โครงงานการออกแบบและเทคโนโลยี คือ

การแก้ปัญหาต่าง ๆ จำเป็นต้องมีการวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ซึ่งการทำโครงงานเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่สามารถนำมาใช้เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างเป็นระบบ ทั้งยังช่วยให้นักเรียนได้พัฒนาการคิด และเรียนรู้ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น ซึ่งในบทที่ 2 นี้ นักเรียนจะได้เรียนรู้การทำโครงงาน โดยผ่านการใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เพื่อแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการจากสถานการณ์ที่นักเรียนสนใจ

โครงงานการ
ออกแบบและ

เทคโนโลยี

Design and Technology Project

โครงงานการออกแบบและเทคโนโลยี

มีผู้ให้ความหมายของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ในรูปแบบโครงงานไว้หลากหลายรูปแบบ แต่
สามารถสรุปความหมายออกมาได้ดังนี้ การ

เรียนรู้นี้เหมาะกับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

เป็นการผสานพลังการเรียนรู้ระหว่างผู้สอน
และผู้เรียน การสร้างคำถามที่เป็นธรรมชาติ

มี 3 หัวข้อใหญ่ และมี 7 หัวข้อย่อย มีดังนี้

1.การออกแบบทางเทคโนโลยี

1.1 การใช้เทคโนโลยี
1.2 องค์ประกอบที่สัมพันธ์กับกระ

บวนการเทคโนโลยี
1.3 กระบวนการเทคโนโลยี

2.โครงงานการออกแบบและเทคโนโลยี

2.1 ลำดับขั้นตอนการทำโครงงาน
การออกแบบและเทคโนโลยี

2.2 ตัวอย่างผลงานโครงงาน
การออกแบบและเทคโนโลยี

3.สะเต็มศึกษา

3.1 การออกแบบเชิงวิศวกรรม
3.2 ขั้นตอนการทำโครง

งานสะเต็มศึกษา

1.การออกแบบ
ทางเทคโนโลยี

Technological Design

การออกแบบทางเทคโนโลยี

เป็นการลำดับความคิดหรือจินตนาการให้
เป็นขั้นเป็นตอน

ระบบทาเทคโนโลยี มี 3 องค์ประกอบหลัก

ดังนี้

1.ตัวป่อน (Input) คือ สิ่งที่ป้อนเข้าสู่ระบบซึ่งอาจมีมากกว่า 1 อย่าง
2.กระบวนการเทคโนโลยี (Technological Process ) กิจกรรมหรือ

การดำเนินการที่เกิดขึ้นในระบบ เพื่อทำให้เกิดผลผลิตตาม
วัตถุประสงค์

3.ผลผลิต (Output ผลที่ได้จากการทำงานร่วมกันของตัวป้อน และ

กระบวนการของระบบ ผลผลิตยังรวมถึงสิ่งที่เป็นผลพลอยได้จากระบบซึ่ง
อาจเป็นสิ่งที่เราต้องการหรือไม่ก็ได้ เช่น ของเสีย เศษวัสดุ

ข้อมูลย้อนกลับ ( Feedback) ข้อมูลที่ใช้ในการควบคุมหรือป้อน

กลับให้ระบบทำงานได้บรรลุตามวัตถุประสงค์ ซึ่งอาจมีได้ในบาง
ระบบ

ตัวอย่าง

1.1 การใช้เทคโนโลยี

การใช้ความรู้ เครื่องมือ ความคิด
หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี
กระบวนการตลอดจน ผลงานทาง
วิทยาศาสตร์ทั้งสิ่งประดิษฐ์และวิธีการ
มาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพื่อช่วยให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทำงานให้
ดียิ่งขึ้นและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลของงานให้มีมากยิ่งขึ้น

1.2 องค์ประกอบที่สัมพันธ์
กับกระบวนการเทคโนโลยี

กระบวนการเทคโนโลยีและเป็นขั้นตอนการ
ทำงาน ซึ่งมีสัมพันธ์กัน 2 องค์ประกอบ ได้แก่
ทรัพยากรทางเทคโนโลยีและปัจจัยที่ขัดขวาง
เทคโนโลยี ซึ่งอธิบายได้ ดังนี้

ทรัพยากรทางเทคโนโลยี (Resource)

กระบวนการเทคโนโลยี

(Technological Process)

ปัจจัยที่ขัดขวางเทคโนโลยี (Constraints)

1.ทรัพยากรทางเทคโนโลยี (Resource) คือ

ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึงในการดำเนินการงาน
ของระบบเทคโนโลยี ซึ่งอาจเป็นสิ่งที่ส่งเสริม
หรือขัดขวางการดำเนินงานก็ได้ ประกอบด้วย

7 ด้านคือ คน ข้อมูลและสารสนเทศ วัสดุ

เครื่องมือและอุปกรณ์ พลังงาน ทุน และเวลา

ทรัพยากรทางเทคโนโลยี
RESOURCE

1. มนุษย์

2. ข้อมูลและสารสนเทศ

3. วัสดุ

4. ⚒️เครื่องมือและอุปกรณ์

5. พลังงาน

6. ทุนและทรัพย์สิน

7. เวลา

2.ปัจจัยที่ขัดขวางเทคโนโลยี (Constraints)

คือ สิ่งที่เป็นข้อจำกัด ข้อพิจารณา หรือสิ่งที่
ต้องคำนึงถึง ซึ่งจะทำให้การแก้ปัญหาได้ผล

งานแตกต่างกันไป เช่น มีทุนน้อย มีเวลา
จำกัด ไม่มีความรู้หรือความชำนาญ ขาดทักษะ

และความคิดสร้างสรรค์ ฯลฯ

ช้อจำกัดของ
ความรู้

เวลามีจำกัด ทุนทรัพย์น้อย

ปัจจัยที่ขัดขวาง

เทคโนโลยี
(Constraints)

จุดมุ่งหมาย ความคิด
จำเพาะ สร้างสรรค์
แต่ละบุคคล

1.3 กระบวนการเทคโนโลยี

กระบวนการเทคโนโลยี เป็นขั้นตอนการทำงาน
เพื่อสร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการอย่างใด
อย่างหนึ่งขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาหรือสนองความ
ต้องการของมนุษย์ กระบวนการเทคโนโลยี

ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ดังนี้

แผนภาพแสดงกระบวนการเทคโนโลยี

Design Focus >> หลักการสำคัญในการสร้างต้นแบบ

ต้นแบบ (Prototype) คือ ระบบการทำงานที่ไม่ใช่เพียงแค่

ความคิดที่อยู่บนกระดาษ แต่เป็นความคิดที่ถูกพัฒนาภายใต้
สมมติฐานของระบบใหม่ โดยการสร้างต้นแบบมีหลักการที่

สำคัญ 3 ข้อ ดังนี้

2.โครงงานการ
ออกแบบและ

เทคโนโลยี

Design and Technology Project

โครงงานการออกแบบและ
เทคโนโลยี

ในชีวิตประจำวันของมนุษย์มีกิจกรรมต่างๆ
เกิดขึ้นมากมายตามเงื่อนไขและปัจจัยในการ
ดำรงชีวิตของแต่ละคน ทำให้บางครั้งมนุษย์
ต้องพบเจอกับปัญหาหรือความต้องการที่จะ

ทำให้การดำรงชีวิตดีขึ้น เราเรียกว่า

“สถานการณ์เทคโนโลยี"

2.1 ลำดับขั้นตอนการทำโครง
งานการออกแบบและเทคโนโลยี

กระบวนการเทคโนโลยีที่ช่วยให้สามารถแก้ปัญหาทาง
เทคโนโลยีหรือสนองความต้องการของมนุษย์อย่างเป็น
ขั้นตอน ซึ่งเป็นกระบวนการที่ใช้เพื่อสร้างสิ่งของเครื่อง

ใช้หรือวิธีการใกวิธีการหนึ่ง ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน
ได้แก่

1.การสำรวจสถานการณ์หรือปัญหาที่สนใจ
2.รวบรวมข้อมูลและแ
นวคิดที่เกี่ยวข้องกับ

ปัญหา
3.ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา
4.วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา
5.ทดสอบ ประเมิน
ผล และปรับปรุง
6.นำเสนอวิธีการแ
ก้ปัญหา

2.2 ตัวอย่างผลงานโครงงานการ
ออกแบบและเทคโนโลยี

โครงงานการออกแบบและเทคโนโลยี
เป็นการนำความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ได้แก่
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และการออกแบบ
เพื่อพัฒนาผลงานให้มีประสิทธิภาพเกิดเป็น

เทคโนโลยีหรือนวัตกรรม

3.สะเต็มศึกษา
STEM Education

สะเต็มศึกษา

คือ แนวทางการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
และสามารถบูรณาการความรู้ทางวิทยาศาสตร์

เทคโนโลยี กระบวนการทางวิศวกรรม และคณิตศาสตร์
ไปใช้ในการเชื่อมโยงและแก้ปัญหา ในชีวิตจริง รวมทั้ง
การพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม่ควบคู่ไปกับการ
พัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ศาสตร์ความรู้ทั้ง 4 อัน
ได้แก่ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี
(Technology) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineer) และ
คณิตศาสตร์ (Mathematics) โดยเรียกรวมสั้นๆ ว่า

สะเต็ม (STEM)

3.1 การออกแบบเชิงวิศวกรรม

1.ระบุปัญหา (Problem Identification)
เป็นการทำความเข้าใจปัญหาหรือความท้าทาย วิเคราะห์เงื่อนไข
หรือข้อจำกัดของสถานการณ์ปัญหา เพื่อกำหนดขอบเขตของ
ปัญหา ซึ่งจะนำไปสู่การสร้างชิ้นงานหรือวิธีการในการแก้ปัญหา
2.รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา (Related

Information Search)
เป็นการรวบรวมข้อมูลและแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับแนวทางการแก้ปัญหาและประเมิน

ความเป็นไปได้ ข้อดีและข้อจำกัด
3.ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา (Solution Design)
เป็นการประยุกต์ใช้ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องเพื่อการออกแบบ
ชิ้นงานหรือวิธีการในการแก้ปัญหา โดยคำนึงถึงทรัพยากร ข้อ

จำกัดและเงื่อนไขตามสถานการณ์ที่กำหนด
4.วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา (Planning and

Development)
เป็นการกำหนดลำดับขั้นตอนของการสร้างชิ้นงานหรือวิธีการ แล้ว

ลงมือสร้างชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการเพื่อใช้ในการแก้ปัญหา
5.ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ปัญหาหรือชิ้น

งาน (Testing, Evaluation and Design Improvement)
เป็นการทดสอบและประเมินการใช้งานของชิ้นงานหรือวิธีการ โดย
ผลที่ได้อาจนำมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาให้มีประสิทธิภาพใน

การแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมที่สุด
6.นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน

(Presentation)
เป็นการนำเสนอแนวคิดและขั้นตอนการแก้ปัญหาของการสร้างชิ้น
งานหรือการพัฒนาวิธีการ ให้ผู้อื่นเข้าใจและได้ข้อเสนอแนะเพื่อการ

พัฒนาต่อไป

3.2 ขั้นตอนการทำโครงงาน
สะเต็มศึกษา

การทำโครงงานสะเต็มศึกษา เป็นการทำงานอย่าง
เป็นขั้นตอนบนพื้นฐานของกระบวนการออกแบบเชิง
วิศวกรรมตั้งแต่กระบวนการเริ่มตันจนสิ้นสุด การทำ

โครงงานมี 6 ขั้นตอน ดังนี้

1. สำรวจสถานการณ์ ปัญหาที่สนใจ เพื่อกำหนดหัวข้อ
โครงงาน

2. รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา

3. เลือกแนวคิดที่ดีที่สุด แล้วออกแบบแนวทางการแก้
ปัญหา

4. วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา

5. ทดสอบ ประเมินผล และปรัปปรุงแก้ไขวิธีการ
แก้ปัญหาหรือชิ้นงาน

6. นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหา
หรือชิ้นงาน

น.ส. หนึ่งฤทัย สมคิด
เลขที่ 1 ม.5/2

Miss Nuengruetai Somkit
Number 1 M.5/2


Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita