เฉลย การบัญชีชั้นสูง 1 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

หมวดที่ 2

จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา

ศึกษาและฝึกปฏิบัติ เกี่ยวกับการบัญชีเกี่ยวกับธุรกิจฝากขาย ธุรกิจขายผ่อนชำระ สัญญาเช่า การบัญชีสำนักงานใหญ่สาขาและตัวแทนทั้งในและต่างประเทศ รายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศและการแปลงค่างบการเงิน   การบัญชีเกี่ยวกับสัญญาก่อสร้าง การจัดทำงบการเงินจากรายการที่บันทึกไว้ไม่สมบูรณ์  และการบัญชีสำหรับการปรับโครงสร้างหนี้กิจการที่มีปัญหายุ่งยากทางการเงิน การบัญชีกองทุนและกิจการไม่หวังผลกำไร

2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา

เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักศึกษา ให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่กำหนดในมาตรฐาน ผลการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน

หมวดที่ 3

ลักษณะและการดำเนินการ

1. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝึกปฏิบัติ เกี่ยวกับการบัญชีเกี่ยวกับธุรกิจฝากขาย ธุรกิจขายผ่อนชำระ สัญญาเช่า การบัญชีสำนักงานใหญ่สาขาและตัวแทนทั้งในและต่างประเทศ รายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศและการแปลงค่างบการเงิน   การบัญชีเกี่ยวกับสัญญาก่อสร้าง การจัดทำงบการเงินจากรายการที่บันทึกไว้ไม่สมบูรณ์  และการบัญชีสำหรับการปรับโครงสร้างหนี้กิจการที่มีปัญหายุ่งยากทางการเงิน การบัญชีกองทุนและกิจการไม่หวังผลกำไร

2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา บรรยาย : 30 ชั่วโมง สอนเสริม : ไม่มี การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน : 30 ชั่วโมง การศึกษาด้วยตนเอง : 5 ชั่วโมง/สัปดาห์

3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

7 ชั่วโมง/สัปดาห์

หมวดที่ 4

การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา

1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา

1.1 มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
1.2 มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและสังคม
1.3 สามารถบริหารเวลาและปรับวิธีชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในสังคม
1.4 มีจิตสำนึก และพฤติกรรมที่คำนึกถึงประโยชน์ส่วนรวมมากว่าประโยชน์ส่วนตนอย่างมีคุณธรรม

1.2 วิธีการสอน

1). สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพในเนื้อหาวิชาเรียน
2). ให้ความสำคัญในการมีวินัย การตรงต่อเวลา และการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
3). เปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละและการทำประโยชน์ให้แก่ชุมชน
4). การเรียนรู้และการสอนจากรณีศึกษา
 

1.3 วิธีการประเมินผล

1). ประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาเกี่ยวกับการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา การทำงานทันตามกำหนด และความพร้อมเพรียงของการเข้าร่วมกิจกรรม
2). ประเมินการกระทำทุจริตในการสอบ
3). ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4). สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน

2. ความรู้ 2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ

2.1 มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี
2.2 มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชี โดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
2.3 มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่นๆโดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์
2.4 สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง

2.2 วิธีการสอน

1). ใช้วิธีการสอนหลายรูปแบบ ตามลักษณะของเนื้อหารายวิชาโดยเน้นแนวคิดหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ เช่น การสอนแบบบรรยายและอภิปราย การสอนแบบสาธิต การสอนแบบใช้สถานการณ์จำลอง การสอนแบบเน้นกรณีปัญหา
2). การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการในห้องเรียน
3). มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูล จัดทำรายงาน

2.3 วิธีการประเมินผล

1). ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น งานที่มอบหมาย การทดสอบย่อย รายงาน การค้นคว้า และการนำเสนอ
2). การประเมินจากการสอบข้อเขียน หรือ การสอบปฏิบัติ

3. ทักษะทางปัญญา 3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา

3.1 สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่างๆเพื่อนำมาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง
3.2 สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหา รวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ ในสถานการณ์ต่างๆอย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
3.3 สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน

3.2 วิธีการสอน

1). ส่งเสริมการเรียนรู้ และฝึกกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบจากระดับง่ายไปสู่ระดับที่สูงขึ้น ตามระดับชั้นการศึกษา โดยใช้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา หรือ สถานการณ์จำลอง
2). สอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เปิดโอกาสให้นักศึกษาค้นคว้า รายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน รวมทั้งอภิปรายแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น

3.3 วิธีการประเมินผล

1). ประเมินจากผลการแก้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา หรือ สถานการณ์จำลองที่ได้รับมอบหมาย
2). ประเมินจากการสอบที่ต้องใช้ทักษะทางปัญญาของแต่ละรายวิชา
 

4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา

4.1 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
4.2 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำและในบทบาทของผู้ร่วมงาน
4.4 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่างต่อเนื่อง

4.2 วิธีการสอน

1).  มอบหมายการทำงานแบบกลุ่มย่อยโดยมีการสลับหมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่มและผลัดกันเป็นผู้รายงาน 
2). มอบหมายงานที่เกี่ยวข้องกับความรู้ด้านวิชาชีพบัญชีโดยให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
3). ให้ศึกษาการแก้ปัญหาจากกรณีศึกษาต่างๆ

4.3 วิธีการประเมินผล

1). ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
2). ประเมินการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีจากแบบประเมินตนเองและเพื่อนในกลุ่ม ประเมินจากงานที่มอบหมายและระยเวลาในการส่งงาน
3). สังเกตุพฤติกรรมในชั้นเรียน

5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา

5.1 มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปลความหมาย และเสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาหรือข้อโต้แย้ง

5.2 วิธีการสอน

1). มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์หรือคำนวณเชิงตัวเลข

5.3 วิธีการประเมินผล

ไม่มีการประเมินผลในหัวข้อนี้

6. ด้านทักษะพิสัย 6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย

ไม่มี

แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

ความรับผิดชอบหลัก ความรับผิดชอบรอง

กลุ่มวิชา 1. 2. 3 4 5
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 3.3 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1
1 BACAC130 การบัญชีชั้นสูง 1

หมวดที่ 5

แผนการสอนและการประเมินผล

1. แผนการสอน

สัปดาห์ที่ 1 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 4 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 2 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 4 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 3 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 4 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 4 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 4 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 5 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 4 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 6 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 4 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 7 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 4 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 8 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 4 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 9 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 2 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 10 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 4 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 11 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 4 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 12 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 4 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 13 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 4 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 14 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 4 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 15 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 4 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 16 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 4 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 17 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 2 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

หมวดที่ 6

ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก

กัญนิภัทธิ์ นิธิโรจน์ธนัท, ศิริรัตน์ พ่วงแสงสุข, และ นันทนา แจ้งสว่าง. (2560). การบัญชีชั้นสูง 1. กรุงเทพฯ:     วิทยพัฒน์.
ดลกณิศ เต็งอำนวย. (2558). รู้บัญชีขั้นสูง (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: ภาควิชาบัญชี คณะบริหารธุรกิจ        มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
วรศักดิ์ ทุมมานนท์ และ ณัฐวุฒิ  สุวรรณยั่งยืน. (2557). การบัญชีขั้นสูง 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์        จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิศรุต ศรีบุญนาค, พิมพ์พนา ปีตธวัชชัย, และ ณัฐชานนท์ โกมุทพุฒิพงศ์. (2554). ตราสารอนุพันธ์ : การวัด    มูลค่า การรับรู้และการบัญชีป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ. กรุงเทพฯ:     สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศิลปพร  ศรีจั่นเพชร และ อนุวัฒน์  ภักดี. (2561). การบัญชีชั้นสูง. กรุงเทพฯ:ห้างหุ้นส่วน ทีพีเอ็น เพรส.
 

2. เอกสาร และข้อมูลสำคัญ

มาตราฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 9     การวัดมูลค่าและการรับรู้รายการเครื่องมือทางการเงิน
          มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 15     รายได้จากสัญญาที่ทำกับลูกค้า
          มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 16    สัญญาเช่า

3. เอกสาร และข้อมูลแนะนำ

ข้อมูลเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวทางวิชาชีพบัญชี ประกาศเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน  และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องซึ่งได้จากเว็ปไซต์ต่อไปนี้
           www.fap.or.th
           www.set.or.th
 

หมวดที่ 7

การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา

1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา

ใช้การทดสอบปฏิบัติในแต่ละบท

2. กลยุทธ์การประเมินการสอน

ใช้แบบประเมินประสิทธิภาพการสอนของมหาวิทยาลัยในระบบออนไลน์

3. การปรับปรุงการสอน

เน้นให้นักศึกษาเข้าใจถึงหลักการบัญชี และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน
 

4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา

ให้กรรมการกำกับมาตรฐานวิชาการ เป็นผู้ประเมินโดยพิจารณาจากข้อสอบ และ การตัดเกรด

5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา

นำเสนอข้อสอบ และการตัดเกรด  ก่อนที่จะมีการสอบและการประกาศผล 
นำผลการประเมินในข้อ 1 และข้อ 2  ประกอบการพิจารณาข้อบกพร่องของวิธีการสอน  วิธีการประเมิน  
และ เนื้อหารายวิชา

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita