งานวิจัย การจัดการภาครัฐแนวใหม่

9 Pages Posted: 10 Oct 2018

Date Written: April 1, 2015

Abstract

Thai Abstract: การวิจัยครัง้ นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการนาแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้ในการปฏิรูประบบราชการในกรม ศุลกากรและเพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของการนาแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้ในการปฏิรูประบบ ราชการในกรมศุลกากร จาแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล กลุ่มตัวอย่างที่วิจัย คือ บุคลากรกรมศุลกากรเฉพาะที่ปฏิบัติงานในส่วนกลาง จานวน 379 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชัน้ ภูมิอย่างเป็นสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า ttestและการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว โดยมีนัยสา คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นต่อการจัดการภาครัฐแนวใหม่มาปฏิรูประบบราชการในกรมศุลกากร อยู่ในระดับมาก สา หรับการทดสอบสมมติฐาน พบว่า บุคลากรที่มีเพศ ประสบการณ์ก่อนมาปฏิบัติงานในกรมศุลกากร และความสัมพันธ์กับกรมศุลกากร จะมีความคิดเห็นต่อการจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้ในการปฎิรูประบบราชการในกรมศุลกากรไม่แตกต่างกัน ส่วนบุคลากรที่มีอายุ ระดับการศึกษา ตาแหน่งงาน ระยะเวลาการปฏิบัติงานในกรมศุลกากร และอัตราเงินเดือนต่างกัน จะมีความคิดเห็นต่อการจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้ในการปฎิรูประบบราชการในกรมศุลกากรแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

English Abstract: The objectives of the research were to study Implementation New Public Management in Bureaucratic Reform in The Customs Department, and to compare the New Management Implementation in the Bureaucratic Reform in The Customs Department. The sample size composed of 379 personnel of The Customs Department at work in center by proportional stratified random sampling. Data were collected by questionnaires, and analyzed by statistical software. Statistical tools used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test, and One Way ANOVA at the 0.05 level of significance. The results of the research found that the sample have opinion to Implementation New Public Management in Bureaucratic Reform in The Customs Department was at high level. The hypothesis testing revealed that personal factors concerning gender, prior experience to work in the Customs Department, and relationship with the Customs Department caused no difference of their opinion to Implementation New Public Management in Bureaucratic Reform in The Customs Department. Moreover, personal factors concerning age, level of education, position of work, period of execution of the Customs Department and salary of the personnel of the Customs Department caused the difference of their opinion to New Management Implementation in the Bureaucratic Reform in the Customs Department at the 0.05 level of significance.

Note: Downloadable document is in Thai.

Keywords: Implementation, New Public Management, Bureaucratic Reform

Suggested Citation: Suggested Citation

Sompornimitkul, Veeravit and Klantapura, Oranun, การนาแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้ในการปฏิรูประบบราชการในกรมศุลกากร (Implementation New Public Management in Bureaucratic Reform in the Customs Department) (April 1, 2015). Journal of Interdisciplinary Research: Graduate Studies, Vol. 4, No. 2, 2015, Available at SSRN: //ssrn.com/abstract=3259505


  1. ChiangMai Rajabhat University Intellectual Repository
  2. Research and Development Institute
  3. Research Report

Please use this identifier to cite or link to this item: //cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/572

Title:  รูปแบบการพัฒนาศักยภาพของผู้นำท้องถิ่นกับการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่
Other Titles:  The model of the potential local learning development with New Public Management
Authors: 
คำใจ, กมลทิพย์
Keywords:  การพัฒนาศักยภาพ
ผู้นำท้องถิ่น
การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่
Issue Date:  2556
Publisher:  Chiang Mai Rajabhat University
Abstract:  รูปแบบการพัฒนาศักยภาพของผู้นำท้องถิ่นกับการการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาคุณลักษณะที่ดีของผู้นำท้องถิ่นกับการสร้างค่านิยมและกระบวนทัศน์ใหม่ในการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ ใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจและการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห์ชุมชนกับรูปแบบของการเรียนรู้ของผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลง ในการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่กับกลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้นำท้องถิ่น และผู้นำชุมชนจำนวน 75 คน จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่จำนวน 6 แห่ง คือ องค์การบริหารส่วนตำบลแม่ทา เทศบาลตำบลบ้านกลาง องค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้ว องค์การบริหารส่วนตำบลกื้ดช้าง องค์การบริหารส่วนตำบลมะขุนหวาน องค์การบริหารส่วนตำบลยุหว่า ผลการศึกษาพบว่า คุณลักษณะที่ดีของผู้นำท้องถิ่น ประกอบไปด้วย 1) เป็นคนดีมีศีลธรรม มีศรัทธาในศาสนาและเชื่อมั่นในหลักจริยธรรม 2) ดำเนินงานอย่างโปร่งใสตรวจสอบได้ไม่มีประโยชน์ทับซ้อน 3) มีวิสัยทัศน์ มียุทธศาสตร์ในการดำเนินงาน 4) ทำให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมและการตัดสินใจ 5) ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีในชุมชน สำหรับค่านิยม และกระบวนทัศน์ใหม่ในการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ พบว่าผู้นำท้องถิ่นมีความสามารถในการพัฒนาตนเองตามหลัก 7 ประการ ของการเป็นผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลง (Transformation Leadership) ได้ถึงร้อยละ 75 เมื่อวิเคราะห์การมีส่วนร่วมของชุมชนภายใต้กรอบกระบวนทัศน์ใหม่ในการพัฒนาด้วยกระบวนการ AIC พบว่าค่านิยมหลัก 3 ประการในการทำงานเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น คือ การมีอุดมการณ์ร่วม การมีเป้าหมายที่แท้จริง และความผูกพันที่แท้จริงที่สร้างให้เกิดพลัง ส่งผลทำเกิดกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาในหลักสูตรของการพัฒนาผู้นำท้องถิ่นต้นแบบการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ เพื่อนำไปใช้ในการยกระดับการเป็นผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลงต่อไป
Description:  The model of the potential local learning development with New Public Management had the aim as to study the good characteristics of the local leadership with the popularity creating and new paradigm in New Public Management. Survey and quantity research had use in processes by using the community analysis with learning style of changing leadership. In this study, the target groups were 75 local leaders and community leaders from 6 Community Local Organization in Chiangmai as Maetha, kudchang, Makunwan, Yuwa, Donkaew and Baanklang Local Tambol Organization. The research result has found that the good characteristics of the local leadership consist of 1) good behavior with morality, believe in religious and firmly believe in ethic 2) transparency in operation 3) have vision and strategic in operation 4) use the community changing participation in operation and decision making 5) good creating for the community changing. By the way, for the new paradigm in New Public Management had found 7 capacities of the transformation leadership which reach to 75 percent of their capacities. The community participation under AIC process had found 3 popularities in local development operation as the political ideology, have real target and Self-adjoin. These will affect to develop the local leadership development curriculum for the New Public Management as to apply upgrading the changing leadership.
URI:  //cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/572
Appears in Collections: Research Report

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita