และจัดการทรัพยากรท่ีมีอยู่ให้เกิดความยั่งยืน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ต้องมีความสอดคล้อง กบั ชมุ ชน (World Bank Group., n.d.) สะท้อนให้เห็นว่า โรงเรียนตอ้ งมีศักยภาพและสรา้ งการยอมรบั ให้เกดิ ขน้ึ ต่อชมุ ชนหรอื ผู้สนบั สนนุ ทรพั ยากรทง้ั ดา้ นตวั ผ้บู รหิ าร การจดั การ และสอดคลอ้ งกบั ความต้องการของชุมชน รปู แบบการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา 3 สำหรับวิธีการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษาของต่างประเทศ แตกต่างกันไปตามบริบทของประเทศ ทง้ั ท่ีเปน็ ประเทศท่พี ฒั นาแล้ว และกำลงั พัฒนา โดยภาพรวมประเทศทมี่ ีบริบทท่ดี กี วา่ ประเทศไทย เช่น ประเทศ นิวซีแลนด์ การระดมทรัพยากรส่วนใหญ่ เป็นการระดมทรัพยากรบุคคลและองค์ความรู้ โดยคณะกรรมการ สถานศึกษาเป็นผู้ท่ีมีความรู้ความสามารถและเป็นตัวแทนกลุ่มคนที่หลากหลาย มีหน้าที่บริหารจัดการโรงเรียน ท้ังระบบโดยเฉพาะด้านการเงินและทรัพยากร โดยสถานศึกษาเปิดโอกาสให้ครอบครัวและชุมชนเข้ามาช่วยดูแล บตุ รหลานในระดบั ปฐมวยั (Ministry of Education, น. ๑๓ – ๑๕) เปน็ ตน้ ประเทศทม่ี บี รบิ ทใกลเ้ คยี งประเทศไทย เชน่ สาธารณรฐั โคลอมเบยี เปน็ ประเทศในกลมุ่ ลาตนิ อเมรกิ า มอี ตั ราการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ผลติ ภณั ฑม์ วลรวม ของประเทศคดิ เป็นร้อยละ ๔.๙ รายได้ประชาชาตปิ ระมาณ ๑๐,๑๐๐ ดอลลาร์ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ (Wikipedia) มีการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาโดยการเปิดโอกาสให้ครอบครัวเข้าร่วมดูแลผู้เรียนปฐมวัย จัดอบรม แม่ของชุมชน ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จัดกลุ่มโรงเรียนเป็นเครือข่ายเพื่อลด ภาระงบประมาณและแก้ปัญหาการเงิน จัดให้สถานประกอบการเป็นแหล่งเรียนรู้ (โรงงานผลิตกาแฟท่ีเป็น ผลผลิตสำคัญของประเทศ ให้ผเู้ รยี นได้เรยี นรอู้ าชพี ) และการสร้างสะพานระหวา่ งชมุ ชน เปน็ ต้น (OECD, 2016) ประเทศท่ีกำลังพัฒนา เช่น สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มีการระดมทรัพยากรเพื่อ การศึกษาท้ังในและต่างประเทศ โดยการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษาภายในประเทศ เป็นภาระหน้าท่ีท่ีถูก กำหนดไว้ชัดเจนในนโยบายการศึกษา (National Assembly, 2007) โดยระบุให้ ๑) ทุกภาคส่วนระดม ทรัพยากรเงินและที่ไม่ใช่เงิน ได้แก่ สังคม องค์กรชุมชนและบุคคล มีบทบาทในการมีส่วนร่วมพัฒนาการศึกษา, ภาคธุรกิจและสมาคมธุรกิจมีหน้าที่ในการให้ความร่วมมือ อำนวยความสะดวกและสนับสนุนครูและผู้เรียน, สอ่ื มวลชนมหี นา้ ที่สร้างรายการเพอ่ื เผยแพร่การศกึ ษา เสริมสรา้ งความรู้ด้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี อาชพี และ อื่นๆ ให้กับประชาชน, และพ่อแม่ ผู้ปกครองและครอบครัว มีหน้าที่ร่วมกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียน ให้ทุน การศกึ ษา ยานพาหนะและวสั ดอุ ปุ กรณก์ ารเรยี น สรา้ งและทะนบุ ำรงุ และฟน้ื ฟอู ำนวยความสะดวกใหก้ บั บตุ รหลาน ให้ได้รับการศึกษา รวมถึงมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมือในโรงเรียน และ ๒) แหล่งเงินทุนทางการศึกษาหลัก มาจากงบประมาณรัฐ และภาคส่วนต่างๆ ได้แก่ องค์กรและภาคส่วนท้ังในและต่างประเทศ ตลอดจน ความช่วยเหลือของประชาคมระหว่างประเทศผ่านโครงการต่างๆ สำหรับการจัดการศึกษาในโรงเรียนขนาดเล็ก ในประเทศลาวที่ตั้งอยู่นอกเมืองและในหมู่บ้าน จัดให้มีคณะกรรมการพัฒนาการศึกษาของชุมชน (Village Education Development Committee, VEDC) ประจำโรงเรียน (ประกอบด้วย หัวหน้าชุมชน รองหัวหน้า กรรมการโรงเรียน เลขาชุมชน สหภาพสตรี Laos Front สหภาพสำหรับเยาวชน และตัวแทนการรักษา ความปลอดภัยของชุมชน) มีหน้าท่ีในการจัดทำแผนการศึกษาของโรงเรียน วิเคราะห์ปัญหา ระบุกลยุทธ์ ในการแก้ปัญหา และจัดให้ผู้เรียน ครู และชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา (Seel, I’Anson & Lomathmanyvong, 2015, น. ๒๔) กล่าวได้ว่า ประเทศที่พัฒนาแล้วและกำลังพัฒนา มีการระดมทรัพยากรท่ีคล้ายและแตกต่างกันตามแต่ บริบทของประเทศนั้นๆ กล่าวคือ ประเทศนิวซีแลนด์ ส่วนใหญ่ระดมทรัพยากรด้านความคิดและความร่วมมือ ในการดูแลบตุ รหลานในโรงเรียน ประเทศโคลอมเบยี ระดมทรัพยากรในดา้ นความคิด แรงงาน และแหลง่ เรียนรู้ และประเทศลาว มกี ารระดมทรัพยากรทีช่ ัดเจน ทัง้ ทรัพยากรเงนิ และทไ่ี มใ่ ช่เงิน โดยเฉพาะการระดมทรัพยากร ภายนอกประเทศ มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ของผู้ทำหน้าที่/เก่ียวข้องกับการระดมทรัพยากรไว้ชัดเจนและ เปน็ ระบบ ท่ีสมควรทำการศกึ ษาเชงิ ลกึ ต่อไป 4 รูปแบบการระดมทรัพยากรเพื่อการศกึ ษา สำหรับประเทศไทย มีการระดมทรัพยากรท่ีหลากหลายตามแนวทางที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัต ิ การศึกษาแห่งชาติฯ ทั้งด้านทรัพยากรเงิน ภูมิปัญญา ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (การแลกเปลี่ยนกัน ระหวา่ งสถานศกึ ษา) วสั ดคุ รภุ ณั ฑ์ อาคารสถานที่ และสอ่ื การเรยี นรู้ โดยมวี ธิ กี ารและแนวทางการระดมแตกตา่ งกนั ไปตามบริบท สังคมและวัฒนธรรมของท้องถ่ินและโรงเรียน ท้ังนี้ การมีส่วนร่วมในการระดมทรัพยากร สถานศกึ ษาจากทกุ ภาคสว่ นอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ จำเปน็ ทส่ี ถานศกึ ษาจะตอ้ งพฒั นาภาวะผนู้ ำในสถานศกึ ษา พฒั นา ความสามารถขององคก์ รทีเ่ กยี่ วข้องกบั โรงเรียน เช่น สมาคมครผู ู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา ผู้นำชุมชน หรอื องคก์ รเอกชน มลู นธิ ิ และสถานประกอบการ เปน็ ตน้ ทง้ั น้ี จากการศกึ ษาและดำเนนิ งานวจิ ยั พบวา่ สถานศกึ ษา บางแห่งได้รับการสนับสนุนด้านทรัพยากรสูง ในขณะที่สถานศึกษาบางแห่ง ตั้งอยู่ในชุมชนขาดแคลน ขาดการ สนับสนุนทรัพยากร อย่างไรก็ดี ภาวะผู้นำของผู้อำนวยการและบุคลากรสถานศึกษามีส่วนในการกระตุ้นให้ องค์กรหรือหน่วยงานนอกพ้ืนท่ีเข้ามามีบทบาทในการระดมทรัพยากรสถานศึกษา (พิณสุดา สิริธรังศรี, ๒๕๕๙) ทั้งน้ี การระดมทรัพยากรของสถานศึกษาในระดับนโยบายในประเทศไทย ยังไม่เป็นระบบและไม่มีรูปแบบ ท่ีชัดเจน ไม่สอดคล้องกับกฎหมายที่เอ้ือต่อการระดมทรัพยากรการศึกษา ส่งผลให้เกิดความไม่เท่าเทียมและ ความไมเ่ สมอภาคในด้านการไดร้ บั การสนับสนุนทรพั ยากรการศกึ ษาของผู้เรยี น จากการติดตามและประเมินผลการปฏิรูปการศึกษาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๔๒ เป็นต้นมาเพื่อจัดทำข้อเสนอ การปฏิรูปการศกึ ษาในทศวรรษทสี่ อง (พ.ศ.๒๕๕๒ - ๒๕๖๑) พบว่า สถานศึกษามีปัญหาการดำเนนิ การบรหิ าร จัดการทรพั ยากรเงิน กลไกของรัฐไมเ่ อือ้ ใหท้ ุกภาคส่วนของสังคมเข้ามามสี ว่ นรว่ มในการบรหิ ารจดั การและระดม ทรัพยากรเพื่อการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมน้อยในการระดมและบริหาร จัดการทรัพยากรเพ่ือการศึกษา สถานศึกษาขาดแรงจูงใจในการพัฒนาการบริหารจัดการเพ่ือการแข่งขันอย่างมี ประสิทธภิ าพ (สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, ๒๕๕๒,น. ๘) โดยปญั หาดงั กล่าว ยังคงปรากฏอยูใ่ นปจั จบุ นั ดังน้ัน ผู้วิจัยเห็นความจำเป็นในการศึกษารูปแบบการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา โดยเฉพาะ ในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีเป็นการศึกษาของผู้เรียนกลุ่มใหญ่ เป็นฐานการพัฒนาประเทศในอนาคต โดย ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเป็นแนวทางการส่งเสริมการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษาของ สถานศึกษาตอ่ ไป ๑.๒ วัตถปุ ระสงค ์ ๑.๒.๑ เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และปัจจัยท่ีส่งผลต่อการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษาของ ประเทศไทยและตา่ งประเทศ ๑.๒.๒ เพื่อพัฒนารูปแบบ/แนวทางการระดมทรัพยากรทางการศึกษา จากประสบการณ์ของ ต่างประเทศและสถานศึกษาในประเทศไทยทีป่ ระสบความสำเร็จในการระดมทรัพยากรเพือ่ การศึกษา ๑.๒.๓ เพ่ือจัดทำข้อเสนอแนวทางการส่งเสริมการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาในระดับนโยบายและ ระดบั สถานศกึ ษา รูปแบบการระดมทรพั ยากรเพอื่ การศึกษา 5 ๑.๓ คำถามการวจิ ยั ๑.๓.๑ รูปแบบและวธิ ีการระดมทรพั ยากรเพือ่ การศกึ ษาของตา่ งประเทศมีลกั ษณะอยา่ งไร ๑.๓.๒ ปัจจุบันการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษาในสถานศึกษาของไทยมีการดำเนินการอย่างไร มีปัญหาหรอื ขอ้ จำกดั ในการระดมทรพั ยากรเพ่อื การศึกษาจากภาคสว่ นตา่ งๆ อย่างไร ๑.๓.๓ รูปแบบการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษาของสถานศึกษาในประเทศไทยท่ีประสบความสำเร็จ มลี กั ษณะอย่างไร มปี ัจจัยและเงื่อนไขความสำเร็จอยา่ งไร ความสามารถในการระดมทรัพยากรเพอ่ื การศกึ ษาของ สถานศึกษาข้ึนอยกู่ บั องค์ประกอบใดบ้าง ๑.๓.๔ รูปแบบ/แนวทางการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาของสถานศึกษาในประเทศไทยควรเป็น อยา่ งไร ๑.๓.๕ ข้อเสนอแนวทางการส่งเสริมการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาของสถานศึกษา ทั้งในระดับ นโยบายและระดบั สถานศกึ ษาควรเปน็ อยา่ งไร ๑.๔ กรอบแนวคิดการวิจัย การวิจัยน้ียึดแนวคิดและรูปแบบดังนี้ ๑) การระดมทรัพยากรตามแนวทางของพระราชบัญญัต ิ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ การให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน องคก์ รชมุ ชน องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ เอกชน องคก์ รเอกชน องคก์ รวชิ าชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา เป็นผู้จัดและมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา บริจาคทรัพย์สิน และทรัพยากรอ่ืนให้แก่สถานศึกษา และมีส่วนรับภาระค่าใช้จ่ายทางการศึกษาตามความเหมาะสมและ ความจำเป็น ๒) ทรัพยากรเพอื่ การศกึ ษา ประกอบดว้ ย ทรพั ยากรเงิน และทรัพยากรท่ีไมใ่ ช่เงิน ไดแ้ ก่ บุคคล/ ภมู ปิ ญั ญา องค์ความรู้ทางวิชาการ เทคโนโลยีและนวตั กรรม ส่อื การเรียน (เช่น หนังสอื และเคร่ืองเขียน อปุ กรณ์ การเรียนต่างๆ) เครื่องแต่งกาย วัสดุ ครุภัณฑ์และส่ิงก่อสร้าง เวลา และอื่นๆ (Fuller, 1987; Greenwald, Hedges and Laine, 1996; Buchmann and Hannum, 2001; Rivkin, Hanushek and Kain, 2005; Murillo and Román, 2011; Hægeland, Raaum and Salvanes, ๒๐๑๒; Nicoletti and Rabe, 2012 ใน OECD, 2013, น. ๓๘-๔๐; พิณสุดา สิริธรังศรี, ๒๕๕๙) ๓) รูปแบบการระดมทรัพยากร ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ หลักการ วัตถุประสงค์ วิธีการระดมทรัพยากร แหล่งทรัพยากร องค์กรและสถาบันท่ีเกี่ยวข้อง บุคลากร (ภายในและภายนอก) ปัจจัยและเงื่อนไขความสำเร็จ (สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, ๒๕๕๕; ๒๕๕๖) และการพัฒนารูปแบบ ได้แก่ การสร้างรูปแบบ การตรวจสอบรูปแบบ และการนำเสนอรูปแบบ (พิณสุดา สิริธรงั ศร,ี ๒๕๕๗) ดังแผนภาพตอ่ ไปนี้ 6 รูปแบบการระดมทรัพยากรเพ่อื การศกึ ษา รูปแบบ สาระและองคป์ ระกอบ ขน้ั ตอนการพัฒนารูปแบบ ■ วิสยั ทัศน ์ ■ การสร้างรูปแบบ ■ หลักการ ■ การตรวจสอบรูปแบบ ■ วัตถปุ ระสงค์ ■ การเสนอรูปแบบ ■ วธิ กี าร/กลยุทธ์ ■ องค์กร/สถาบนั ■ ปจั จัยและเงือ่ นไข ความสำเร็จ การระดมทรพั ยากรเพอื่ การศึกษา รปู แบบการระดม ทรกพั ายรศากกึ รษเาพ ื่อ ทรพั ยากรเพ่อื การศกึ ษา วธิ ีการระดม ■ เงิน ■ ทางตรง ร.ร.ดำเนนิ การ ■ ไม่ใช่เงิน ■ กจิ กรรมการระดมทุน ■ บุคคล/ภมู ิปญั ญา/แรงงาน ของ ร.ร. ■ ความร ู้ ■ ขอรับบรจิ าค ■ เทคโนโลย/ี นวัตกรรม ■ ทางอ้อม (โรงเรยี นรับการ ■ สื่อการเรยี น สนบั สนุน ■ วัสดอุ ปุ กรณ ์ ■ บุคคล ครอบครวั ชมุ ชน ■ เครอ่ื งแตง่ กาย สถานประกอบการ มูลนธิ ิ ■ ครุภัณฑ ์ ฯลฯ ■ สอ่ื การเรียน ■ การมีสว่ นร่วม ■ สง่ิ ก่อสรา้ ง (อาคารสถานท่ี ฯลฯ) ภาพที่ ๑.๑ กรอบแนวคดิ การวิจยั เร่ือง รูปแบบการระดมทรัพยากรเพ่อื การศกึ ษา ๑.๕ ขอบเขตการดำเนินงาน ๑.๕.๑ วิจัยเอกสารท่ีเก่ียวกับรูปแบบและวิธีการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ ครอบคลุมประเทศที่มีบริบททางเศรษฐกิจ สังคม และการศึกษาท่ีดีกว่า/ใกล้เคียง/และด้อยกว่า ประเทศไทย อยา่ งนอ้ ย ๔ ประเทศ และศึกษาเฉพาะระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ๑.๕.๒ วิจัยเชิงลึก ประกอบด้วย การสำรวจข้อมูลภาคสนามและเรียนรู้เชิงลึกจากกลุ่มตัวอย่างของ สถานศึกษาของรัฐและเอกชนท่ีจัดการเรียนการสอนในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน (สายสามัญ) ที่ตั้งอยู่ใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล และ ๔ ภูมิภาค ได้แก่ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ ภาคใต้ จำนวน ๑๒ โรงเรยี น ๑.๕.๓ ทรัพยากรเพื่อการศึกษา ครอบคลุมทั้งท่ีเป็นเงิน (In-cash) และท่ีไม่ใช่เงิน (In-kind) โดยไมร่ วมงบประมาณและทรพั ยากรทส่ี ถานศึกษาไดร้ ับการสนับสนนุ จากภาครัฐสว่ นกลาง ๑.๕.๔ ภาคสว่ นต่างๆ ประกอบด้วย องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ภาคเอกชน ครวั เรือน ชมุ ชน องค์กร ระหว่างประเทศ นิตบิ ุคคล และบคุ คลธรรมดา รูปแบบการระดมทรัพยากรเพ่อื การศึกษา 7 ๑.๖. วธิ ีการดำเนินงาน ๑.๖.๑ รวบรวมขอ้ มลู และศึกษาเอกสารงานวิจยั ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั การระดมทรพั ยากร เพ่อื การศึกษาจาก ท้งั ในประเทศและตา่ งประเทศ ๑.๖.๒ จัดประชุมผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณากรอบแนวคิด ระเบียบวิธีวิจัย เกณฑ ์ การคดั เลอื กสถานศึกษา และเครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัย ๑.๖.๓ สำรวจข้อมูลภาคสนามเกี่ยวกับการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา เงื่อนไขและปัจจัย ความสำเร็จในการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาจากกลุ่มตวั อยา่ งสถานศึกษาของรฐั เอกชนและองค์กรปกครอง ส่วนท้องถนิ่ ท่จี ดั การเรียนการสอนระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน (สายสามญั ) โดยใช้เกณฑ์การคัดเลอื กที่ครอบคลุม สถานศึกษาท่ีมีความแตกต่างกันในด้านขนาด (เล็ก/กลาง/ใหญ่/ใหญ่พิเศษ) พื้นที่ต้ัง (ใน/นอกเมืองหรือชนบท) และสังกัด (กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) ท่ีตั้ง อยู่ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และ ๔ ภูมิภาค ได้แก่ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่มเก่ียวกับสภาพการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษาของ สถานศึกษาในประเด็นของบุคลากร งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์ วิชาการ/หลักสูตร การบริหาร จดั การ และการมสี ่วนร่วมตามแบบสมั ภาษณแ์ บบมีโครงสร้าง และท่ีเกีย่ วข้องตามกรอบแนวคดิ การวิจยั ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ประธานกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง ผู้แทนองค์กร และหน่วยงานที่สนบั สนุนทรพั ยากรของโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ แบบสนทนากลุ่ม แบบสำรวจข้อมูล และแบบสังเคราะห์ที่สรา้ งขน้ึ ตามกรอบแนวคิดการวจิ ยั ในลักษณะปลายปิดและปลายเปิด การรวบรวมขอ้ มลู นกั วจิ ยั รวบรวมขอ้ มลู ดว้ ยตนเอง ตามเครอื่ งมอื ทสี่ รา้ งขนึ้ จากการสมั ภาษณ ์ สนทนากลุ่ม และแบบสำรวจข้อมลู การระดมทรัพยากรเพือ่ การศึกษาของโรงเรียน การวเิ คราะหข์ ้อมลู ด้วยวธิ กี ารวิเคราะหเ์ นอ้ื หาสาระ (Content Analysis) ๑.๖.๔ วิเคราะห์และสังเคราะห์รูปแบบการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษาจากภาคส่วนต่างๆ ของ สถานศึกษา รวมท้ังข้อเสนอแนวทางการส่งเสริมการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษาของสถานศึกษา ท้ังในระดับ นโยบายและระดับสถานศกึ ษา เพ่อื สร้างแรงจงู ใจในการมสี ว่ นรว่ มของภาคส่วนตา่ งๆ ๑.๖.๕ จดั ทำรา่ งรูปแบบและร่างรายงานผลการศกึ ษารปู แบบการระดมทรัพยากรเพ่อื การศึกษา ๑.๖.๖ ตรวจสอบรูปแบบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ด้วยการนำเสนอรูปแบบและรายงานผลการศึกษาเพื่อ รับฟังความคิดเห็นจากท่ีประชุม ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิ สถานศึกษา และหน่วยงานเกี่ยวข้อง ตามเกณฑ ์ ที่กำหนดร่วมกับสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ๑.๖.๗ ปรับปรุงรูปแบบและร่างรายงานฯ ตามข้อเสนอแนะของที่ประชุม นำเสนอรูปแบบและจัดทำ รายงานผลการวจิ ัยฉบบั สมบรู ณ์ ๑.๗. ผลผลิต ๑.๗.๑ ผลผลิตระหว่างดำเนินโครงการ ได้แก่ รายงานความก้าวหน้าการดำเนินโครงการ เอกสาร นำเสนอจากการประชุมกลุ่ม พร้อมไฟลใ์ นรปู แบบต่างๆ ๑.๗.๒ ผลผลิตเม่ือดำเนินโครงการเสร็จสิ้น ได้แก่ รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ พร้อมไฟล์ในรูปแบบ ต่างๆ ในหัวขอ้ เรือ่ ง “รปู แบบการระดมทรพั ยากรเพ่อื การศกึ ษา” ซึง่ มีเนือ้ หาครอบคลุมการตอบคำถามการวจิ ยั และวัตถปุ ระสงค์การวิจัย 8 รูปแบบการระดมทรัพยากรเพ่อื การศกึ ษา ๑.๘ ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะได้รับ ๑.๘.๑ กระทรวงศึกษาธิการและต้นสังกัดสถานศึกษา ได้รูปแบบและแนวทางการระดมทรัพยากร เพ่ือการศึกษาที่สอดคล้องกับบริบทของพ้ืนท่ีและสถานศึกษา รวมท้ังปัจจัยสนับสนุนและเง่ือนไขความสำเร็จ ในการระดมทรัพยากรเพื่อการศกึ ษา ๑.๘.๒ กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานต้นสังกัดสถานศึกษา ได้มาตรการ/แนวทางการส่งเสริม การระดมทรัพยากรเพอ่ื การศกึ ษาเพ่ือสร้างแรงจงู ใจในการมสี ่วนร่วมของภาคส่วนตา่ งๆ ๑.๘.๓ สถานศึกษาเพ่ิมขีดความสามารถและศักยภาพในการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา รวมท้ัง ลดการพึ่งพางบประมาณของภาครฐั ๑.๘.๔ สร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาจากทุกภาคส่วนผ่านกลไกการระดมทรัพยากรเพื่อ การศกึ ษา ท้งั ด้านวชิ าการ ดา้ นบุคลากร การเงนิ และการบริหารงานทั่วไป ๑.๙ ระยะเวลาดำเนินงาน ระยะเวลา ๖ เดอื น นับจากวนั ลงนามในสัญญาจ้าง เดือนท่ี ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. กิจกรรม ๑. รวบรวมขอ้ มลู และศึกษาเอกสาร งานวจิ ัย วเิ คราะห์ และสงั เคราะห ์ เกีย่ วกับการระดมทรัพยากรเพ่อื การศกึ ษาของในประเทศและต่างประเทศ ดว้ ยวธิ ีวเิ คราะหเ์ นอ้ื หา สาระ ๒. จัดประชุมผู้ทรงคุณวุฒิเพือ่ พจิ ารณากรอบแนวคิด เกณฑ์การคัดเลอื ก เคร่ืองมือวิจัย และใหค้ วามเห็นแผนการดำเนินงาน - วิเคราะห์ประเดน็ การวจิ ยั - จดั ทำกรอบแนวคิด เกณฑ์คัดเลือกพ้ืนที่และสถานศกึ ษาเพื่อศึกษา ภาคสนาม จาก กทม. และปริมณฑล และ ๔ ภมู ิภาค - จัดทำแผนและเครอื่ งมอื วจิ ยั ๓. ศกึ ษาภาคสนามและประชมุ รับฟังความคิดเหน็ ในพ้นื ท่ี กทม. และปริมณฑล และ ๔ ภมู ิภาค โดยการ - ศึกษากรณโี รงเรียนทไี่ ด้รับการคัดเลือกตามเกณฑ์ - จดั สนทนากลมุ่ - ถอดบทเรยี น - รับฟงั ความเหน็ จากสถานศกึ ษา องค์กร/หนว่ ยงานที่เกี่ยวข้อง ผ้ปู กครอง ชมุ ชน และผู้มีสว่ นได้สว่ นเสยี เพอ่ื วิเคราะห์ความเปน็ ไปได ้ ของรูปแบบ ๔. เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู บันทึก ประมวลผลและวิเคราะหผ์ ลการวจิ ัย รวมทั้งสงั เคราะห์ผลการศึกษาเอกสารและภาคสนามเพื่อให้ได้ข้อสรุป ตามวัตถปุ ระสงค์ทีก่ ำหนดไว้ ๕. จดั ทำร่างรายงานผลการวิจยั ฉบบั สมบรู ณ ์ รูปแบบการระดมทรพั ยากรเพื่อการศกึ ษา 9 กจิ กรรม เดอื นท่ี ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ๖. นำเสนอร่างรายงานผลการวิจยั ฉบับสมบูรณ์ และรับฟงั ความคิดเห็น จากผู้ทรงคณุ วฒุ ิ สถานศกึ ษา และหนว่ ยงานที่เกย่ี วข้อง ๗. ปรับปรุงรายงานตามขอ้ คดิ เหน็ ขอ้ เสนอแนะของท่ปี ระชมุ เพือ่ ให้ไดร้ ายงานท่ีมีความถูกตอ้ ง ครบถว้ น สมบูรณ์ และจดั ส่งรายงานผลการวจิ ยั ฉบับสมบรู ณ ์ ๑.๑๐ คำนยิ ามศัพท ์ การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา หมายถึง การดำเนินงานให้ได้มาซ่ึงทรัพยากรทั้งระดับนโยบาย และระดับสถานศึกษา ทั้งท่ีเป็นเงิน และท่ีไม่ใช่เงิน ได้แก่ บุคคล/ภูมิปัญญา องค์ความรู้ วิชาการ แรงงาน วสั ดคุ รภุ ัณฑ์ และสง่ิ กอ่ สรา้ ง เปน็ ต้น ท่สี นับสนนุ การจัดการศึกษาใหเ้ ปน็ ไปตามวตั ถุประสงคแ์ ละเป้าหมายที่เกิด กบั ผูเ้ รียนอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและเกิดประสิทธผิ ล รูปแบบ หมายถึง การจำลองภาพอุดมคติเป็นต้นแบบการดำเนินงานท่ีผ่านกระบวนการตรวจสอบ รูปแบบโดยผู้ทรงคุณวุฒิและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง โดยมีองค์ประกอบและสาระ ได้แก่ วิสัยทัศน์ หลักการ วตั ถุประสงค์ วิธกี าร กลยุทธ์ บคุ คล องคก์ รและสถาบันทเี่ กีย่ วข้อง ตลอดจนปัจจยั และเงอ่ื นไขความสำเร็จ รูปแบบการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา หมายถึง การจำลองภาพอุดมคติเพื่อการดำเนินงาน ให้ได้มาซ่ึงทรัพยากรท้ังท่ีเป็นเงินและที่ไม่ใช่เงินได้แก่ บุคคล/ภูมิปัญญา องค์ความรู้ทางวิชาการ เทคโนโลยี และนวัตกรรม สอื่ การเรยี น (เช่น หนงั สือและเครือ่ งเขียน อุปกรณ์การเรยี นตา่ งๆ) เครื่องแต่งกาย วสั ดุ ครุภัณฑ์ และสิ่งก่อสร้าง และเวลา ที่สนับสนุนการจัดการศึกษาของสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล ท้ังระดับนโยบาย และระดับสถานศึกษา ด้วยองค์ประกอบและสาระท่ีกำหนดข้ึน ได้แก ่ วิสยั ทศั น์ หลกั การ วตั ถปุ ระสงค์ วิธกี าร กลยทุ ธ์ องค์กรและสถาบันท่เี กีย่ วข้องกับการระดมทรพั ยากร ตลอดจน ปัจจัยและเง่ือนไขความสำเร็จ 10 รูปแบบการระดมทรัพยากรเพ่ือการศกึ ษา บทท่ี ๒ เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วขอ้ ง งานวิจัยเร่ือง รูปแบบการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา มีเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง เรียงตามลำดบั ดังตอ่ ไปน ้ี ๒.๑ ความหมาย แนวคิด และความสำคัญของการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาของสถานศึกษา ขั้นพ้นื ฐาน ๒.๒ ประเภทของทรพั ยากรเพ่ือการศึกษา ๒.๓ วัตถปุ ระสงคข์ องการระดมทรัพยากรเพือ่ การศกึ ษา ๒.๔ การเตรยี มการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ๒.๕ วธิ กี ารระดมทรัพยากรเพือ่ การศกึ ษาในประเทศไทย ๒.๖ วิธกี ารระดมทรพั ยากรเพอ่ื การศึกษาในตา่ งประเทศ ดังปรากฏรายละเอยี ดต่อไปน้ี ๒.๑ ความหมาย แนวคดิ และความสำคญั ของการระดมทรพั ยากรเพื่อการศึกษา ของสถานศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ๒.๑.๑ ความหมายของการระดมทรพั ยากรเพอื่ การศึกษา มีผใู้ หค้ วามหมายของทรัพยากรและทรัพยากรเพื่อการศึกษาไว้ ดังนี้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ๒๕๔๕ (๒๕๔๕, น. ๕๖๑) ให้ความหมายของคำว่า ทรพั ยากร หมายถึง ทรัพย์สิง่ ของทง้ั ปวง และคำวา่ “ทรพั ย์” หมายถงึ เงนิ ตรา สมบัติ เงิน ของมคี ่า สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาติ (๒๕๔๖, น. ๑-๓) ใหค้ วามหมาย คำวา่ ทรพั ยากร เพื่อการศึกษาทใี่ ชใ้ นการวเิ คราะหก์ ารเงนิ และการลงทุนทางการศกึ ษา ประกอบดว้ ย ๑) ทรัพยากรทางการเงิน ควรให้มีการระดมเงินจากแหล่งอื่นๆ นอกเหนือจากงบประมาณ แผน่ ดนิ มาใช้ในการจัดการศึกษาให้มากขึ้น ๒) ทรัพยากรที่ไม่ใช่เงิน ครอบคลุมปัจจัยการผลิตหลัก ได้แก่ ที่ดิน (เป็นทุนท่ีใช้ในการ ประกอบการ) รวมถงึ บุคลากร อาคารสิ่งก่อสรา้ ง วสั ดอุ ุปกรณ์การเรียนการสอน และการผสมผสานการใชป้ ัจจัย ต่างๆ เขา้ ดว้ ยกัน รุ่ง แก้วแดง (๒๕๔๖, น. ๑๐๙) ให้คำจำกัดความของทรัพยากรไว้ว่า ทรัพยากร คือ ความรู้ ทกุ เร่อื งท่มี ีในชมุ ชน โดยไดจ้ ำแนกทรพั ยากรออกเป็น ๒ ประเภท คือ ๑) ทรัพยากรเงิน ได้แก่ งบประมาณทไ่ี ด้จากสว่ นกลางหรือเปน็ เงินบรจิ าค ๒) ทรัพยากรที่ไม่ใช่เงิน เป็นความร่วมมือที่ได้รับ เช่น บริจาคเวลา ความรู้ ความคิด คำแนะนำ และการบรกิ ารแหล่งเรยี นรู้และวสั ดตุ า่ งๆ เป็นต้น เพือ่ นำมาใช้ในการจดั การเรียนการสอน รปู แบบการระดมทรพั ยากรเพ่อื การศึกษา 11 สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (๒๕๔๙, น. ๔) ได้ให้ความหมายทรัพยากรเพื่อการ จัดการศึกษาว่า หมายถึง ทรัพยากรทางการเงิน (Financial Resources) และทรัพยากรท่ีไม่ใช่เงิน (Non-financial Resources) ได้แก่ ที่ดิน แรงงาน ทุนและการประกอบการ ดังน้ัน ทรัพยากรเพ่ือการศึกษา หมายรวมถงึ บคุ ลากร ท่ีดิน อาคาร ส่งิ กอ่ สร้าง และวัสดุอุปกรณ์การเรียนการสอน เปน็ ส่ิงทเี่ กย่ี วขอ้ งทั้งทางตรง และทางอ้อมกับการให้บริการทางการศึกษา ตลอดจนวิทยุโทรทัศน์ดาวเทียม และอินเทอร์เน็ตท่ีสามารถ นำมาใช้ประโยชน์ทางการศึกษาได้ จากความหมายขา้ งตน้ ผวู้ จิ ยั จงึ สรปุ วา่ การระดมทรพั ยากรเพอ่ื การศกึ ษา หมายถงึ การดำเนนิ งาน ให้ได้มาซึ่งทรัพยากรเพื่อสนับสนุนการศึกษา ทั้งที่เป็นเงินหรืองบประมาณ และสิ่งต่างๆ ท่ีไม่ใช่เงินที่มีผลต่อ การบริหารจัดการการศึกษา เช่น บุคคล/ภูมิปัญญา องค์ความรู้ทางวิชาการ เทคโนโลยีและนวัตกรรม สื่อการเรียน (เช่น หนังสือและเคร่ืองเขียน อุปกรณ์การเรียนต่างๆ) เครื่องแต่งกาย และวัสดุ ครุภัณฑ์และ สิ่งกอ่ สรา้ ง เปน็ ต้น ๒.๑.๒ แนวคดิ ของการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษาของสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พระราชบัญญัติการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๒ บัญญัติแนวคิด หลักการและแนวทางในการระดม ทรพั ยากรเพ่อื การศึกษา ดงั น ี้ มาตรา ๕๘ ให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณการเงินและทรัพย์สิน ท้ังจากรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน เอกชน องค์กรเอกชน องค์กร วิชาชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการสถาบันสังคมอืน่ และตา่ งประเทศ มาใชจ้ ัดการศึกษา ดงั น้ี (๑) ให้รัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา โดยอาจจัดเก็บภาษี เพอ่ื การศึกษาได้ตามความเหมาะสม ท้งั น้ี ใหเ้ ปน็ ไปตามทีก่ ฎหมายกำหนด (๒) ให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กร ชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอ่ืน ระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา โดยเป็นผู้จัดและมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา บริจาคทรัพย์สิน และทรัพยากรอ่ืนให้แก่สถานศึกษา และ มีส่วนร่วมรับภาระค่าใช้จ่ายทางการศึกษาตามความเหมาะสมและความจำเป็น ท้ังน้ี ให้รัฐและองค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ิน ส่งเสริมและสร้างแรงจูงใจในการระดมทรัพยากรดังกล่าว โดยการสนับสนุน การอุดหนุน และ การใชม้ าตรการลดหยอ่ นหรอื ยกเวน้ ภาษตี ามความเหมาะสมและความจำเปน็ โดยใหเ้ ปน็ ไปตามทก่ี ฎหมายกำหนด มาตรา ๕๙ ระบุแนวทางการระดมทรัพยากรการศึกษาระดับรัฐและองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นในรูปของภาษีการศึกษา และมาตรา ๕๙ วรรคสุดท้าย ระบุแนวทางการจัดระบบให้สถานศึกษา ของรัฐที่เป็นนิติบุคคลมีอำนาจในการปกครอง ดูแลบำรุงรักษา และจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของ สถานศึกษา ท้ังที่เป็นที่ราชพัสดุตามกฎหมายว่าด้วยท่ีราชพัสดุ และที่เป็นทรัพย์สินอ่ืน รวมท้ังจัดหารายได้จาก ส่วนต่างๆ ได้แก่ บริการและอสังหาริมทรัพย์ในสถานศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคล ค่าธรรมเนียมการศึกษา ท่ีสอดคล้องกับนโยบาย วัตถุประสงค์และภารกิจหลักของสถานศึกษา ผลประโยชน์ท่ีเกิดจากที่ราชพัสดุ และ เบี้ยปรับท่ีเกิดจากการผิดสัญญาต่างๆ (เบ้ียปรับลาศึกษาและเบี้ยปรับที่เกิดจากการผิดสัญญาการซ้ือทรัพย์สิน หรอื การจา้ งดำเนนิ งาน) โดยจัดทำเป็นเงนิ งบประมาณทเ่ี ป็นรายไดท้ ่ไี ม่ตอ้ งนำสง่ กระทรวงการคลงั ตามกฎหมาย ว่าด้วยเงินคงคลังและกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ เพื่อให้สถานศึกษาสามารถจัดสรรเป็นค่าใช้จ่ายในการ จดั การศึกษาของสถานศกึ ษาไดต้ ามระเบยี บทก่ี ระทรวงการคลงั กำหนด 12 รปู แบบการระดมทรพั ยากรเพ่อื การศกึ ษา มาตรา ๖๐ ให้รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษาในฐานะท่ีมีความสำคัญสูงสุด ตอ่ การพัฒนาที่ยัง่ ยนื ของประเทศ โดยจดั สรรเปน็ เงนิ งบประมาณเพอ่ื การศกึ ษา ดงั น ี้ (๑) จัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปเป็นค่าใช้จ่ายรายบุคคลที่เหมาะสมแก่ผู้เรียนการศึกษาภาคบังคับ และการศึกษาข้นั พื้นฐานทจี่ ดั โดยรัฐและเอกชนให้เทา่ เทียมกัน (๒) จัดสรรทุนการศึกษาในรูปของกองทุนกู้ยืมให้แก่ผู้เรียนท่ีมาจากครอบครัวที่มีรายได้น้อย ตามความเหมาะสมและความจำเปน็ (๓) จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรเพ่ือการศึกษาอื่นเป็นพิเศษให้เหมาะสมและสอดคล้อง กับความจำเป็นในการจัดการศึกษาสำหรับผู้เรียนท่ีมีความต้องการเป็นพิเศษแต่ละกลุ่มตามมาตรา ๑๐ วรรค สอง วรรคสาม วรรคสี่ โดยคำนึงถึงความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษาและความเป็นธรรม ท้ังนี้ให้เป็นไป ตามหลกั เกณฑ์และวิธกี ารที่กำหนดในกฎกระทรวง (๔) จัดสรรงบประมาณเป็นค่าใช้จ่ายดำเนินการ และงบลงทุนให้สถานศึกษาของรัฐตาม นโยบาย แผนพัฒนาการศกึ ษาแหง่ ชาติ และภารกิจของสถานศกึ ษา โดยให้มีอิสระในการบรหิ ารงบประมาณและ ทรพั ยากรเพื่อการศกึ ษา ท้ังนี้ ใหค้ ำนึงถงึ คณุ ภาพและความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา (๕) จัดสรรงบประมาณในลักษณะเงินอุดหนุนทั่วไปให้สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาของรัฐ ที่เป็นนิติบุคคล และเป็นสถานศกึ ษาในกำกับของรัฐหรอื องค์การมหาชน (๖) จัดสรรกองทนุ กูย้ ืมดอกเบย้ี ตำ่ ใหส้ ถานศึกษาเอกชน เพื่อใหพ้ ่ึงตนเองได ้ (๗) จดั ตง้ั กองทุนเพอื่ พฒั นาการศกึ ษาของรัฐและเอกชน มาตรา ๖๑ ใหร้ ฐั จัดสรรเงินอดุ หนุนการศึกษาทจ่ี ัดโดยบุคคล ครอบครัว องค์กรชมุ ชน องค์กร เอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่นตามความเหมาะสมและ ความจำเป็น มาตรา ๖๒ ให้มีระบบการตรวจสอบ ติดตามและประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการ ใช้จ่ายงบประมาณการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับหลักการศึกษาแนวการจัดการศึกษาและคุณภาพมาตรฐาน การศกึ ษา โดยหนว่ ยงานภายในและหนว่ ยงานของรฐั มหี นา้ ทตี่ รวจสอบภายนอก เรยี กวา่ “Performance Audit” มีหน้าที่ตรวจสอบผลการดำเนินงาน ท้ังนี้ หลักเกณฑ์ และวิธีการในการตรวจสอบ ติดตามและการประเมินให้ เปน็ ไปตามทกี่ ำหนดในกฎกระทรวง กล่าวโดยสรุปได้ว่า พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ระบุหลักการและแนวคิด ในการระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณการเงินและทรัพย์สิน โดยบัญญัติให้ภาครัฐ องค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบัน ศาสนา สถานประกอบการสถาบันสังคมอ่ืน รวมถึงจากต่างประเทศมีส่วนร่วมในการระดมทรัพยากรการศึกษา โดยมหี น่วยตรวจสอบในรูปแบบของ “Performance Audit” ตรวจสอบ ติดตามและประเมินประสทิ ธิภาพและ ประสิทธิผลการใช้จ่ายงบประมาณการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับหลักการศึกษา แนวการจัดการศึกษาและ คณุ ภาพมาตรฐานการศกึ ษาโดยหนว่ ยงานภายในและหน่วยงานของรัฐ ๒.๑.๓ ความสำคัญของการระดมทรัพยากรเพอ่ื การศึกษา จากผลจากการประเมินผู้เรียนในโครงการประเมินผู้เรียนนานาชาติ (The Programme for International Student Assessment, PISA) ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ พบว่า ผลลัพธท์ างการศกึ ษามคี วามสมั พนั ธ์ กับทรัพยากร นโยบาย และการปฏบิ ัตทิ างการศกึ ษาน้อย อย่างไรก็ดี นกั วชิ าการหลายทา่ น ระบวุ า่ ทรัพยากร รปู แบบการระดมทรพั ยากรเพ่ือการศึกษา 13 ทเ่ี พยี งพอมสี ว่ นสำคญั ในการสนบั สนนุ ผเู้ รยี นใหม้ โี อกาสทด่ี ใี นการเรยี นรู้ ทง้ั น้ี ทรพั ยากรการศกึ ษาทมี่ กี ารนำมาใช ้ อย่างมีประสิทธิภาพ จะถูกแปลงเป็นผลการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพ โดยทรัพยากรท่ีถูกนำมาใช้ในการลงทุน ทางการศึกษา ได้แก่ การเงิน มนุษย์และวัสดุ และเวลาท่ีผู้เรียนใช้ในการเรียนรู้ (Fuller, 1987; Greenwald, Hedges and Laine, 1996; Buchmann and Hannum, 2001; Rivkin, Hanushek and Kain, 2005; Murillo and Román, 2011; Hægeland, Raaum and Salvanes, 2012; Nicoletti and Rabe, 2012 ใน OECD, 2013, น. ๓๘-๔๐) ผลการประเมินดังกล่าว แสดงให้เห็นว่า การจัดสรรทรัพยากรภายใน ระบบและโรงเรียน มีความสำคัญเช่นเดียวกับการระดมทรัพยากรการศึกษา การจัดสรรทรัพยากรที่ดีไปสู่โรงเรียนด้อยโอกาส เปน็ การลดช่องว่างการได้เปรยี บเสยี เปรยี บของโรงเรียน (Lamb, Teese and Helme, 2005; Henry, Fortner and Thompson, 2010 ใน OECD, 2013, น. ๑๐) ทั้งน้ี ในประเทศอุตสาหกรรม การใช้ทรพั ยากรที่มีคุณภาพ ส่งผลต่อประสทิ ธิภาพของผูเ้ รยี น ความเท่าเทียมกันของทรัพยากรการศึกษา ส่งผลต่อการจัดการศึกษาและคุณภาพการศึกษา ทั้งระบบ ท้ังน้ี ประเทศท่ีมีระบบเศรษฐกิจที่ดี มีศักยภาพ ความพร้อมและงบประมาณที่เพียงพอในการพัฒนา การศึกษาโดยภาพรวม ให้ความสำคัญกับการจัดสรรทรัพยากรอย่างเท่าเทียมกัน เช่น เอสโทเนีย ฟินแลนด์ เยอรมนี เกาหลใี ต้ และสโลเวเนยี (OECD, 2014, น. ๑) เปน็ ตน้ อยา่ งไรกด็ ี งานวจิ ยั ขององคก์ ารเพอ่ื ความรว่ มมอื ทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (The Organisation for Economic Co-operation and Development, OECD) ระบุว่า การจัดสรรทรัพยากรอย่างเท่าเทียมกัน ไม่เก่ียวข้องกับคุณภาพของทรัพยากรเพื่อการศึกษา โดยพบวา่ การจดั สรรทรพั ยากรทเ่ี ทา่ เทยี มกนั สง่ ผลตอ่ ผลประโยชนข์ องผเู้ รยี นในบางสว่ น (OECD, 2014, น. ๓) รายจ่ายทางการศึกษาของประเทศต่างๆ ไม่สัมพันธ์กับประสิทธิภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับผลการประเมินผล ของ PISA พบวา่ ๑) กลมุ่ ประเทศทมี่ รี ายไดส้ งู (รายไดป้ ระชากรตอ่ หวั ๕๐,๐๐๐ ดอลลารส์ หรฐั ) มคี วามแตกตา่ ง ในด้านประสิทธิภาพผู้เรียนสูง และ ๒) ประเทศที่มีรายได้และเศรษฐกิจที่ต่างกันมาก ผู้เรียนมีประสิทธิภาพ การเรียนไม่ต่างกัน เช่น ผลการเรียนในรายวิชาคณิตศาสตร์ของผู้เรียนในประเทศ สาธารณรัฐสโลวัก (รายได้ ประชากรต่อหัวปานกลาง ๒๐,๐๐๐ - ๕๐,๐๐๐ ดอลลาร์สหรัฐ) กับประเทศสหรัฐอเมริกา (รายได้ผู้เรียน ต่อหัวสูงกว่าสาธารณรัฐสโลวักสองเท่า) เท่ากัน ดังนั้น นอกเหนือจากปัจจัยทางเศรษฐกิจ มีปัจจัยอ่ืนที่เป็น ตวั กำหนดผลลัพธผ์ ้เู รียน (OECD, 2013, น. ๔๐-๔๑) เหน็ ไดว้ า่ นอกเหนอื จากจำนวนเงนิ ทนุ ทางการศกึ ษา การจดั สรรทรพั ยากรการศกึ ษาเปน็ สงิ่ สำคญั ผลการประเมิน PISA พบว่า ระบบที่มีประสิทธิภาพให้ความสำคัญกับเงินเดือนครู โดยเฉพาะในประเทศที่ม ี รายไดส้ ูง (ประเทศทม่ี ีรายได้ประชากรต่อหัวมากกว่า ๒๐,๐๐๐ ดอลลาร์สหรัฐ) มรี ะบบการจ่ายเงนิ เดือนครูที่สงู ผเู้ รียนมผี ลการสอบคณิตศาสตร์สงู (OECD, 2013) อยา่ งไรก็ดี สำหรับประเทศท่มี รี ายไดป้ ระชากรต่อหัวน้อยกว่า ๒๐,๐๐๐ ดอลลาร์สหรัฐ ผลการ ประเมิน PISA พบว่า ประสิทธิภาพทางการเรียนไม่สัมพันธ์กับเงินเดือนครู เน่ืองจากทรัพยากรหลักหรือ โครงสร้างพืน้ ฐานของการศึกษาในประเทศเหลา่ นี้ เชน่ โครงสร้างวัสดุ วัสดุการเรยี นการสอน และการคมนาคม เป็นต้น ยังไม่ได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ทั้งนี้ เม่ือทรัพยากรหลักได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์แล้ว ทรัพยากรเหล่านี้ไม่ใช่ส่ิงจำเป็นที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพของผู้เรียนต่อไป อย่างไรก็ดี การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (ผ่านการใหเ้ งินเดอื นครทู ่ีสงู ) และการจดั สรรเวลายงั เปน็ สงิ่ สำคญั ที่ต้องคงไว้ในระบบ (OECD, 2013) 14 รูปแบบการระดมทรพั ยากรเพื่อการศกึ ษา จากข้อมูลดังกล่าว เห็นได้ว่า ระบบโรงเรียนท่ีมีประสิทธิภาพ เป็นการจัดสรรทรัพยากร ที่เท่าเทียมกันระหว่างโรงเรียนท่ีด้อยโอกาสและโรงเรียนที่ได้เปรียบทางเศรษฐกิจและสังคม การสนับสนุน โรงเรียนที่ด้อยโอกาส เป็นการสนับสนุนคนและวัสดุท่ีมีคุณภาพ ไม่ใช่การสนับสนุนทรัพยากรท่ีเพ่ิมข้ึน (OECD, 2014, น. ๔) ดังนั้น การระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา โดยการจัดสรรทรัพยากรให้เหมาะสมกับบริบทของ โรงเรียน มีความสำคัญต่อการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ โดยการจัดการเรียนการสอน วัสดุอุปกรณ์ และ สิ่งแวดลอ้ มทพ่ี รอ้ มต่อการพฒั นาผูเ้ รยี น ๒.๒ ประเภทของทรพั ยากรเพ่ือการศกึ ษา นกั วิชาการและนกั การศึกษา ได้แบง่ ประเภทของทรพั ยากรการศกึ ษาไว้ ดังรายละเอียดต่อไปน ี้ นคร ตังคะพิภพ (๒๕๔๙) จำแนกประเภทของทรัพยากรเพ่ือการศึกษาของสถานศึกษาออกเป็น ๖ ประเภท ดงั น ี้ ๑) เงินทุน ได้แก่ เงินทุนการศึกษา เงินพัฒนาสถานศึกษาในลักษณะต่างๆ ท่ีสามารถจะนำมาจัดซ้ือ จัดจ้างทำสิ่งของ หรือจัดสร้างส่ิงก่อสร้างต่างๆ และการใช้จ่าย เพื่อทำกิจกรรมหรือทำประโยชน์ทางการศึกษา ใหม้ ากขึ้น ๒) วัสดุอุปกรณ์ การระดมทรัพยากรเพ่ือให้ได้มาซึ่งวัสดุอุปกรณ์ ได้แก่ ช้ินส่วนต่างๆ ท่ีสามารถนำมา ประกอบเปน็ ส่งิ ของท่ีใชไ้ ดแ้ ละสิง่ ของทีส่ ามารถใชไ้ ดท้ ันที เชน่ สอื่ การสอน คอมพวิ เตอร์ เป็นต้น ๓) ท่ีดินและสิ่งก่อสร้าง ได้แก่ ท่ีดินท่ีใช้ประโยชน์ในการจัดการศึกษา อาคารเรียน อาคารประกอบ อ่ืนๆ และสงิ่ ก่อสรา้ งต่างๆ ทม่ี ีผู้สรา้ งใหโ้ ดยไม่ต้องใชง้ บประมาณแผ่นดนิ ๔) บุคคล ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญหรือภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีความเช่ียวชาญเฉพาะเร่ืองที่โรงเรียนได้รับ ความอนุเคราะห์มาถ่ายทอดความรแู้ ละประสบการณใ์ ห้กบั ครู บุคลากร และนักเรียน ๕) แหล่งเรียนรู้ท่ีมนุษย์สร้างข้ึน ได้แก่ สถานประกอบการ สาธารณสถาน โบราณสถาน สถานท่ี ราชการและเอกชน ทส่ี ามารถนำมาใชป้ ระโยชน์เพอ่ื การจดั การเรยี นการสอนได้ ๖) แหล่งเรียนรู้ตามธรรมชาติ ได้แก่ ทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยู่อย่างหลากหลาย เช่น ภูเขา ป่าไม้ แม่นำ้ ลำธาร น้ำตก ป่าชายเลน ทะเล เป็นต้น อย่างไรก็ดี การจัดประเภทของทรัพยากรการศึกษาตามแนวคิดทางด้านเศรษฐศาสตร์เพ่ือการดำเนิน กิจกรรมทางด้านเศรษฐกิจ แบ่งทรัพยากรการศึกษาออกเป็น ๔ ประเภท (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๓๗) ได้แก่ ๑) ทรพั ยากรมนุษย์ ได้แก่ บคุ ลากรทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับกจิ กรรมทางเศรษฐกิจทุกระดับ ๒) ทรัพยากรทางกายภาพ ได้แก่ ท่ีดิน (Land) เคร่ืองอำนวยความสะดวก (Facilities) เครื่องมือ (Equipment) วัสดุ หรือพลงั งาน (Materials and/or energy) ๓) ทรพั ยากรการเงิน ได้แก่ เงนิ และสิง่ อืน่ ๆ ทีส่ ามารถใช้แทนเงนิ ได ้ ๔) ข้อสนเทศ ได้แก่ ข้อมูล (Data) ความรู้ (Knowledge) ละมุนภัณฑ์ (Software) อุปกรณ์ (Hardware) รูปแบบการระดมทรพั ยากรเพ่อื การศึกษา 15 สำหรับการจัดทรัพยากรตามแนวคดิ ทางการบรหิ าร มีความแตกต่างกัน (วจิ ิตร ศรีสอา้ น, ๒๕๓๔) ดังนี ้ แนวคดิ แรก ระบุวา่ ทรัพยากรในการบริหารทส่ี ำคญั มีอยู่ ๔ ประการ หรือ “4M’s” ไดแ้ ก่ คน (Man) เงิน (Money) วสั ดสุ ง่ิ ของ (Material) และการจัดการ (Management) แนวคิดท่ีสอง ระบุว่า ทรัพยากรพื้นฐานของการบริหารมี ๓ ประการ หรือ “3M’s” ประกอบด้วย คน (Man) เงิน (Money) และการจดั การ (Management) โดยยดึ หลกั ว่าเงินสามารถจัดซ้อื จดั หาวัสดไุ ด ้ แนวคิดที่สาม แบ่งทรัพยากรในการดำเนินงานออกเป็น ๖ ประเภทท่ี หรือ “6M’s” ประกอบด้วย คน (Man) เงิน (Money) วัสดุส่ิงของ (Materials) วิธีการ (Method) ตลาด (Market) และเคร่ืองจักรกล (Machine) จากแนวคดิ ข้างต้น พบว่า แนวคดิ “4M’s” ไดแ้ ก่ คน (Man) เงนิ (Money) วสั ดุสิง่ ของ (Materials) และการจดั การ (Management) เปน็ แนวคดิ ที่สอดคลอ้ งกบั การลงทุนในทรัพยากร เพ่อื การศึกษาของโครงการ ประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (Programme for International Student Assessment; PISA) (PISA, 2012 อ้างถงึ ใน OECD, 2013, น. ๙๓) (ดงั แสดงในตารางที่ ๒.๑) และกรอบแนวคิดในการวจิ ัยครัง้ น้ ี ตารางที่ ๒.๑ การลงทนุ ในทรพั ยากรการศึกษา (PISA, ๒๐๑๒) การใช้จา่ ย ทรัพยากรมนษุ ย์ วัสดุ การจดั การ ในการศึกษา (Money) (Man) (Materials) (Management) • ค่าใช้จ่ายดา้ นการศกึ ษา • การให้บรกิ าร • โครงสร้างพืน้ ฐาน • ระยะเวลาทผ่ี ูเ้ รยี นเรยี น • เงนิ เดือนคร ู • การฝกึ อบรมครกู อ่ นการทำงาน ทางกายภาพ ในโรงเรยี น • คุณสมบตั ขิ องอาชพี ครู • ทรพั ยากรเพอื่ การศกึ ษา • ขนาดหอ้ งเรียน • ประวัตแิ ละคุณสมบตั คิ รู เช่น หนงั สือ • ระยะเวลาเรียน/หลังเลกิ เรยี น • อัตราครตู ่อผเู้ รยี น สื่อการเรยี นการสอน • กจิ กรรมหลักสูตรเพิ่มเตมิ • การขาดแคลนครู • ผ้เู รยี นเข้าเรียนในหลักสูตร • การพฒั นาอาชพี ครู ปฐมวยั ๒.๓ วตั ถปุ ระสงค์ของการระดมทรัพยากรเพื่อการศกึ ษา สถานศึกษามีองค์ประกอบพื้นฐานในการดำเนินงานท่ีสำคัญ ๓ ประการ คือ กิจกรรมหรือภารกิจของ องค์การ ทรพั ยากร และคน ทัง้ น้ี ทรัพยากรเป็นตวั กลางที่ทำให้กิจกรรม หรือภารกิจขององคก์ ารบรรลเุ ป้าหมาย ทรัพยากรเพื่อการศึกษา เป็นหนึ่งในปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการบริหารจัดการสถานศึกษา ทงั้ น้ี การพฒั นายทุ ธศาสตรก์ ารระดมทรพั ยากรเพอ่ื การศกึ ษาทด่ี ี สง่ ผลตอ่ การนำทรพั ยากรในทอ้ งถนิ่ ทน่ี อกเหนอื จากงบประมาณจากภาครฐั มาใช้ในการพัฒนาองคก์ รหรอื สถานศึกษาอย่างมีประสิทธภิ าพ โดยกระตนุ้ ให้ชมุ ชน มีส่วนร่วมในกิจการดังกล่าว เพ่ือให้เกิดความยืดหยุ่นและอิสระในการบริหารจัดการ ลดการพ่ึงพาทุนภายนอก ท้องถิ่น ปรีชา คัมภีรปกรณ์ (๒๕๔๗) ระบุวตั ถุประสงค์ของการระดมทรัพยากรเพ่ือการศกึ ษา ไวด้ งั นี้ ๑) เพอ่ื พฒั นาประสทิ ธภิ าพของกจิ กรรม ถา้ หากทรพั ยากรมเี พยี งพอ การดำเนนิ กจิ กรรมของสถานศกึ ษา จะเป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 16 รูปแบบการระดมทรพั ยากรเพอ่ื การศกึ ษา ๒) เพ่ือเพิ่มประสิทธิผลของกิจกรรม ถ้าหากปริมาณของทรัพยากรมีไม่เพียงพอการดำเนินกิจกรรม จะไมบ่ รรลุเปา้ หมาย ๓) เพ่ือความเหมาะสมของการเลือกกิจกรรมที่จะปฏิบัติ เพ่ือให้กิจกรรมที่ดำเนินการบรรลุหรือสำเร็จ ภายในเวลาทีจ่ ำกดั อย่างไรก็ดี ผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรมีส่วนสำคัญในการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา สถานศกึ ษาควรจดั ใหผ้ บู้ รหิ ารสถานศกึ ษาประชมุ รว่ มกบั บคุ ลากรเพอ่ื วางแผนการระดมทรพั ยากรโดยตง้ั คำถามวา่ ๑) จะทำอะไร (What) และ ๒) จะทำอย่างไร (How) โดยควรเร่ิมระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาจากภายใน ทอ้ งถ่ินก่อนการระดมทรพั ยากรการศึกษาจากภายนอก (World Bank Group, n.d.) สำหรบั รายละเอยี ดของการระดมทรัพยากรเพอ่ื การศกึ ษา ผวู้ ิจยั ไดก้ ล่าวไว้ในหัวขอ้ ถัดไป ๒.๔ การเตรียมการระดมทรพั ยากรเพื่อการศึกษา ในการจัดเตรียมการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ต้องตรวจสอบตนเองใน ประเดน็ ตอ่ ไปนี้ (World Bank Group, n.d.) ๑) วิสัยทัศน์และพันธกิจของสถานศึกษาคืออะไร และวิสัยทัศน์ของสถานศึกษามีความสัมพันธ์กับ ชุมชนอย่างไร ๒) ผลท่ีเกิดข้ึนภายหลังการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษาคืออะไร ๓) หลักฐานของความสำเร็จ ทผี่ า่ นมาคอื อะไร ๔) การบรหิ ารจดั การและภาวะความเปน็ ผนู้ ำของคณะกรรมการบรหิ ารสถานศกึ ษาเปน็ อยา่ งไร สามารถตรวจสอบไดแ้ ละมคี วามโปร่งใสหรือไม่ ๕) ระบบการเงนิ ตอ้ งมีความปลอดภยั รวมถงึ มีระบบการจดั การ การเงินอย่างเหมาะสม ๖) ความมีชื่อเสียง ความน่าเช่ือถือและภาพลักษณ์ท่ีดีของกรรมการสถานศึกษา ๗) องค์กรและชุมชนได้รับประโยชน์จากการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ๘) ความสามารถในการสร้างสรรค์ และจดั การทรพั ยากรทม่ี อี ย่ใู หม้ คี วามยง่ั ยนื โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ตอ้ งมคี วามสอดคลอ้ งกับชมุ ชน Seiler (๒๐๐๓) ระบวุ า่ วงจรการระดมการระดมทนุ เพอื่ การศกึ ษา ประกอบดว้ ย ๑๕ ขน้ั ตอน โดยเรม่ิ จาก การศึกษาความเป็นไปได้ในการระดมทรัพยากร การต้ังจุดมุ่งหมายและความเป็นไปได้ในการระดมทรัพยากร การกำหนดแผนการระดมทรัพยากร การคัดเลือกแหล่งทรัพยากร การประชาสัมพันธ์ การมีส่วนร่วมของ คณะกรรมการหรอื บคุ คลทเี่ กย่ี วขอ้ ง การรบั บรจิ าคจากแหลง่ ทนุ รวมถงึ การรายงานผลการระดมทนุ และการแสดง ความขอบคุณแหลง่ ทนุ สรุป การระดมทรัพยากรในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีความจำเป็นและสำคัญต่อการพัฒนาสถานศึกษา ให้สามารถจัดการศึกษาหรือจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ โดยสถานศึกษาจัดกิจกรรมที่มีวัตถุประสงค์ ให้ทุกภาคส่วน (คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้เรียน ผู้ปกครอง องค์กรเอกชน ชุมชน สถาบันทางสังคมอ่ืนๆ) มีส่วนร่วมระดมทรัพยากร ทั้งในรูปแบบทรัพยากรการเงิน (บริจาคเงิน ทรัพย์สิน) เพ่ือการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ของสถานศึกษา เช่น การพัฒนาการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมกีฬาภายใน และการทัศนศึกษานอกสถานท่ี เป็นตน้ หรอื การมีสว่ นรว่ มในด้านการตัดสนิ ใจ และการเขา้ รว่ มเปน็ อาสาสมัคร หลกั การของการระดมทรพั ยากรเพอ่ื การศึกษา เน้นให้ผู้นำองค์กรมภี าวะผ้นู ำ ท้งั ดา้ นคณุ ลกั ษณะ และ พฤติกรรมการบริหารจัดการ สร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริจาคกับสถานศึกษา และเข้าใจในกระบวนการ การระดมทรัพยากร ท้ังน้ี ผู้นำที่ดีมีความสามารถ ส่งผลต่อความสำเร็จในการระดมทรัพยากรการศึกษา โดยมี กระบวนการในการระดมทรัพยากรการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนี้ ๑) เสนอเหตุผลในการขอรับ การสนบั สนนุ ทรพั ยากรฯ ๒) จดั เสนอโครงการในชว่ งเวลาทเ่ี หมาะสม และ ๓) นำทรพั ยากรทไี่ ดไ้ ปใชอ้ ยา่ งเหมาะสม รูปแบบการระดมทรัพยากรเพอื่ การศึกษา 17 นอกจากน้ี ผู้ระดมทรัพยากรการศึกษา ต้องมีจิตวิทยา เข้าใจ สามารถจูงใจ และสร้างความเช่ือม่ัน ให้กับผู้บริจาค/สนับสนุนทรัพยากรการศึกษาได้ว่า ทรัพยากรที่ได้รับจากผู้บริจาค/สนับสนุน จะส่งผลให้เกิด ประโยชนส์ ูงสุดตอ่ สถานศกึ ษา นอกจากนี้ ส่ือสารประชาสัมพันธ์ เป็นสื่อกลางในการส่ือสารให้ผู้สนับสนุนและผู้บริจาคได้ทราบถึง เหตุผล วัตถุประสงค์ และวิธีการการระดมทรัพยากรการศึกษา เป็นหลักการของการระดมทรัพยากรฯ ท้ังนี ้ ผู้ระดมทรัพยากรฯ จำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจในเครื่องมือ กฎระเบียบ จริยธรรม ปัจจัยที่มีผลต่อรายจ่าย ในการระดมฯ รวมถึงแนวทางการระดมฯ ท่ีประสบผลสำเร็จ ที่ส่งผลให้การระดมทรัพยากรการศึกษา ประสบผลสำเรจ็ ได้ ๒.๕ วธิ กี ารระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาในประเทศไทย นักวิชาการในประเทศไทยจำนวนมากได้ศึกษาวิธีการและแบบอย่างการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา จากงานวิจัยของ พัชรกฤษฎิ์ พวงนิล (๒๕๕๓) เกศกาญจน์ บุญเพ็ญ (๒๕๕๕) อำพล ราวกลาง และเสาวน ี ตรพี ทุ ธรัตน์ (๒๕๕๖) กฤษณะ เครอื อยู่ ระมัด โชชยั และพรเพ็ญ โชชัย (๒๕๕๐) ถนอม บรรลศุ ิลป์ (๒๕๕๗) นารีรตั น์ รักวิจิตรกลุ (๒๕๕๙) จันทิมา อัชชะสวัสดิ์ (๒๕๕๘) และ สถาบันพฒั นาสยาม (๒๕๕๐) ผ้วู ิจยั ได้นำมา สรุปตามประเด็น ดงั นี้ สภาพปจั จบุ นั ปัญหาในการระดมทรัพยากรเพือ่ การศกึ ษา สถานศึกษาในประเทศไทย มีปัญหาการระดมทรัพยากรการศึกษาโดยภาพรวม ดังน้ี ๑) ด้านเงินทุน หรอื งบประมาณ ๒) ดา้ นบุคคล ๓) ด้านวสั ดอุ ปุ กรณ์และเทคโนโลยี ๔) ดา้ นที่ดนิ และสง่ิ กอ่ สรา้ ง และ ๕) ดา้ น แหลง่ เรียนรู้สำหรบั โรงเรียนขนาดเล็ก พบปญั หาในด้านการระดมทรพั ยากรวสั ดอุ ุปกรณแ์ ละเทคโนโลยี หลักการและวิธีการระดมทรพั ยากรเงินสำหรับโรงเรยี น สถานศึกษามีวิธีการระดมทรัพยากรการเงินในโรงเรียน โดย ๑) ผู้อำนวยการสถานศึกษา ครู และ คณะกรรมการสถานศกึ ษาร่วมกนั กำหนดวสิ ยั ทศั น์ นโยบายและวางแผนพัฒนาสถานศึกษา วิเคราะห์แหล่งท่ีมา ของงบประมาณ/เงิน ท่ีต้องการระดมจากทุกภาคส่วนเพ่ือให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาโรงเรียนหรือภารกิจ ของโรงเรยี น และ ๒) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นในฐานะผนู้ ำของโรงเรยี นริเร่มิ โครงการระดมทรพั ยากรเพอื่ การศึกษา โดยมีหลกั การ ดงั น ้ี ๑) ศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ โดยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ควรคำนึงถึงความเหมาะสมของประเด็นที่ขอรับการสนับสนุนหรือการบริจาค (Case for Support) ให้ สอดคล้องกับการแก้ปัญหาหรือภารกิจของการระดมทรัพยากร ส่งผลต่อผลลัพธ์และคุณภาพผู้เรียน มีความ สมเหตุสมผลทีจ่ ะขอรับบริจาค ๒) ผู้นำการระดมทรพั ยากรเพือ่ การศกึ ษา ควรสรรหาผูม้ ศี ักยภาพในการระดมทรพั ยากรเพ่อื การศึกษา ทัง้ จากแหลง่ ภายในและภายนอกสถานศึกษา เพือ่ สร้างศรทั ธาตอ่ โครงการระดมทรพั ยากรฯ ๓) แหล่งทรัพยากรควรเป็นแหล่งท่ีมีทุนเพียงพอ ควรให้มีการหารือ สอบถามความคิดเห็นในที่ประชุม หรือการพบปะพูดคุยกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา ได้แก่ ครู คณะกรรมการ สถานศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน ศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน รวมท้ังผู้บริจาครายใหญ่และผู้บริจาคกลุ่มต่างๆ เพ่ือ สอบถามและประเมนิ ความสำเร็จและความรว่ มมือท่ีจะได้รับจากการจัดโครงการระดมทุน 18 รปู แบบการระดมทรพั ยากรเพอ่ื การศกึ ษา ๔) การเลอื กกิจกรรมระดมทรัพยากร คณะกรรมการระดมทรพั ยากร อาจเลอื กรูปแบบการจัดกิจกรรม เด่ยี วหรือกิจกรรมผสมผสาน โดยมีการแบ่งกิจกรรมออกเป็น ๕ ลกั ษณะ ดังน้ี ๑) กิจกรรมที่ชมุ ชนเข้าร่วม เช่น การทอดผ้าป่าการศึกษา การแสดงดนตรีนาฏศิลป์ แฟช่ันโชว์ และการว่ิงมาราธอน เป็นต้น ๒) กิจกรรมท่ีม ี การขายบตั ร เช่น การขายบัตรโตะ๊ อาหาร และขายบตั รเข้ารว่ มงาน เปน็ ตน้ ๓) กจิ กรรมกฬี า เชน่ การแข่งขัน กอลฟ์ และโบวล์ ่งิ เป็นต้น ๔) กิจกรรมเปิดการแสดงรอบปฐมทศั น์เพ่ือการกุศล เช่น การแสดงนิทรรศการ และ ภาพยนตร์ เป็นต้น และ ๕) การประมูลสิ่งของบุคคลที่มีช่ือเสียง ประมูลงานศิลปะ โดยอาจประมูลในกิจกรรม งานเลย้ี งที่มีการขายบัตรหรือในงานกีฬา ๕) งบประมาณในการระดมทรัพยากร แผนบริหารจัดการประจำปีของสถานศึกษาควรจัดให้มี การระดมทรพั ยากรเงนิ (ในรปู แบบกิจกรรม) สถานศกึ ษาตอ้ งจัดทำงบประมาณดำเนนิ การ แตใ่ นกรณที โ่ี รงเรียน ดำเนินการระดมทรัพยากรหรือใช้งบประมาณจากยอดเงินบริจาค ควรใช้เพ่ือกิจกรรมระดมทรัพยากรได้ร้อยละ ๑๕ ของยอดบรจิ าคท้ังหมด ซ่ึงการใชจ้ า่ ยควรเกดิ ข้นึ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพและสามารถชแ้ี จงได้ ๖) การประชาสัมพันธ์ เป็นการส่ือสารท่ีเปิดโอกาสให้ผู้สนใจให้การสนับสนุนทรัพยากรการศึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็น รับทราบเป้าหมายของการระดมทรัพยากรฯ และตัดสินใจเข้าร่วมโครงการ ส่งผลต่อ ความสำเร็จในการระดมทรัพยากรฯ นอกจากนี้ คณะกรรมการระดมทรัพยากรฯ มีหน้าที่ติดตามแผน ประชาสมั พนั ธต์ ามกรอบระยะเวลาทีก่ ำหนดไว ้ ๗) การประกาศเกียรติคุณ และการรายงานผล เป็นการแสดงความขอบคุณผู้สนับสนุนและผู้บริจาค กลุ่มต่างๆ ด้วยวิธีที่เหมาะสม แสดงให้เห็นถึงความรับผิดชอบต่อยอดเงินบริจาค ส่งผลต่อความน่าเช่ือถือ และ ความโปรง่ ใสของสถานศึกษา รวมถงึ การขอรับบริจาคในคราวต่อไป องค์ประกอบท่ีส่งผลต่อความสำเร็จในการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ปัจจัยหรือองค์ประกอบ ความสำเร็จในการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาในด้านต่างๆ มีดังนี้ ๑) การบริหารทรัพยากร ๒) ภาวะผู้นำ ของผู้บริหาร (ความจริงใจ ประสบการณ์) ๓) การมีส่วนร่วมหรือระบบการทำงาน (ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมตัดสินใจ ร่วมปฏิบัติงาน ร่วมตรวจสอบและประเมินผล และร่วมรับผลประโยชน์) ๔) ความศรัทธาที่ชุมชน มีต่อสถานศึกษา ๕) แรงจูงใจท่ีชุมชนมีต่อการระดมทรัพยากรให้กับสถานศึกษา ๖) หลักกฎหมาย และ ๗) การประชาสมั พนั ธ์ของสถานศกึ ษา องคป์ ระกอบขา้ งตน้ มคี วามสมั พนั ธก์ นั ดงั น้ี ๑) การบรหิ ารทรพั ยากรมผี ลตอ่ แรงจงู ใจและการมสี ว่ นรว่ ม ของคนในชุมชน ๒) ภาวะผู้นำมีผลต่อแรงจูงใจ กฎหมาย การประชาสัมพันธ์ และความศรัทธา ๓) กฎหมาย มีผลตอ่ การมีส่วนร่วม และ ๔) แรงจงู ใจและการประชาสัมพนั ธม์ ผี ลตอ่ ความศรัทธา กลยุทธ์ในการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา เป็นกลยุทธ์การจัดหาทรัพยากรเพ่ือการศึกษาที่เป็น แนวทางหรือวธี ีการเชงิ รุก เพื่อใหบ้ รรลุวตั ถุประสงค์การระดมทรัพยากร เพ่ือการศกึ ษาอย่างมีประสทิ ธิภาพและ มีประสิทธิผล สร้างความพึงพอใจกับทุกภาคส่วน ทั้งนี้ ทรัพยากรเพ่ือการศึกษาจำแนกเป็น ๒ ด้าน คือ ๑) ทรพั ยากรเงินหรืองบประมาณ และ ๒) ทรพั ยากรที่ไมใ่ ชเ่ งิน ไดแ้ ก่ บคุ คล วัสดอุ ุปกรณแ์ ละเทคโนโลยี ทด่ี ิน และส่ิงก่อสร้าง และแหล่งเรียนรู้ สำหรับกลยุทธ์ที่นำมาใช้เพื่อการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ประกอบด้วย ๓ กลไกหลัก ได้แก่ ๑) กลไกด้านองค์กร เป็นการกำหนดโครงสร้างองค์กรการประสานงาน การมอบหมาย ภารกิจ ระบบการกำกับ ติดตาม และตรวจสอบให้มีความโปร่งใส ๒) กลไกด้านบุคคล จัดหาผู้มีความรู้ ความเขา้ ใจในการปฏบิ ตั งิ าน มที กั ษะความสามารถในการแกป้ ญั หาเฉพาะหนา้ และความสามารถในการปรบั เปลยี่ น กลยุทธ์ มีความเสียสละ อดทน มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิสูง มีความมุ่งม่ันเพื่อการบรรลุเป้าหมายขององค์กร รปู แบบการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา 19 ๓) กลไกทางเทคโนโลยี สำหรับการดำเนินงานในยุคดิจิทัล และ ๔) กลไกด้านการบริหารจัดการ ยึดหลักการ มีส่วนร่วม จัดสรรทรัพยากรอย่างท่ัวถึงตามความจำเป็น การให้อำนาจและกระจายอำนาจในการบริหารจัดการ การประชาสัมพันธ์และสร้างความเข้าใจอันดีกับผู้สนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา การควบคุมการปฏิบัติงาน ด้วยแผนงานหรือโครงการเพ่ือให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ โดยสถานศึกษาควรนำมาตรการไปใช้ในการ วางแผนการปฏบิ ัติให้ตอ่ เนือ่ งและสอดคล้องกบั บริบทของโรงเรียน นอกจากนี้ แนวทางการนำนโยบายภาษีอากรมาใช้ในการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษามี ๒ แนวทาง ดังน้ี ๑) รัฐใช้นโยบายภาษีอากรเพื่อหารายได้ (Revenue) สำหรับใช้จ่ายด้านการศึกษา โดยรัฐจัดเก็บภาษี อากรเพ่ือนำรายได้ดังกล่าวจัดสรรให้กับโครงการสถานศึกษา แสดงถึงความประสงค์ของรัฐบาลในการเป็น ผลู้ งทนุ เพ่ือการศกึ ษา ๒) รัฐใช้นโยบายภาษีอากรเป็นส่ิงจูงใจ (Incentives) ให้เกิดการระดมทรัพยากรหรือการลงทุนทาง ด้านการศึกษาจากภาคเอกชน เพ่ือเป็นการแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายด้านการจัดการศึกษาของรัฐ โดยรัฐจะใช้ นโยบายลดหรือยกเว้นภาษีอากรท่ีเกี่ยวข้องกับการศึกษา เช่น การยกเว้นภาษีเงินได้ให้กับสถานศึกษาหรือผู้มี เงินได้จากการประกอบกิจการด้านการศึกษา และการยกเว้นอากรนำเข้าสำหรับวัสดุอุปกรณ์ทางการศึกษา เป็นต้น แสดงถึงความประสงค์ของรัฐบาลในการสร้างแรงจูงใจให้เอกชนเข้ามามีส่วนร่วมลงทุนทางด้าน การศึกษา สรุป ทรัพยากรเพื่อการศึกษาในประเทศ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ได้แก่ ๑) ทรัพยากรเงิน และ ๒) ทรพั ยากรทีไ่ ม่ใชเ่ งนิ วิธีการระดมทรัพยากรท่ีเป็นตัวเงิน ได้แก่ การบริจาคช่วยเหลือนักเรียนที่ขาดแคลน การร่วมกันเป็น เจ้าภาพจัดต้ังกองทุนอาหารกลางวันของนักเรียน การร่วมพัฒนาอาคารสถานที่ในโรงเรียน การบังคับเรียกเก็บ เงนิ จากทกุ ครอบครวั การบรจิ าคเงนิ เปน็ รายเดอื นหรอื บรจิ าคอาหาร และเครอ่ื งอปุ โภค/บรโิ ภคอนื่ ๆ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง การเก็บค่าเล่าเรียนเพ่ิม และการเรียกเก็บภาษี การเรียกเก็บค่าบริการด้านสังคมจากผู้ใช้บริการ และเก็บเงิน คา่ เชา่ ทรพั ยส์ ิน และการใหส้ ิทธิในการลดหยอ่ นภาษีกรณีร่วมบริจาค สำหรับทรัพยากรท่ีไม่ใช่ตัวเงิน สถานศึกษามีวิธีการระดมทรัพยากรฯ ได้แก่ การระดมบุคคล วิทยากร ผู้รู้ ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้นำชุมชน เครือข่ายครูภูมิปัญญา ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชน และศิษย์เก่าเข้าร่วมเป็น วิทยากรเพือ่ ให้ความรู้ แนวคิด ทกั ษะ ประสบการณ์ที่จำเปน็ ต่อการดำเนินชีวิตในสังคม การให้ชุมชนมีส่วนรว่ ม ในการวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ินให้กับผู้เรียน การกำหนดแผนและกิจกรรมการเรียนรู้ ท่หี ลากหลาย และการขอรบั การสนับสนนุ ด้านวัสดุอปุ กรณ์ และเทคโนโลยจี ากผูป้ กครอง บุคคล ชมุ ชน องคก์ ร เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และเครอื ขา่ ยศิษยเ์ กา่ สำหรับความสำคัญในการมีส่วนร่วมทางการศึกษา พิณสุดา สิริธรังศรี (๒๕๕๗; ๒๕๕๙; ๒๕๖๐) ไดด้ ำเนนิ โครงการการจดั การศกึ ษาและการจดั การการเรยี นรแู้ บบมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน ตงั้ แตป่ ี พ.ศ.๒๕๕๔–๒๕๖๐ ในสถานศึกษาจำนวน ๖๕๙ โรงเรียนท่ัวประเทศ พบว่า การมีส่วนร่วมทางการศึกษาเป็นปัจจัยสำคัญในการ ระดมทรพั ยากรเพอ่ื การศกึ ษาทัง้ ทรพั ยากรเงนิ และทไี่ ม่ใชเ่ งนิ โดยการมีสว่ นรว่ มในดา้ นการเรียนรู้ ประกอบด้วย การกำหนดปัญหาและความต้องการการเรียนรู้ การจัดหลักสูตรและการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดว้ ยการปฏบิ ตั จิ รงิ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ มาตรฐานและการประกันคุณภาพ และการกำกับ ติดตาม และประเมินผล พบว่า ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการเสนอความต้องการ การเป็นครูภูมิปัญญา 20 รปู แบบการระดมทรพั ยากรเพื่อการศึกษา จัดการเรียนการสอนในสาระท่ีเกี่ยวกับท้องถ่ิน และการติดตามประเมินผลการเรียนรู้ผู้เรียนผ่านช่องทางต่างๆ สำหรับในด้านกายภาพ ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการ ๑) ร่วมระดมทุน ทรัพย์สิน วัสดุอุปกรณ์ ฯ และ ๒) สนบั สนนุ ทรพั ยากรเงนิ และทไี่ มใ่ ชเ่ งนิ เชน่ อาคารสถานท่ี วสั ดอุ ปุ กรณ์ เทคโนโลยี และการจดั การตา่ งๆ เปน็ ตน้ นอกจากน้ัน ยังพบว่า วิธีการระดมทรัพยากรด้วยหลักและกระบวนการมีส่วนร่วมทางการศึกษา ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ๘ ขั้นตอนคือ การร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมตัดสินใจ ร่วมดำเนินการ รว่ มรบั ผดิ ชอบ รว่ มแก้ปญั หา รว่ มติดตามประเมินผล และรว่ มชน่ื ชม ๒.๖ วิธีการระดมทรัพยากรเพ่อื การศึกษาในต่างประเทศ Fredriksen (2011) ศึกษาแนวทางการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาจากกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว ท่ีเป็นสมาชิกองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) เช่น ออสเตรเลีย ฟินแลนด์ แคนาดา ญ่ีป่นุ นิวซีแลนด์ องั กฤษ อเมริกา นอรเ์ วย์ สวเี ดน สวิสเซอร์แลนด์ เป็นตน้ พบวา่ การระดมทรัพยากร เพ่ือการศึกษาเป็นการให้ความช่วยเหลือแบบเป็นทางการ เช่น การแลกเปลี่ยนทรัพยากรเพื่อการศึกษา การจัดสรรทรัพยากรโดยให้เงินทุนการศึกษาทั้งทุนจากภายในและภายนอกประเทศ โดยนำกลยุทธ์ ๓ ขั้นตอน มาประยุกต์ใช้ เพ่ือใหเ้ กิดการพฒั นาอย่างรวดเร็วและมปี ระสทิ ธิภาพ ได้แก่ ๑) การเสริมสรา้ งขดี ความสามารถหรอื ศักยภาพในการเปน็ ผูน้ ำทางการศกึ ษาในระดับสากล โดยจัดทำ ฉนั ทามตินโยบายการศึกษา เพ่อื ปฏิรปู และสง่ เสริมการสนบั สนุนทรัพยากรฯ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ๒) การส่งเสริมสนับสนุนอาคารสถานที่หรือสถาปัตยกรรมทางการศึกษาเพ่ือรองรับการศึกษาในระดับ ภูมิภาคและสากล สนับสนุนการปฏิรูปการทำงานร่วมกันและขยายขีดความสามารถของเครือข่ายในการระดม ทรัพยากรเพื่อการศกึ ษา เนน้ การมสี ่วนร่วมท่ดี ีทางการศึกษา ๓) การให้ทุนหรืองบประมาณในพ้ืนที่ที่สำคัญและจำเป็นเร่งด่วนเป็นลำดับแรก โดยเพิ่มประสิทธิภาพ ของเงนิ ทุนการศกึ ษาทงั้ จากภายในและภายนอกประเทศ สำหรับกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา พบว่า ขีดความสามารถของประเทศส่งผลต่อความสำเร็จในการระดม ทรัพยากรเพ่ือการศึกษา โดยขีดความสามารถของประเทศ ได้แก่ การมีผู้นำทางการเมืองท่ีแข็งแกร่ง การท่ี ประเทศมีผู้บริจาค และหน่วยงานต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมระดมทรัพยากรฯ ท้ังน้ี การระดมทรัพยากร ด้านการศึกษาของประเทศเหล่าน้ี เป็นการระดม/ช่วยเหลือในภาพรวมมากกว่าการให้ความช่วยเหลือในพ้ืนท่ ี ท่สี ำคญั และจำเป็น สำหรับวิธีการในการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาแบ่งเป็น ๒ รูปแบบ (Syaumpi, 2012) คือ รูปแบบทางตรง และรูปแบบทางออ้ ม โดยรปู แบบทางตรง เชน่ การจัดกิจกรรมระดมทุนทางการศึกษา เปน็ ตน้ และรปู แบบทางอ้อม เชน่ การได้รับเงินบริจาคในรูปแบบของเงนิ ทุนการศึกษา และการบรจิ าคเงินใหก้ ับโรงเรียน ขององค์กรพัฒนาเอกชนหรือ NGO (เงินสด หนังสือและเครื่องเขียน วัสดุก่อสร้าง อาสาสมัคร/แรงงาน และ รองเท้าและชดุ ยนู ฟิ อร์ม) เป็นตน้ นอกจากนี้ World Bank (2005) ระบุแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรเพื่อการศึกษา โดยการกำหนดจำนวนผู้เรียนให้เหมาะสมกับจำนวนครู จัดทำมาตรฐานของห้องเรียนและรายวิชา จัดหา แหล่งเงินทุนเพ่ิม รวมถึงจำกัดและควบคุมค่าใช้จ่ายต่อหน่วยงาน สอดคล้องกับ Salmi (2011) ที่เน้น ประสทิ ธภิ าพของการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา การกระจายอำนาจใหท้ ุกภาคส่วนมีสว่ นรว่ ม เพื่อลดตน้ ทนุ และ ทรัพยากรท่ไี มจ่ ำเปน็ รวมถึงสนบั สนุนแหล่งทนุ จากภายนอกเพมิ่ เตมิ รูปแบบการระดมทรพั ยากรเพือ่ การศึกษา 21 อย่างไรก็ดี วิธีการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษาในต่างประเทศ โดยแบ่งกลุ่มประเทศออกเป็น ๑) ประเทศที่พัฒนาแล้ว เช่น อังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และเขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐ ประชาชนจีน (ฮอ่ งกง) เป็นตน้ และ ๒) ประเทศกำลังพัฒนา เช่น เวยี ดนาม และสาธารณรฐั โคลอมเบีย เป็นตน้ แตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะกลมุ่ ประเทศ โดยในกลมุ่ ประเทศทพ่ี ฒั นาแลว้ การระดมทรพั ยากรเปน็ การใหค้ วามชว่ ยเหลอื สนับสนุนอย่างเป็นทางการผ่านการจัดทำฉันทามตินโยบายการศึกษา มุ่งเน้นการปฏิรูปและการกระจาย ทรัพยากรให้มีความเท่าเทียมกันในทุกพ้ืนที่ ในขณะที่การระดมทรัพยากรในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา เป็น การระดม/ช่วยเหลือ/สนับสนุนทรัพยากรโดยภาพรวม มากกว่าการให้ความสำคัญกับเขตพ้ืนที่ด้อยโอกาส ดงั รายละเอยี ดต่อไปน้ ี ๒.๖.๑ วิธกี ารระดมทรัพยากรท่ีเปน็ ตวั เงิน ๑) ประเทศพัฒนาแลว้ ประเทศนิวซีแลนด์ รัฐบาลจัดเงินทุนให้กับการศึกษาร้อยละ ๒๒ ของรายจ่ายสาธารณะ คิดเป็นร้อยละ ๕ ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ เงินทุนส่วนใหญ่เป็นการลงทุนในระดับประถมศึกษา คิดเป็นร้อยละ ๑๑.๓ ท้ังนี้ เงินที่ใช้ในการลงทุนระดับประถมศึกษาจนถึงอุดมศึกษาส่วนใหญ่ (ร้อยละ ๘๓) มาจากแหล่งทุนของรฐั (OECD, 2016) ค่าใช้จ่ายตอ่ หวั ผู้เรียนในระดบั อุดมศึกษาสงู กว่าระดบั ประถมศึกษาและ มัธยมศึกษา (เนือ่ งจากมกี ารรวมคา่ ใชจ้ ่ายการวิจัยและการพฒั นาไว้ในระดับอดุ มศึกษา) (OECD, 2016) เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (ฮ่องกง) รัฐบาลจัดสรรงบรายจ่าย ใหก้ บั การศกึ ษาในปี พ.ศ. ๒๕๕๙-๖๐ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๗ ของรายจา่ ยรฐั บาล โดยขยายการศกึ ษาแบบไมเ่ รยี กเกบ็ คา่ ใช้จา่ ยในโรงเรยี นรัฐบาลจาก ๙ ปี เป็น ๑๒ ปี สำหรบั รปู แบบโรงเรยี นทอ้ งถ่ิน แบ่งออกเป็น ๓ รปู แบบ ได้แก่ ๑) โรงเรียนรัฐบาล บริหารงานโดยรัฐบาล ๒) โรงเรียนที่ได้รับความช่วยเหลือ ได้รับเงินสมทบจากรัฐบาลเป็น จำนวนเต็ม บริหารงานโดยหน่วยงานอื่น และ ๓) โรงเรียนเอกชน บางสว่ นไดร้ ับเงนิ ช่วยเหลอื จากรัฐบาล ทั้งนี้ โรงเรียนรัฐและโรงเรียนท่ีได้รับความช่วยเหลือจากรัฐต้องจัดทำหลักสูตรตามคำแนะนำของรัฐบาล โดยโรงเรียน เหล่าน้ีจัดการศึกษาแบบไม่เรียกเก็บค่าใช้จ่ายในระดับประถมและมัธยมศึกษา (Education Bureau, 2016, น. ๑-๒) ๒) ประเทศกำลงั พัฒนา รัฐบาลประเทศเวียดนามให้ความสำคัญในการลงทุนทางการศึกษา โดยกระตุ้นให้องค์กร ภาครัฐและเอกชน ชาวเวียดนามที่อาศัยอยู่ในต่างประเทศ องค์กรต่างประเทศและบุคคลมาร่วมลงทุน ทางการศึกษา ป้องกันสิทธิและส่วนได้ส่วนเสียตามกฎหมายของประชาชน ท้ังนี้ ทรัพยากรทั้งหมดในการลงทุน ด้านการศึกษามาจากงบประมาณของรัฐบาล โดยผู้ปกครองมีส่วนสนับสนุนการศึกษา ๒ รูปแบบ ได้แก่ ๑) ภาคบังคับ กฎหมายบังคับให้ครอบครัวมีส่วนสนับสนุนทรัพยากรการศึกษาโดยการจ่ายค่าธรรมเนียม การศึกษา คา่ ธรรมเนยี มการสอบ รวมถึงมสี ว่ นสนับสนุนโครงการต่างๆ ที่เก่ียวกับการศกึ ษา โดยการมสี ว่ นร่วม ในภาคบังคับน้ี ถือเป็นรายได้ของรัฐท่ีรวบรวมและเก็บโดยสถานศึกษาเพื่อใช้ในกิจกรรมสถานศึกษา และ ๒) ตามความสมัครใจ ท้ังนี้ รัฐจัดสรรงบประมาณให้กับการศึกษาระดับประถมศึกษามากท่ีสุด (The World Bank, 2005, น. ๓๔; Ministry of Education and Training, 2014, น. ๑๐; Education Global Practice East Asia Pacific Region, 2016, น. ๕๔-๕๕) 22 รูปแบบการระดมทรัพยากรเพอื่ การศึกษา สาธารณรัฐโคลอมเบียมีการปฏิรูประบบการจัดสรรทรัพยากรเพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพ ในการจัดการทุนการศึกษา และการจัดการศึกษาท่ีเหมาะสมต่อความต้องการของหน่วยงานระดับภูมิภาค (THE NATIONAL ASSEMBLY, 2005; OECD, 2016, น. ๔๖; Cortes, 2010 ใน OECD, 2016, น. ๔๒)] ๒.๖.๒ วิธีการระดมทรัพยากรท่ีไม่ใชต่ ัวเงนิ วิธกี ารระดมทรัพยากรทไ่ี ม่ใชต่ ัวเงิน ได้แก ่ ๑) บุคคล/ภูมิปัญญา/องค์ความรู้ทางวิชาการ ประเทศต่างๆ มีการระดมทรัพยากรบุคคล/ ภมู ิปญั ญา/องคค์ วามรูท้ างวิชาการ ดังน้ี ประเทศออสเตรเลียจัดให้มีหน่วยงานการศึกษากลางสนับสนุนองค์กรครอบครัวโดยการฝึก อบรมและใหแ้ นวทางกับคณะกรรมการโรงเรยี น (Fakharzadeh, 2016 as cited in OECD, 2017, น. ๒๐๕) การมสี ว่ นรว่ มของครู กรมการศึกษาและฝึกอบรม ครอบครัวและภมู ปิ ญั ญาในชมุ ชน ประเทศนิวซแี ลนด์ มงุ่ เนน้ การผลติ ครูและให้ความสำคัญกับการจัดการศึกษาระดบั ปฐมวัย โดยมีสภาการศึกษา Aotearoa New Zealand (The Education Council of Aotearoa, New Zealand) มีหน้าที่ยกฐานะของวิชาชพี ครู สร้างความเข้าใจในบทบาทการสอนทีม่ ีคุณภาพ สรา้ งภาวะผู้นำ สนบั สนุนระบบ การเปลี่ยนแปลงเพ่ือเพ่ิมคุณภาพการสอนและผู้นำการศึกษา และเพิ่มผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน (Ministry of Education, 2014, น.๓๘) ทำงานร่วมกับวิทยาลัยและคณะการศึกษามหาวิทยาลัยต่างๆ เพื่อจัดทำ แนวการศกึ ษาสำหรบั ครู (Ministry of Education, 2014, น. ๔๑) ประเทศเวียดนามให้ความสำคัญกับการผลิตครูโดยรัฐบาลสนับสนุนค่าใช้จ่ายเพ่ือกระตุ้น ให้มีผู้สนใจเข้าเรียนครู การจัดต้ังสถาบันการศึกษาท่ีจัดทำข้ึนจากทุนต่างชาติเต็มร้อย การจัดต้ังสถาบัน ความร่วมมือระหว่างนานาชาติกับหน่วยงานของเวียดนามในการฝึกอบรมก่อนระดับอุดมศึกษา อาชีวศึกษา การศึกษาทางไกล และการฝึกอบรมระยะส้ัน รวมถึงการจัดต้ังสถาบันการศึกษาต่างชาติในประเทศเวียดนาม เพอ่ื ให้การฝกึ อบรมทรัพยากรมนษุ ยท์ ีส่ อดคลอ้ งตอ่ ความต้องการของตลาดแรงงานในอนาคต ๒) ความรู้ ประเทศตา่ งๆ มีการระดมทรัพยากรความรู้ ดงั น้ี ประเทศออสเตรเลีย กรมวิชาการการศึกษาและการพัฒนาเด็กในออสเตรเลียใต ้ (The Department for Education and Child Development in SA) มีหน้าท่ีจัดทำคู่มือการกำกับดูแล และคู่มือการเงินโรงเรียน รวมถึงการทำงานร่วมกับหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เช่น ศูนย์สำหรับสุขภาพเด็กในชุมชน และสถาบนั การวิจยั เด็ก Murdoch เป็นต้น ในการพัฒนาความรใู้ หก้ ับครู ครอบครัว และชมุ ชน ประเทศเวยี ดนาม ปฏริ ปู การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาดา้ นวิชาการ นวตั กรรม รวมถงึ วัสดุ ครภุ ณั ฑ์ นอกจากน้ี ไดจ้ ัดทำโมเดล โครงการ จดั ตง้ั ศูนย์ฝกึ อบรม จัดทำโครงการฝึกอบรมร่วมระหวา่ งสถาบนั ในประเทศ เวียดนามกับองค์กรต่างๆ เช่น การจัดตั้งสถาบันการศึกษาที่จัดทำโดยทุนต่างชาติเต็มร้อย และเครือข่ายศูนย ์ การศึกษาต่อเน่ืองและศูนย์การเรียนรู้ชุมชนโดยใช้ทุนจากรัฐบาลท้องถิ่น เป็นต้น ส่งผลให้สถาบันการศึกษา เวียดนามสามารถเข้าถึงวิธีการฝึกอบรมจากประเทศพัฒนา เพื่อนำมาปรับใช้ในเนื้อหา หลักสูตรและวิธีการสอน ท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานนานาประเทศ ทั้งน้ี ความร่วมมือดังกล่าว เป็นการจัดทำสัญญาพหุภาคีทางการศึกษา ระหว่างกระทรวงศึกษาธิการและการฝึกอบรม กับหน่วยงานหรือองค์กรต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ (The World Bank, 2005, p. 34; Ministry of Education and Training, 2014, น.๙) รูปแบบการระดมทรพั ยากรเพือ่ การศกึ ษา 23 สาธารณรัฐโคลอมเบียเน้นความสำคัญในการลงทุนและการนำทรัพยากรเพื่อการศึกษา มาใช้ในการเพ่ิมประสิทธิภาพบุคลากรการศึกษาและการศึกษาเด็กปฐมวัย ผ่านวิธีการ ดังน้ี ๑) การฝึกอบรม ระดับชาติ ๒) การจัดทำความร่วมมือกับมูลนิธิ Luker และภาคส่วนอ่ืนๆ ๓) การจัดกลุ่มสถานศึกษาโดยมี ผู้อำนวยการสถานศึกษาเป็นผู้จัดการกลุ่ม เพ่ือแก้ปัญหาการเงินของสถานศึกษา (MEN, 2015 ใน OECD, 2016, น. ๙๙; MEN, 2015b ใน OECD, 2016, น. ๑๔๓; OECD, 2016, น. ๑๗๙) เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน มีหน่วยงาน “สำนักการศึกษา” ทำหน้าท่ีจัดทำโครงการพัฒนาหลักสูตรท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา STEM และการผลิตทรัพยากรเพื่อ การจัดการเรยี นการสอน วัสดคุ รภุ ัณฑ์สำหรับโรงเรียน (Education Bureau, 2016) ประเทศนิวซีแลนด์ จัดทำมาตรฐานแห่งชาตินิวซีแลนด์และใบรับรองผลสัมฤทธิ์ทาง การศึกษาแห่งชาติ (The National Certificates of Educational Achievement, NCEAs) เพ่ือกำหนด รายละเอียดการเรียนรู้และปฏิบัติ (การอ่าน เขียน และการคำนวณในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ของผู้เรียน เป็นเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนให้สถานศึกษา ครูและผู้ปกครองเข้าใจระดับความคาดหวังในแต่ละระดับชั้น การศึกษา พฒั นาการเรยี นการสอนให้ไดผ้ ลลพั ธต์ ามทก่ี ำหนดไว้ในมาตรฐานแห่งชาติ (Ministry of Education, 2014, น. ๒๑) ๓) เทคโนโลยี/นวัตกรรม ประเทศต่างๆ มีการระดมทรัพยากรเทคโนโลยี/นวัตกรรม เช่น การจัดต้ังหน่วยงานนวัตกรรม (Innovation Unit) ในประเทศอังกฤษ ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ เพ่ือระดม นวตั กรรม (Pearlman, B., ๒๐๑๖) นำวธิ ีการวจิ ัยมาใชใ้ นการพฒั นาแก้ปญั หาของสถานศึกษา เป็นการทำงาน ร่วมกันระหว่างพันธมิตรและสถานศึกษา ส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงอย่างเป็นรูปธรรมและวัดผลได้ โดยนำ การเรียนรู้จากโครงการเป็นฐาน (Project-based Learning, PBL) และการออกแบบโรงเรียนใหม่มาประยกุ ต์ใช้ สำหรบั ประเทศออสเตรเลยี ระดมเทคโนโลย/ี นวตั กรรมจากหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง เชน่ กรมอตุ สาหกรรมนวตั กรรม และวิทยาศาสตร์ (Department of Industry, Innovation and Science) มลู นิธิ Re-Engineering Australia และกรมกลาโหม เป็นต้น มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนและให้รางวัลกับครูและผู้เรียนในด้านเทคโนโลยี/ นวัตกรรม เป็นตน้ ๔) สื่อการเรียนการสอน ประเทศต่างๆ มีการระดมทรัพยากรส่ือการเรียนการสอน เช่น ประเทศอังกฤษมีการระดมทรัพยากรส่ือการเรียนการสอนโดย ๑) จัดให้มีการสนับสนุนการพัฒนาอาชีพและ การฝึกอบรมของครู (Planning and Resources Review Group, 2016, น. ๗-๙) และ ๒) สมาคมผู้ผลติ ส่ือได้ พัฒนาและผลิตคุณภาพส่ือการเรียนการสอนในราคาท่ีสมเหตุสมผล แก้ปัญหาต้นทุนและคุณภาพของสื่อ การเรียนการสอน (Planning and Resources Review Group, 2016, น. ๙) สำหรับประเทศออสเตรเลีย มีการระดมทรัพยากรสื่อการเรียนการสอนโดยผู้อำนวยการสถานศึกษาทำงานร่วมกับผู้นำและครูโรงเรียนอ่ืน รวมถึงหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เช่น สภากำกับดูแลและครอบครัว ผู้จัดการทรัพยากรสารสนเทศหรือผู้ดูแลระบบ ดิจิตอล บรรณารักษ์ ผู้จัดการทรัพยากร ผู้นำและบุคลากรการศึกษา เป็นต้น เพื่อบริหารจัดการทรัพยากร สื่อการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิคส์หรือดิจิทัล โดยการนำเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการทรัพยากร เนื้อหาการจัดเรียนการสอนบรรจุลงในเว็บไซต์ (Department for Education and Child Development, ๒๐๑๗, น. ๑๒) เปน็ ตน้ 24 รปู แบบการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ๕) วสั ดอุ ปุ กรณ์ ประเทศต่างๆ มีการระดมทรพั ยากรวสั ดอุ ปุ กรณ์ เชน่ ประเทศอังกฤษจัดให้ มกี องทนุ อยา่ งยตุ ธิ รรม (Fair Funding Arrangements) กำหนดให้โรงเรียนมีอิสระในการจัดซ้อื วัสดุอุปกรณจ์ าก โรงงานหรือผู้จัดจำหน่าย โดยมีหน่วยงานการศึกษาท้องถ่ินเป็นผู้ให้ความช่วยเหลือในการเลือกซ้ือวัสดุอุปกรณ์ (Department for Education and Employment, 2000, น. ๙๔) ขณะที่ประเทศออสเตรเลียจัดให้มี ผู้เช่ียวชาญด้านเทคนิคให้คำแนะนำกับโรงเรียนในด้านวัสดุอุปกรณ์ จัดให้มีสมาคมครอบครัวและพลเมือง (Parents and Citizens (P&C) Association) ระดมทุนจากครอบครัวเพื่อเป็นทุนอาคารก่อสร้าง โดยรัฐบาล ออสเตรเลียอนุมตั กิ ารลดหย่อนภาษใี หก้ ับการบริจาคเงนิ ให้กับทุนดังกลา่ ว (Chatswood High School, 2018) เป็นตน้ ๖) เครื่องแต่งกาย ประเทศต่างๆ มีการระดมทรัพยากรเครื่องแต่งกาย เช่น ประเทศอังกฤษ ไมม่ กี ฎหมายเกย่ี วกบั เครอื่ งแตง่ กายของผเู้ รยี น อยา่ งไรกด็ ี กรมวชิ าการการศกึ ษาไดจ้ ดั ทำนโยบายเครอ่ื งแตง่ กาย สำหรับผู้กำกับดูแลโรงเรียน เพ่ือใช้ในการตัดสินใจจัดทำนโยบายการแต่งกายของโรงเรียน โดยมีการผลักดันให้ โรงเรียนจัดทำรูปแบบเครื่องแต่งกายเพื่อเป็นวัฒนธรรมโรงเรียนตามความเหมาะสม และได้จัดการประชุม เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารโดยเชญิ ผปู้ กครอง ผ้เู รยี น และบุคลากรการศึกษาเข้ารว่ มเพือ่ ขอคำแนะนำในการจัดทำชุดนกั เรยี น ในราคาที่เหมาะสม สะดวกต่อการนำไปปฏิบัติ ขณะท่ีประเทศออสเตรเลีย ครู บุคลากรการศึกษา ครอบครัว และชุมชน รวมถึงสมาคมครอบครัวและพลเมืองร่วมกันจัดหาแนวทางการจัดทำชุดนักเรียนให้สอดคล้องกับ กฎหมายสุขภาพและความปลอดภัย และความเท่าเทียมกันในสังคม (Department for Education, 2013; NSW Department of Education, 2018; (Queensland Government, 2018; Victoria State Government, 2018; Chatswood High School, 2018) เป็นตน้ ๗) ครภุ ณั ฑ์ ประเทศตา่ งๆ มีการระดมทรพั ยากรครภุ ณั ฑ์ เชน่ ประเทศอังกฤษ จัดให้มีสมาคม (การรวมตัวของหน่วยงานท้องถ่ินหลายๆ หน่วยงานท่ีจัดตั้งอยู่ในบริเวณใกล้เคียงประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญ การจัดซ้ือ) เพื่อรวมอำนาจการต่อรองราคาครุภัณฑ์สถานศึกษา ขณะที่ประเทศออสเตรเลีย จัดให้มีสมาคม ครอบครัวและพลเมืองระดมทุนจากครอบครัว ทำงานร่วมกันกับชุมชมในการจัดหาครุภัณฑ์และเงินทุนสำหรับ ครภุ ัณฑโ์ รงเรยี น และสำนกั งานภาษีออสเตรเลีย (Australian Taxation Office, ATO) รว่ มสนบั สนนุ ครุภณั ฑ์ สถานศึกษาโดยการจัดให้มีการลดหย่อนภาษีสำหรับผู้บริจาคเงินสำหรับครุภัณฑ์สถานศึกษา สำหรับประเทศ นิวซีแลนด์รัฐบาลให้การสนับสนุนครูและสถานศึกษาโดยจัดส่งตัวอย่างครุภัณฑ์ในกิจกรรม Best Practice ให้กับสถานศึกษา รวมถงึ จัดทำครุภณั ฑ์/เครื่องมอื ประเมนิ ทีเ่ ชอื่ มโยงกบั หลกั สตู รชาติ ทง้ั นี้ ครแู ละผู้เรยี นตอ้ งนำ เครอื่ งมอื เหลา่ นไ้ี ปปรบั ใชเ้ พอื่ พฒั นาผเู้ รยี นและจดั ทำรายงานผลการดำเนนิ งานใหก้ บั รฐั บาลตอ่ ไป (Chatswood High School, 2018; Department of Education and Employment, 2000, น. ๓๘-๓๙; (Ministry of Education , 2014, น.๒๑) เป็นตน้ ๘) สิ่งกอ่ สร้าง/อาคารสถานที่ ประเทศต่างๆ มีการระดมทรัพยากรสง่ิ ก่อสรา้ ง/อาคารสถานที่ เช่น ประเทศอังกฤษบัญญตั กิ ฎหมายเกยี่ วกบั การมสี ่วนรว่ มในการระดมทรพั ยากร เพ่อื การศกึ ษา เช่น พระราช- บญั ญัตกิ ารศึกษา ค.ศ.๒๐๐๒ กฎระเบยี บตกึ (The Building Regulation, 2010) และพระราชบัญญัตอิ าคาร สถานท่ี ค.ศ. ๑๙๘๔ เป็นตน้ เพือ่ ระบุวตั ถุประสงค์การจัดทำอาคารสถานท่ี การก่อสร้างอาคาร การเปล่ียนวัสดุ และการจัดจ้างผู้รับเหมา ในขณะที่ประเทศออสเตรเลีย จัดให้มีสมาคมครอบครัวและพลเมืองทำงานร่วมกับ ชมุ ชนในการระดมทุนจากครอบครัว เพ่ือเป็นทุนอาคารก่อสร้าง โรงเรียน จดั ใหม้ ีหนว่ ยงานอาคารโรงเรยี นในรฐั วคิ ตอเรีย (Victorian School Building Authority) เปน็ หน่วยงานในกรมวชิ าการการศกึ ษาและฝึกอบรมของ รูปแบบการระดมทรพั ยากรเพ่อื การศกึ ษา 25 รัฐบาล มีหน้าที่กำกับการออกแบบและก่อสร้างโรงเรียนใหม่ รวมถึงปรับปรุงอาคารให้ทันสมัย (Department for Education, 2015, น. ๔; The Building Regulations 2010, 2010; Victorian School Building Authority, 2018; Queensland Government, 2018; P&C QLD, 2017, น. ๕; Chatswood High School, 2018) เปน็ ต้น สรปุ การระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา หมายถึงการดำเนินงานให้ได้มาซ่ึงทรัพยากรทั้งในระดับนโยบาย และระดับสถานศึกษาเพื่อสนับสนุนการศึกษา ท้ังท่ีเป็นทรัพยากรเงินหรืองบประมาณ และทรัพยากรท่ีไม่ใช่เงิน เช่น บุคคล/ภูมิปัญญา องค์ความรู้ทางวิชาการ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ส่ือการเรียน (เช่น หนังสือและ เคร่ืองเขยี น อปุ กรณก์ ารเรยี นต่างๆ) เครือ่ งแตง่ กาย วสั ดุ ครุภัณฑแ์ ละสงิ่ กอ่ สร้าง เป็นตน้ ประเทศไทยมีการดำเนินงานระดมทรัพยากรในระดับประเทศ โดยบัญญัติพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ เพ่อื กำหนดแนวทางการระดมทรพั ยากรเพื่อการศึกษาจากภาครัฐ เอกชน องคก์ รปกครอง ส่วนท้องถ่ิน ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบัน สังคม โดยนำหลักการการมีส่วนร่วมทางการศึกษา และหลักการระดมทรัพยากรมาใช้ให้เกิดประโยชน ์ มาประยุกต์ใช้ ส่งผลให้เกิดการระดมทรพั ยาการเพื่อการศกึ ษาในระดับสถานศกึ ษาด้วยวธิ ีการท่ีหลากหลาย ขณะท่ีการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาในต่างประเทศ มีความแตกต่างกันตามบริบทของประเทศ โดยกลุ่มประเทศที่มีสภาพเศรษฐกิจและสังคมด้อยกว่าประเทศไทย จัดทำแนวทางการระดมทรัพยากรเพ่ือ การศึกษา และระบุหน้าท่ีและความรับผิดชอบของบุคคลไว้ในกฎหมายประเทศอย่างชัดเจน โดยเฉพาะ การระดมทรัพยากรฯ จากนานาประเทศในรูปแบบการให้ความช่วยเหลือ สำหรับประเทศที่มีบริบทใกล้เคียง ประเทศไทย ระดมทรัพยากรทั้งสองรูปแบบ (ทรัพยากรเงินและทรัพยากรท่ีไม่ใช่เงิน) เป็นการระดม/ ช่วยเหลือ/สนับสนุนทรัพยากรโดยภาพรวม มากกว่าการให้ความสำคัญกับเขตพ้ืนที่ด้อยโอกาส และในประเทศ ท่ีพัฒนาแล้ว แบ่งการระดมทรัพยากรออกเป็นระดับ ในระดับรัฐบาล เป็นการให้ความช่วยเหลือสนับสนุนอย่าง เป็นทางการผ่านการจัดทำฉันทามตินโยบายการศึกษา มุ่งเน้นการปฏิรูปและการกระจายทรัพยากรให้มีความ เท่าเทียมกันในทุกพื้นท่ี สำหรับการระดมทรัพยากรในระดับสถานศึกษา เป็นการให้การสนับสนุนทางด้าน วิชาการ การพัฒนาบุคลากรและความร่วมมือทางวิชาการจากองค์กรวิชาชีพ บุคคลและองค์กรที่สนับสนุน ทรัพยากร สำหรับวิธีการ กลยุทธ์ และปัจจัยท่ีส่งผลต่อความสำเร็จของการระดมทรัพยากร ผู้วิจัยเห็นควรให้ม ี การศึกษาเชิงลกึ เพ่อื นำไปสกู่ ารสร้างรูปแบบการระดมทรพั ยากรเพ่อื การศึกษาตอ่ ไป 26 รูปแบบการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา บทที่ ๓ วธิ กี ารวิจัย การวิจัยน้ี ใช้วิธีการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) โดยการศึกษาเอกสารทั้งในและ ต่างประเทศ และการศึกษาภาคสนามด้วยการสัมภาษณ์ สนทนากลุ่ม และการสำรวจข้อมูลในสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานท่ีทำการศึกษา สังกัดของรัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อตอบวัตถุประสงค์ของ การวิจัย ๓ ประการคือ ๑) เพื่อศึกษาสภาพ ปัญหา และปัจจัยท่ีส่งผลต่อการระดมทรัพยากร เพ่ือการศึกษา ของประเทศไทยและต่างประเทศ ๒) เพ่ือพัฒนารูปแบบ/แนวทางในการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา จากประสบการณ์ของต่างประเทศและสถานศึกษาในประเทศไทยที่ประสบความสำเร็จในการระดมทรัพยากร เพื่อการศึกษา และ ๓) เพื่อจัดทำข้อเสนอแนวทางการส่งเสริมการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาในระดับ นโยบายและระดบั สถานศกึ ษา โดยมวี ิธีการโดยภาพรวมดงั นี้ ๓.๑ ประชากร และตัวอยา่ ง ๓.๑.๑ ประชากร ได้แก่ สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานสังกัดรัฐ เอกชน และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ิน ตัวอย่างได้แก่ สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานที่ได้มาโดยการเจาะจง ทั้งที่เป็นโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ และใหญ่พิเศษ ได้แก่ โรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จำแนกเป็น ระดับ ประถมศึกษา จำนวน ๓ โรง ระดับมัธยมศึกษา ท้ังมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย จำนวน ๔ โรง สังกัด สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ จำนวน ๑ โรง โรงเรียนเอกชน จำนวน ๓ โรง และสังกัดองค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่นิ ได้แก่ องคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัด ๑ โรง ท้งั ในเขตเมอื งและชนบท ตามเกณฑท์ ่กี ำหนด ดงั นี้ ๑) เป็นโรงเรียนระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สังกัดรัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามสัดสว่ นท่ีเหมาะสม ๒) ครอบคลุมโรงเรียนชั้นประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ท้ังขนาดเล็ก กลาง และใหญ ่ ท่กี ระจายตามภูมิภาค ทัง้ นี ้ ในการวจิ ยั นี้ ไดก้ ำหนดขนาดของโรงเรยี นตามการกำหนดขนาดของสำนกั งานคณะกรรมการ การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน (๒๕๖๐) ดังน้ี โรงเรียนระดบั ประถมศกึ ษา หมายถงึ โรงเรยี นทีเ่ ปดิ สอนตัง้ แต่ชน้ั อนุบาล ถึงประถมศกึ ษา หรือมัธยมศึกษาตอนตน้ สังกดั สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา กลา่ วคอื โรงเรียนขนาดเล็ก หมายถึง โรงเรียนทีม่ ีจำนวนนกั เรยี น ต่ำกว่า ๑๒๐ คน โรงเรยี นขนาดกลาง หมายถงึ โรงเรยี นทม่ี ีนกั เรียน ระหว่าง ๑๒๑ – ๖๐๐ คน โรงเรยี นขนาดใหญ่ หมายถึง โรงเรยี นที่มีนกั เรียน ระหวา่ ง ๖๐๑ – ๑,๕๐๐ คน รูปแบบการระดมทรพั ยากรเพือ่ การศกึ ษา 27 โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา หมายถงึ โรงเรียนท่ีเปดิ สอนต้ังแตช่ นั้ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น และ หรอื มัธยมศกึ ษาตอนตน้ และตอนปลาย กล่าวคอื โรงเรียนขนาดเลก็ หมายถึง โรงเรียนท่ีมจี ำนวนนกั เรียน ตำ่ กว่า ๕๐๐ คน โรงเรยี นขนาดกลาง หมายถงึ โรงเรยี นทม่ี ีนักเรียน ระหวา่ ง ๕๐๑ – ๑,๔๙๙ คน โรงเรยี นขนาดใหญ่ หมายถงึ โรงเรยี นท่มี นี ักเรยี น ระหว่าง ๑,๕๐๐ – ๒,๔๙๙ คน โรงเรยี นขนาดใหญ่พเิ ศษ หมายถงึ โรงเรยี นท่มี นี กั เรียน ตงั้ แต่ ๒๕๐๐ คน ขนึ้ ไป ๓) ต้ังอยู่ในพื้นที่ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออก เฉยี งเหนือ และภาคใต้ ทัง้ ในเมือง และนอกเมอื งหรอื ชนบท ๔) มีการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา เน้นการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม และมีผลงาน เปน็ ทปี่ ระจกั ษ์ เชน่ การไดร้ บั รางวลั การบรหิ ารจดั การ การเขา้ รว่ มโครงการทางวชิ าการระดบั ชาติ หรอื ระดบั ภาค ๕) ไดร้ บั ความเห็นชอบจากสำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษาให้ทำการศกึ ษาได ้ ผลการพิจารณา ปรากฏตารางตัวอยา่ ง (โรงเรยี น) ในการวิจัย ดังน้ี ตารางท่ี ๓.๑ ตารางตัวอยา่ ง (โรงเรยี น) ในการวิจัย ภาค/จังหวดั โรงเรียน ขนาด จำนวน สงั กัด นักเรียน กลาง เจรญิ ศลิ ป์ศึกษา กลาง ๕๖๔ สช สมทุ รสาคร วดั บอ่ กรุ “คุรปุ ระชาสรรค”์ กลาง ๒๙๑ สพป. สพุ รรณบุร ี ครุ ปุ ระชาสรรค ์ ใหญ ่ ๑,๕๔๔ สพม.เขต ๕ ชัยนาท เหนือ ตาคลปี ระชาสรรค ์ ใหญ่ ๒,๖๖๐ สพม เขต ๕ นครสวรรค ์ วดั วิเวกวนาราม เลก็ ๑๘๔ สนง. พุทธฯ เชยี งใหม ่ ปริน้ ส์รอยแยลสว์ ทิ ยาลัย ใหญพ่ เิ ศษ ๖,๕๘๓ เชยี งใหม ่ สช. ตะวันออกเฉยี งเหนือ บรบือ ใหญ่ ๑.๘๗๖ สพม. เขต ๒๖ มหาสารคาม เกิ้งวทิ ยานุกูล เลก็ ๑๒๒ อบจ. มหาสารคาม วัดสระทอง กลาง ๓๑๑ สช. รอ้ ยเอด็ บา้ นโนนจิก เลก็ ๙๔ สพป. เขต ๔ ศรสี ะเกษ ภาคใต ้ วัดเขา (วนั ครู ๒๕๐๑) กลาง ๘๒๒ สพป.๔ นครศรีธรรมราช สวนพระยาวทิ ยา ใหญ่ ๑,๓๔๑ สพม.๑๕ นราธวิ าส 28 รูปแบบการระดมทรพั ยากรเพื่อการศกึ ษา ๓.๑.๒ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ประธานกรรมการสถานศึกษา ๑ คน ผู้บริหารสถานศึกษา ๑ คน ผแู้ ทนครู ๒ คน ผู้แทนผู้ปกครอง (ในคณะกรรมการสถานศึกษา) ๑ คน ผ้แู ทนสมาคม/มูลนิธ/ิ ชมรม ๒ คน และ ผแู้ ทนหน่วยงาน/องคก์ รท่สี นับสนนุ ทรพั ยากรเพื่อการศกึ ษาแกส่ ถานศกึ ษา ๒ คน รวม แห่งละ ๙ คน จำนวน ๑๒ แหง่ รวม ๑๐๘ คน ๓.๒ เครอ่ื งมือทใี่ ช้ในการวิจัย ไดแ้ ก่ แบบสนทนากลุ่ม แบบสัมภาษณ์ และแบบสำรวจข้อมูลการระดมทรัพยากรของโรงเรียน ท่ีมีประเด็น สาระตามวตั ถุประสงค์ และกรอบแนวคดิ การวิจัย ขัน้ ตอนการจัดสรา้ งเครือ่ งมือประกอบดว้ ย การศกึ ษาเอกสาร วัตถุประสงค์ของการวิจัย และกรอบแนวคิดการวิจัย แล้วจึงร่างประเด็นข้อคำถาม นำเสนอผู้ทรงคุณวุฒิด้าน การบริหารสถานศึกษาและการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษาท่ีสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษากำหนด พิจารณาเคร่ืองมือ จากนั้น นำผลการพิจารณาเครื่องมือของผู้ทรงคุณวุฒิมาปรับปรุงและเสนอสำนักงาน เลขาธิการศึกษาพิจารณาร่วมกัน ปรับแก้อีกคร้ัง แล้วจึงนำไปใช้เก็บข้อมูลภาคสนามในสถานศึกษา ที่เป็น ตัวอยา่ งในการวิจยั ทง้ั ๑๒ โรง ดังกลา่ วข้างตน้ ๓.๓ การรวบรวมขอ้ มูล โดยการ ๓.๓.๑ รวบรวมข้อมูลพื้นฐาน โดยการสังเคราะห์เอกสารทั้งในและต่างประเทศ การรวบรวมข้อมูล ภายในประเทศ นอกจากการศึกษาเอกสาร แล้วได้ดำเนินการศึกษาภาคสนามกรณีสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีเป็น ตัวอย่างในการวิจัย จำนวน ๑๒ แห่ง ตามรายชื่อสถานศึกษาข้างต้น ด้วยเคร่ืองมือการวิจัย โดยการสัมภาษณ์ สนทนากลุ่ม และการสำรวจข้อมูลของโรงเรียน ที่ได้จัดทำขึ้น ตาม ๓.๒ สำหรับการรวบรวมข้อมูลต่างประเทศ พิจารณาเฉพาะในทวีปเอเซีย ยุโรป และออสเตรเลีย เลอื กโดยวธิ ีเจาะจง จากข้อมูลประเทศทีพ่ ัฒนาแลว้ ได้แก่ ประเทศองั กฤษ และเครอื รฐั ออสเตรเลยี และประเทศกำลงั พฒั นา ไดแ้ ก่ สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว และสาธารณรัฐอินโดนีเซีย ๓.๓.๒ รวบรวมขอ้ มลู เพอื่ การสร้างและนำเสนอรปู แบบ ดำเนินการ ๓ ขน้ั ตอน คอื ๑) ข้นั การรา่ งรปู แบบ จากผลการศึกษาเอกสารและการศึกษาภาคสนาม ๒) ข้ันการตรวจสอบรูปแบบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ที่สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษากำหนด (ตามท่ีกล่าวมาแล้ว) โดยการสนทนากลุ่ม/สัมมนารับฟังความเห็น ประกอบด้วย ผู้แทนหน่วยงานการศึกษา ทเ่ี กยี่ วขอ้ งทง้ั ระดบั นโยบาย และปฏบิ ตั ิ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา นกั วชิ าการจากสถาบนั อดุ มศกึ ษา และผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ๓) ขั้นปรับปรุงและนำเสนอรูปแบบการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา จากผลการตรวจสอบ รูปแบบดังกล่าว โดยนำเสนอตามวัตถปุ ระสงคข์ องการวิจยั ที่มีสาระในกรอบแนวคดิ การวิจยั ที่ปรากฏในบทท่ี ๑ รปู แบบการระดมทรพั ยากรเพ่อื การศึกษา 29 ๓.๔ การวิเคราะหข์ ้อมูล โดยการวิเคราะห์เน้ือหาสาระ (Content Analysis) จากข้อมูลการศึกษาเอกสาร และการศึกษา ภาคสนาม ๓.๕ การนำเสนอผลการวิจัย เป็นเอกสารเชงิ พรรณนา (Descriptive Research) ประกอบภาพตามวตั ถปุ ระสงค์การวิจยั ผลการดำเนนิ การวจิ ัย ปรากฏในบทที่ ๔ ต่อไป 30 รูปแบบการระดมทรพั ยากรเพือ่ การศกึ ษา บทท่ี ๔ ผลการศกึ ษา ผลการวจิ ยั เรอื่ ง “รปู แบบการระดมทรพั ยากรเพอ่ื การศกึ ษา” ผวู้ จิ ยั ไดน้ ำเสนอผลการศกึ ษาทค่ี รอบคลมุ วัตถุประสงค์ของการวิจัย กล่าวคือ ๑) เพื่อศึกษาสภาพ ปัญหา และปัจจัยท่ีส่งผลต่อการระดมทรัพยากรเพ่ือ การศกึ ษาจากภาคสว่ นตา่ งๆ ๒) เพอื่ พฒั นารปู แบบ/แนวทางในการระดมทรพั ยากรเพอ่ื การศกึ ษา จากประสบการณ ์ ของต่างประเทศและสถานศึกษาในประเทศไทยที่ประสบความสำเร็จในการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา และ ๓) เพื่อจัดทำข้อเสนอแนวทางการส่งเสริมการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาในระดับนโยบายและระดับ สถานศึกษา โดยนำเสนอเชงิ บูรณาการวัตถปุ ระสงค์ ท่ี ๑ และ ๒ ไว้ในประเดน็ ตา่ งๆ ๔.๑ – ๔.๔ ดังน้ ี ๔.๑ ผลการศึกษารูปแบบการระดมทรพั ยากรเพอ่ื การศึกษาของต่างประเทศ ๔.๒ ผลการระดมทรัพยากรเพือ่ การศึกษาของประเทศไทย ๔.๓ ประเดน็ สำคญั ทส่ี มควรนำไปสร้างรปู แบบการระดมทรัพยากรเพอ่ื การศึกษา ๔.๔ รปู แบบการระดมทรพั ยากรเพอื่ การศึกษา ๔.๕ ข้อเสนอแนวทางการส่งเสริมการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาในระดับนโยบายและระดับ สถานศกึ ษา ดังปรากฏรายละเอยี ดต่อไปน ี้ ๔.๑ ผลการศกึ ษาสภาพปจั จบุ นั ปญั หา และปจั จยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ ความสำเรจ็ ของการระดมทรพั ยากร เพ่ือการศกึ ษาของต่างประเทศ จากการทบทวนวรรณกรรมในบทท่ี ๒ ท่ีผ่านมา ทำให้เห็นถึงวิธีการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา ที่มีท้ังความเหมือนและความแตกต่างกันตามบริบทของแต่ละประเทศ ในประเทศที่พัฒนาแล้ว ประเทศที่กำลัง พฒั นา รวมถงึ ประเทศทม่ี บี รบิ ทใกลเ้ คยี งกบั ประเทศไทย การวจิ ยั ครง้ั นย้ี งั ไดศ้ กึ ษาบทเรยี นดา้ นการระดมทรพั ยากร เพื่อการศึกษาของ ๔ ประเทศ ได้แก่ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ประเทศ องั กฤษ และเครอื รฐั ออสเตรเลยี ดังรายละเอียดแสดงตามลำดบั ดงั นี ้ ๔.๑.๑ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ๑) บรบิ ททัว่ ไป สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (Lao People’s Democratic Republic) เรยี กชือ่ ยอ่ ว่า สปป.ลาว เป็นประเทศท่อี ยูใ่ นวงล้อมของ ๕ ประเทศ คอื เวยี ดนาม กมั พูชา ไทย พมา่ และ จีน เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ประชากรท้ังหมดจำนวน ๖.๗๗ ล้านคน (๒๕๕๖) พื้นที่ประเทศท้ังหมด ๒๓๖,๘๐๐ ตารางกิโลเมตร ส่วนใหญ่เป็นภูเขาและท่ีราบสูง ภาษาราชการท่ีใช้ คือ ภาษาลาว เมืองหลวงคือ นครหลวงเวียงจันทน์ (Vientiane) รูปแบบการระดมทรัพยากรเพื่อการศกึ ษา 31 รูปแบบการปกครอง เป็นการปกครองแบบสังคมนิยม (Communist State) แบ่งเขต การปกครองเปน็ ๑๖ แขวง และ ๑ เขตปกครองพเิ ศษ (นครหลวงเวยี งจนั ทน)์ ระบบรฐั สภาเดยี่ วมปี ระธานาธบิ ด ี เป็นประมุขของรัฐ และนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาล ได้รับเอกราชจากฝร่ังเศส เมื่อวันที่ ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๙๒ สปป. ลาว มีการปกครองโดยระบบพรรค มีพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียวคือ พรรค ประชาชนปฏิวัติลาว (Lao People’s Revolutionary Party: LPRP) และมีสภาเดียวคือ สภาแห่งชาต ิ ทำหนา้ ทดี่ า้ นนติ บิ ญั ญตั แิ ละตลุ าการ ดแู ลอนมุ ตั งิ บประมาณ การออกและแกไ้ ขกฎหมาย ตา่ งๆ รวมทง้ั กำกบั ดแู ล การทำงานของรัฐบาล มีประธานประเทศซ่ึงเป็นหัวหน้าพรรค LPRP เป็นผู้นำประเทศ มีอำนาจในการกำหนด นโยบายและควบคุมการบริหารประเทศท้ังหมด และนายกรัฐมนตรี ทำหน้าที่หัวหน้าคณะรัฐบาล โดยท้ัง ๓ ตำแหนง่ มวี าระการดำรงตำแหน่งคร้งั ละ ๕ ปี แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ของ สปป. ลาว เปน็ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ โดยมีเป้าหมายที่จะมุ่งเน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศและ ขจัดความยากจนของประชาชน ซึ่งจัดทำข้นึ ทุก ๕ ปี เร่มิ ใช้แผนพัฒนาฉบับแรก ตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๕๒๔ เปน็ ตน้ มา นับตัง้ แต่ สปป.ลาว ได้รับเอกราช เมอื ปี พ.ศ. ๒๕๒๘ จนถึงปจั จบุ ัน สปป.ลาวไดเ้ ปลยี่ นไป ใช้ระบบการศึกษา แบบ ๑๑ ปี คือ ระบบ ๕:๓:๓ ตอ่ มา ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ลาวกไ็ ดป้ ฏริ ปู การศึกษา โดยเปล่ียน ระบบการศกึ ษาเป็นแบบ ๑๒ ปี คอื ระบบ ๕: ๔: ๓ ท้ังนี้เป้าหมายของการศึกษา สปป.ลาว คือ ทุกคนในปี ค.ศ. ๒๐๑๕ สามารถเข้าถึง การศกึ ษา และหลดุ พ้นจากประเทศด้อยพฒั นาภายในปี ๒๐๒๐ ๒) ระบบการศึกษา การศกึ ษาของ สปป.ลาวเปน็ การศกึ ษาระบบเดย่ี ว คอื การศกึ ษาแหง่ ชาติ มกี ารจดั การศกึ ษา โดย ๒ ภาคสว่ นคอื ภาครฐั และภาคเอกชน โดยการศกึ ษาภาครฐั เปน็ การศกึ ษาทข่ี น้ึ กบั รฐั บาลโดยรฐั บาลคมุ้ ครอง มีท้ังภาครัฐลงทุนโดยตรง และได้รับการช่วยเหลือจากต่างประเทศ เช่น ออสเตรเลีย ไทย เวียดนาม จีน ญี่ปุ่น และเกาหลี เป็นต้น สำหรับการศึกษาภาคเอกชนเป็นการศึกษาที่มีการลงทุนทั้งภายในและต่างประเทศ เป็นนติ บิ คุ คล และบุคคล สำหรบั วตั ถปุ ระสงคใ์ นการจดั การศกึ ษา แสดงไวใ้ นบทบญั ญตั ทิ ว่ั ไป (National Assembly, ๒๐๐๗) กล่าวไว้ว่า การศึกษาเป็นกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาบุคลากรการศึกษาแก่ประชาชนเป็นพลเมืองด ี มีจริยธรรมและปฏิวัติทัศนคติ มีความสามารถ ความรู้ มืออาชีพและทักษะในการมีส่วนร่วมในการปกป้องและ พัฒนาทำให้ประชาชนเอาชนะความยากจนการขยายตัวทางเศรษฐกิจและสังคมและความร่ำรวยการศึกษาเป็น กระบวนการเรียนรู้การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ สังคมและการวิจัยทางทฤษฎีการดำเนินการเพื่อ สร้างทรัพยากรมนุษย์ให้เต็มรูปแบบ การขยายตัวมีทัศนคติทางศีลธรรมและการปฏิวัติมีความสามารถ ความรู้ มืออาชีพและทักษะสุขภาพที่ดี มีอารยธรรม ศิลปะ วินัย จิตวิญญาณของชาติ รักชาติและรักประชาธิปไตย ประชาชนทจี่ ะใหบ้ รกิ าร ความตอ้ งการของการป้องกันและการพัฒนาแห่งชาต ิ 32 รูปแบบการระดมทรัพยากรเพือ่ การศึกษา ภายหลังเปลี่ยนการปกครองเมื่อปี ค.ศ. ๑๙๗๕ (พ.ศ. ๒๕๑๘) เป็นต้นมา สปป.ลาวได้ใช้ ระบบการศกึ ษาเปน็ แบบ ๑๑ ปี คอื ระบบ ๕: ๓: ๓ โดยแบง่ ออกเป็น ๒.๑) การศึกษาในระบบ ๒.๑.๑) สามญั ศกึ ษา ประกอบดว้ ย - ระดับเตรยี มอนุบาลและอนบุ าล ๓ ปี - ประถมศกึ ษา ๕ ปี ใช้เวลาในการศึกษา ๕ ปี เดก็ จะเริม่ เขา้ เรยี นเมือ่ อายุ ๖ ปี การศึกษาในระดับนี้คือเป็นการศึกษาภาคบังคับ เด็กทุกคนต้องจบการศึกษาในระดับน้ี แต่ในทางปฏิบัติ การศึกษาภาคบังคับจะมีผลดีแต่เฉพาะเด็กในเมืองใหญ่เท่าน้ัน เนื่องจาก สปป.ลาวมีพ้ืนท่ีประเทศกว้างขวาง และประชากรกระจายตามพ้ืนที่ ท้ังภเู ขา และพนื้ ทีร่ าบ - ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ๓ ปีใชเ้ วลาในการศกึ ษา ๓ ปี และในอนาคต จะใหเ้ ด็กได้เรียนภาษาองั กฤษเพม่ิ มากขน้ึ ๒.๑.๒) อาชีวศึกษา เป็นการเรียนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพและช่างเทคนิค และระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชัน้ สูง ใชเ้ วลาเรียน ๓ ป ี ๒.๑.๓) อุดมศึกษา เป็นการศึกษาในวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย ประกอบด้วย วิทยาลัย มี ๓๘ แห่ง และมหาวิทยาลัย ๓ แห่ง มหาวิทยาลัยท้ัง ๓ แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว นครเวยี งจนั ทน์ (National University of Laos) ซง่ึ ใชเ้ วลา ๕-๗ ปี ประกอบไปด้วย ๖ วิทยาเขต ๑๐ คณะวชิ า ใน พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้เปิดสอนระดับปริญญาเอก เป็นโครงการร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเศรษฐกิจของเวียดนาม มหาวิทยาลยั สพุ านวุ ง แขวงหลวงพระบาง และมหาวทิ ยาลัยจำปาสกั แขวงจำปาสกั ๒.๒) การศึกษานอกระบบ แบ่งเป็น ๔ ประเภท คือ ๒.๒.๑) การฝึกอบรมผูใ้ หญ่ทีอ่ ่านและเขยี นหนงั สือไมอ่ อก ๒.๒.๒) การศึกษาวิชาชีพสำหรับผู้ใหญ่ เป็นการยกระดับวิชาชีพแก่ผู้ใหญ่และ การยกระดับวิชาชีพแกเ่ จ้าหน้าทแี่ ละพนักงาน ๒.๒.๓) การศึกษาภาคเอกชน ท่ีรัฐบาลอนุญาตให้ทางเอกชนจัดการเรียนการสอน ในระดับอนุบาล จนถงึ ปริญญาตรี ปรญิ ญาโทและปริญญาเอก ๒.๒.๔) โรงเรียนของสงฆ์ ตั้งอยู่ในหลวงพระบาง ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ เป็นอย่างดีและเก็บค่าเล่าเรียนในอัตราที่ถูก คือ ๓๕,๐๐๐ กีบหรือประมาณ ๑๔๐ บาทต่อปี ทำให้มีผู้มา บวชเรียนจำนวนมาก แต่จำกดั เฉพาะเพศชายเท่านัน้ ๓) แนวคดิ และหลักการในการระดมทรพั ยากรเพ่ือการศึกษา แนวคิดและหลักการในการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษาของ สปป.ลาว ได้ปรากฏ ในการประชุมสมัชชาแห่งชาติ ของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (National Assembly, 2007) ในหลายประเด็น ผ้วู จิ ัยสรปุ ได้ดงั น้ ี จากรายงานการประชุมสมัชชาแห่งชาติฉบับ ๔๓/NA เพื่อนำกฎหมายการศึกษา มาประยุกต์ใช้ บทที่ ๑ หัวข้อ ๔ นโยบายการศึกษา ระบุว่า รัฐจะต้องสนับสนุนให้บุคคล องค์กร รวมถึง ภาคเอกชน ลงทุนเพ่ือพัฒนาการศึกษาแห่งชาติผ่านนโยบายต่างๆ เช่น นโยบายการยกเว้นภาษี และการให้ เครดติ ตามทกี่ ฎหมายกำหนด เปน็ ตน้ (National Assembly, 2007) รปู แบบการระดมทรพั ยากรเพอื่ การศึกษา 33 บทที่ ๗ ข้อ ๕๑ ภาระหน้าที่ของสังคมและการศึกษา กล่าวถึงบทบาทหน้าที่ของสังคม องค์กรทางสังคม องค์กรชุมชนและบุคคล มีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาในรูปแบบต่างๆ ภาคธุรกิจและ สมาคมธรุ กจิ มีหนา้ ทใ่ี นการให้ความร่วมมือ อำนวยความสะดวก และสนับสนุนครู รวมถึงผูเ้ รียนในด้านการวจิ ยั การศึกษา และการฝึกอบรมในสถานประกอบการ ส่ือมวลชนมีหน้าท่ีในการสร้างรายการเพ่ือเผยแพร่ในด้าน การศึกษา เสริมสร้างความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อาชีพ และอ่ืนๆ ให้กับประชาชน (National Assembly, 2007) บทที่ ๗ ขอ้ ๕๓ ภาระหนา้ ทขี่ องผปู้ กครองและครอบครวั ระบวุ า่ ผปู้ กครองและครอบครวั มหี นา้ ทีใ่ นการสร้างเงอ่ื นไข อำนวยความสะดวกให้กบั บตุ รหลานในความรับผดิ ชอบใหไ้ ด้รับการศกึ ษา มีส่วนรว่ ม ในกิจกรรมต่างๆ ผู้ปกครองมีหน้าที่ให้ความร่วมมือกับโรงเรียนและครูในการให้การศึกษากับบุคคลให้กลายเป็น คนดี เปน็ ผเู้ รยี นทเี่ ขม้ แขง็ เปน็ พลเมอื งดขี องประเทศ รวมถงึ ผปู้ กครองมหี นา้ ทใี่ นการใหท้ นุ การศกึ ษา ยานพาหนะ วัสดุ อุปกรณก์ ารเรียนรู้ การสรา้ ง ทะนบุ ำรุงและรักษาฟืน้ ฟโู รงเรยี น (National Assembly, 2007) บทที่ ๗ ข้อ ๕๔ ภาระหน้าที่ของโรงเรียนที่มีต่อสังคม โรงเรียนเป็นศูนย์กลางและเป็น สถาบันการศึกษา มีหนา้ ทใี่ หค้ วามรกู้ ับผเู้ รียน ประสานงานกับหน่วยงานราชการ และสมาคมผปู้ กครอง เพือ่ ให้ ผเู้ รยี นเป็นพลเมืองดี รวมถึงการใหบ้ รกิ ารกบั ชมุ ชนในรปู แบบต่างๆ (National Assembly, 2007) สว่ นท่ี ๘ การลงทนุ เพอื่ การศกึ ษา โดยใหม้ กี ารจดั สรรงบประมาณสำหรบั การสรา้ งทนุ มนษุ ย ์ ส่ิงปลูกสร้างของโรงเรียน จัดสรรวัสดุ ส่ือการเรียนรู้และส่ิงอำนวยความสะดวกอ่ืนๆ รวมถึงการนำนโยบาย ไปปรับใช้กับครู ผ้เู รยี นและอืน่ ๆ (National Assembly, 2007) ข้อ ๕๖ แหล่งเงินทุนทางการศึกษาหลักมาจากงบประมาณของรัฐ นอกจากนี้เงินทุน ส่วนอ่ืนมาจากองคก์ ร และภาคสว่ นทั้งในและนอกประเทศ รวมถงึ ความช่วยเหลอื จากประชาคมระหวา่ งประเทศ (National Assembly, 2007) ข้อ ๕๗ งบประมาณด้านการศึกษา รัฐได้จัดลำดับความสำคัญและเพ่ิมงบประมาณให้กับ การศึกษาสูงถึงอย่างน้อยร้อยละ ๑๘ ของรายจ่ายรัฐ การกำหนดงบประมาณให้กับการบริหารจัดการของ โรงเรียนนั้น ศูนย์และสถาบันการศึกษาจะต้องคำนวณค่าใช้จ่ายตามจำนวนผู้เรียน (National Assembly, 2007) ขอ้ ๖๐ นโยบายการลงทุน ระบุว่า รัฐสนบั สนุนเอกชน องค์กรทงั้ ภายในและนอกประเทศ ในการลงทนุ การศึกษา โดยการสร้างโรงเรยี น ศูนย์ และสถาบันในระดบั ตา่ งๆ จัดการเรยี นการสอนตามแนวทาง ของระบบการศึกษาแห่งชาติและหลักสูตรท่ีกระทรวงศึกษาธิการและกีฬาเห็นสมควรในการให้บริการการศึกษา ทไี่ ดร้ ับคา่ ตอบแทนจากผ้เู รียน ทง้ั น้ี การลงทนุ มีหลากหลายรปู แบบตามทร่ี ะบไุ ว้ในกฎหมายองค์กร (Enterprise Law) (National Assembly, 2007) ๔) วธิ กี ารระดมทรพั ยากรเพือ่ การศกึ ษา ผวู้ จิ ยั แบ่งออกตามกรอบแนวคดิ ในการวิจัยเปน็ ๒ วธิ คี ือ ๔.๑) การระดมทรัพยากรเพอ่ื การศึกษาทเ่ี ป็นตัวเงิน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๖ รัฐบาลลาวจัดสรรงบประมาณร้อยละ ๑๘ ให้กับการจัด การศึกษา การเพ่ิมเงินเดือนของครูและข้าราชการในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ มีวัตถุประสงค์เพ่ือเพิ่มคุณภาพของครู อย่างไรก็ดี ในการเพิ่มเงินเดือนดังกล่าว สร้างความไม่สมดุลระหว่างรายได้และรายจ่ายที่เพ่ิมขึ้น มีการผลิตคร ู ที่มากเกินความจำเป็นในชุมชนเมือง และขาดแคลนในพื้นที่ห่างไกล รัฐบาลจึงได้จัดทำแผนกลยุทธ์และแผน


Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita