ยีนเป็นช่วงหนึ่งของดีเอ็นเอ

������ (chromosome)�繷������ͧ˹��¾ѹ�ء��� ��觷�˹�ҷ��Ǻ�����ж��·ʹ������ ����ǡѺ �ѡɳзҧ�ѹ�ء�����ҧ� �ͧ����ժ��Ե �� �ѡɳТͧ��鹼� �ѡɳдǧ�� �� ��м��

����֡���ѡɳ������� �е�ͧ����¡�ôٴ��¡��ͧ��ŷ��ȹ�����ѧ�����٧� �֧������ö �ͧ�����������´�ͧ��������

˹��¾ѹ�ء��� ���� �չ ( Gene )��ҡ����躹������ ��Сͺ���´������ ��˹�ҷ���˹��ѡɳ� �ҧ�ѹ�ء�����ҧ � �ͧ����ժ��Ե ˹��¾ѹ�ء��� �ж١���·ʹ�ҡ����ժ��Ե ��蹡�͹˹������١��ҹ �� �Ǻ�����кǹ�������ǡѺ�Ԩ�������� � 价ҧ��������������ͧ����ժ��Ե 仨��֧�ѡɳл�ҡ���辺��������ѧࡵ����µ� �� �ٻ��ҧ˹�ҵҢͧ�硷���պҧ��ǹ����͹�Ѻ���, ���ѹ�ͧ�͡���, �ʪҵԢͧ����ùҹҪ�Դ ��ǹ���������ѡɳз��ѹ�֡�����˹��¾ѹ�ء���������

������� (DNA) �������?

������� (DNA) �繪�����ͧ͢��þѹ�ء��� �ժ���Ẻ������ �ô���͡����⺹�Ǥ���ԡ (Deoxyribonucleic acid) ����繡ô��Ǥ���ԡ (�ô��辺�㨡�ҧ�ͧ����ء��Դ) ��辺�����ͧ����ժ��Ե�ء��Դ ���� �� (Haman), �ѵ�� (Animal), �ת (Plant), ������ (Fungi), Ấ������ (bacteria), ����� (virus) ( ����� �����١���¡�������ժ��Ե����§͹��Ҥ��ҹ��) �繵� ������� (DNA) ��èآ����ŷҧ�ѹ�ء����ͧ����ժ��Ե��Դ������ ������ѡɳз������ҹ�Ҩҡ����ժ��Ե��蹡�͹ ��觡��� ��������� (Parent) �������ö���·ʹ��ѧ����ժ��Ե��蹶Ѵ� ��觡��� �١��ҹ (Offspring)

������� (DNA) ���ٻ��ҧ������Ǥ�� ����ºѹ��ԧ���Դ��Ƿҧ��� ���ͺѹ����¹��� ��������Ǣͧ�ѹ����Т�ҧ���͡�����§��Ǣͧ��Ǥ����䷴� ( Nucleotide ) ��Ǥ����䷴������š�ŷ���Сͺ���¹�ӵ�� ( Deoxyribose Sugar ), ���࿵ ( Phosphate ) (��觻�Сͺ���¿�ʿ��������͡��ਹ) �����èչ���� (Nitrogenous Base) ��㹹�Ǥ����䷴���������誹Դ ���� �дչչ (adenine, A) , ��չ (thymine, T) , �ⷫչ (cytosine, C) ��С�ǹչ (guanine, G) ��������Ǣͧ�ѹ��ͧ��ҧ���͹�Ǥ����䷴�١����������� �·�� A ��������Ѻ T ���¾ѹ������ਹẺ�ѹ�Ф�� ���� double bonds ��� C ��������Ѻ G ���¾ѹ������ਹẺ�ѹ��������� triple bonds (㹡óբͧ�������) ��Т����ŷҧ�ѹ�ء��������ժ��Ե��Դ��ҧ � �Դ��鹨ҡ������§�ӴѺ�ͧ��㹴�����͹���ͧ

���鹾�������� ��� ��մ�Ԫ ������ 㹻� �.�. 2412 (�.�. 1869) ���ѧ����Һ������ç���ҧ���ҧ�� ��㹻� �.�. 2496 (�.�. 1953) ���� ��. �ѵ�ѹ ��п�ҹ��� ��ԡ �繼���Ǻ��������� ������ҧẺ���ͧ�ç���ҧ�ͧ������� (DNA Structure Model)����������Ѻ�ҧ������ ��й�蹹Ѻ�繨ش������鹢ͧ�ؤ෤����շҧ�������

Deoxy ribonucleic acid หรือ DNA, ดีเอ็นเอ คงเป็นที่ทราบกันเป็นอย่างดีแล้วว่า ดีเอ็นเอ เป็นสารพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ยกเว้นไวรัส ซึ่งอาจมีดีเอ็นเอ หรือ อาร์เอ็นเอเป็นสารพันธุกรรม ดีเอ็นเอสามารถถ่ายทอดข้อมูลทางพันธุกรรมไปสู่รุ่นลูกหลานโดยผ่านกระบวนการ DNA Replication หรือการจำลองตัวเอง จากการศึกษาด้านจีโนมของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ พบว่าข้อมูลที่ถูกเก็บอยู่ในดีเอ็นเอ มีทั้งส่วนที่สามารถแปลรหัสออกมาเป็นโปรตีน (coding region) และส่วนที่ไม่สามารถแปลรหัสได้ (non-coding region) แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าส่วนที่ไม่ได้ผลิตเป็นโปรตีนนี้ไม่มีประโยชน์ ดีเอ็นเอในส่วนนี้สามารถประยุกต์ใช้ ในการหาความเฉพาะเจาะจง เช่น เทคนิค DNA fingerprint และการหาความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการได้ โครงสร้างของดีเอ็นเอ ประกอบด้วยโพลีเมอร์ของนิวคลีโอไทด์ 2 สาย พันกันเป็นเกลียวคู่ (Double helix) โดยแต่ละสายของดีเอ็นเอประกอบด้วย น้ำตาล deoxy ribose หมู่ฟอสเฟต และเบส ได้แด่ อะดีนีน (A) ไทมีน (T) ไซโตซีน (C) และกัวนีน (G) ซึ่งเบสเหล่านี้ก็คือ รหัสพันธุกรรม ซึ่งสามารถถ่ายทอดไปยังลูกหลาน และสามารถแปลรหัสเหล่านี้ออกมาเป็นโปรตีนเพื่อใช้ในกิจกรรมต่างๆ ของเซลล์ โดยเราจะเรียก ช่วงหนึ่งของดีเอ็นเอที่สามารถผลิตเป็นโปรตีนได้ว่า ยีน (Gene) ซึ่งในมนุษย์มีประมาณ 34,000-40,000 ยีน เส้นสายของดีเอ็นเอเกลียวคู่จะหดตัวและพันรอบกับโปรตีนฮิสโตน เพื่อเก็บรักษาข้อมูลไม่ให้ถูกทำลาย และมีขนาดเล็กจนสามารถบรรจุอยู่ในนิวเคลียสได้ ดังจะเห็นได้จากขณะที่เซลล์ทำการแบ่งตัว จะเห็นเป็นโครงสร้างที่เรียกว่าโครโมโซม ดังรูปที่ 1

รูปที่ 1 โครงสร้างของดีเอ็นเอ ยีนและโครโมโซม

DNA passes genetic information to the next generation
ดีเอ็นเอ สามารถส่งต่อข้อมูลทางพันธุกรรมไปยังเซลล์ที่แบ่งตัวใหม่ โดยการจำลองตัวเองขึ้นที่เราเห็นรูปของโครโมโซม ซึ่งมีลักษณะคล้ายแท่งปาท่องโก๋ ขณะนั้นโครโมโซมจำลองตัวเองเพิ่มจำนวนจาก 1 ชุด เป็น 2 ชุดจากนั้นจึงแบ่งเซลล์ได้เซลล์ใหม่ 2 เซลล์ ดังรูปที่ 2

รูปที่ 2 แสดงเซลล์ขณะเพิ่มจำนวนของโครโมโซมและทำการแบ่งตัว

ดีเอ็นเอในธรรมชาติมีหลายรูปแบบ มีทั้งสายเดี่ยวและเกลียวคู่ แบบเป็นเส้นยาวและวงแหวน ดังนั้นในการจำลองตัวเองของดีเอ็นเอจึงมีความแตกต่างกันไปในรายละเอียด แต่หลักการโดยทั่วไปเหมือนกัน ดังต่อไปนี้
การจำลองตัวเองของดีเอ็นเอ (DNA replication) มีลักษณะ ดังรูปที่ 3 โดยเริ่มจาก จุดที่มีการเริ่มต้นการจำลองตัวเอง ดีเอ็นเอเกลียวคู่จะคลายเกลียวแยกออกจากกันเป็นสายเดี่ยว จากนั้นอาร์เอ็นเอไพร์เมอร์ เข้ามาเกาะที่ดีเอ็นเอสายเดิมที่ถูกแยกให้เป็นสายเดี่ยวของทั้งสองสาย จากนั้นเอนไซม์ดีเอ็นเอโพลีเมอเรสจะทำหน้าที่ต่อสายดีเอ็นเอให้ยาวขึ้นในทิศทาง 5’ 3’ โดยนำนิวคลีโอไทด์ ที่มีเบสคู่สมกับดีเอ็นเอเส้นเดิมเข้ามาต่อให้กับดีเอ็นเอสายใหม่ คือ เบส A จะจับคู่กับ T และ C จะจับคู่กับ G ดีเอ็นเอที่สร้างขึ้นมาทั้งสองเส้นนั้นมีความแตกต่างกัน โดยเส้นหนึ่งมีความยาวต่อเนื่องกันไปจนการสังเคราะห์สิ้นสุด (Leading stand) ส่วนอีกท่อนหนึ่งเป็นท่อนสั้น ๆ เรียกว่า Okazaki fragment (Lagging stand) ซึ่งมีอาร์เอนเอไพร์เมอร์คั่นอยู่เป็นช่วง ๆ และไม่ต่อเนื่องกันเป็นเส้นเดียวตลอดกัน ดังนั้นเอนไซม์ดีเอนเอโพลีเมอเรส I จึงทำการกำจัดอาร์เอ็นเอไพร์เมอร์ทิ้งแล้วทำการเติมนิวคลีโอไทด์เข้าไป จากนั้นทำการเชื่อมต่อกันให้เป็นเส้นเดียวกันด้วยเอนไซม์ ไลเกส เมื่อทำการสังเคราะห์ดีเอ็นเอจนไปจนสุดสายดีเอ็นเอ ก็จะมีเอนไซม์ทีโลเมอเรสทำการปิดปลายของเส้นดีเอ็นเอที่สร้างขึ้น

รูปที่ 3 การจำลองตัวเองของดีเอ็นเอ

ขอขอบคุณข้อมูลจาก //www.barascientific.com/article/DNA/dna.php

DNA Gene chromosome สัมพันธ์กันอย่างไร

โครโมโซมเป็นที่อยู่ของ ดีเอ็นเอ (DNA) แต่ละช่วงของ DNA คือยีน DNA เป็นสารพันธุกรรม แต่ยีนเป็นตัวกำหนดลักษณะทางพันธุกรรมแต่ละลักษณะ ยีนที่ควบคุมลักษณะใดลักษณะหนึ่งมี 2 แบบ เรียกว่า แอลลีน (Allele) แต่ละลักษณะในมนุษย์เช่นลักษณะของผมถูกควบคุมด้วย 2 แอลลีน ได้แก่ แอลลีนลักษณะเด่น กับแอลลีนลักษณะด้อย

1โครโมโซมมีกี่DNA

โครโมโซมซึ่งพบในระยะเมทาเฟสนั้นประกอบด้วยดีเอ็นเอ 2 โมเลกุล เนื่องจากเซลล์ที่อยู่ใน ระยะอินเทอร์เฟสนั้นแต่ละโครมาทินประกอบด้วยดีเอ็นเอ 1 โมเลกุล แต่เมื่อเซลล์กาลังเข้าสู่ กระบวนการแบ่งเซลล์ จะมีการจ าลองตัวของดีเอ็นเอ (DNA replication) ตั้งแต่ช่วงต้นของระยะ อินเทอร์เฟส จึงท าให้ช่วงปลายของระยะอินเทอร์เฟส ดีเอ็นเอแต่ละ ...

ยีนดีเอ็นเอและโครโมโซมคืออะไร

ภาพ โครโมโซม ดีเอ็นเอ และยีน หน่วยพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตท าหน้าที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมและถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่ง ไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง โดยหน่วยพันธุกรรมที่กล่าวถึงนั้น คือ ยีน (gene) ซึ่งอยู่บนโครโมโซม (Chromosome) โดยสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีลักษณะและจ านวนยีนและโครโมโซมแตกต่างกัน

อะไรเป็นที่อยู่ของDNA

สารพันธุกรรม หรือดีเอ็นเอ (DNA) สารพันธุกรรม หรือดีเอ็นเอ (deoxyribonucleic acid; DNA) เป็นกรดนิวคลิอิก (Nucleic acid) ที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต ดีเอ็นเอส่วนใหญ่อยู่ในรูปโครโมโซม (chromosome) วางตัวอยู่ ในส่วนนิวเคลียสภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ดีเอ็นเอมีหน้าที่สำคัญ ๒ ประการ คือ

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita