พระมหากษัตริย์พระองค์ใดทรงผนวกอาณาจักรสุโขทัยเข้าเป็นส่วนหนึ่งของกรุงศรีอยุธยา

สำหรับสุโขทัย ในความหมายอื่น ดูที่สุโขทัย (แก้ความกำกวม)

This page has some issuesอาณาจักรสุโขทัยราชอาณาจักร← 
พ.ศ. 1792–พ.ศ. 2126→

ตราแผ่นดิน

แผนที่อาณาจักรสุโขทัยช่วงพ่อขุนรามคำแหงมหาราช

เมืองหลวงสุโขทัย
พิษณุโลก และ อุตรดิตถ์ส่วนหนึ่งภาษาภาษาไทยรัฐบาลสมบูรณาญาสิทธิราชย์แบบศักดินากษัตริย์ – ผู้ก่อตั้งพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ – สิ้นสุดสมเด็จพระนเรศวรมหาราชประวัติศาสตร์ – สถาปนาพ.ศ. 1792 – เป็นรัฐร่วมประมุขกับกรุงศรีอยุธยาพ.ศ. 1981 – ถูกผนวกเข้ากับกรุงศรีอยุธยาแล้วสิ้นสุดลงพ.ศ. 2126ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของเป็นส่วนหนึ่งของประเทศไทย

อาณาจักรสุโขทัย หรือ รัฐสุโขทัย(อังกฤษ: Kingdom of Sukhothai) เป็นอาณาจักร หรือรัฐในอดีตรัฐหนึ่ง ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม เป็นชุมชนโบราณมาตั้งแต่ยุคเหล็กตอนปลาย จนกระทั่งสถาปนาขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 18 ในฐานะสถานีการค้าของรัฐละโว้ หลังจากนั้นราวปี 1800 พ่อขุนบางกลางหาวและพ่อขุนผาเมือง ได้ร่วมกันกระทำการยึดอำนาจจากขอมสบาดโขลญลำพงซึ่งทำการเป็นผลสำเร็จและได้สถาปนาเอกราชให้สุโขทัยเป็นรัฐอิสระ และมีความเจริญรุ่งเรืองตามลำดับและเพิ่มถึงขีดสุดในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราชก่อนจะค่อย ๆ ตกต่ำ และประสบปัญหาทั้งจากปัญหาภายนอกและภายใน จนต่อมาถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาไปในที่สุด
ที่ตั้งและอาณาเขตEdit

อาณาจักรสุโขทัย ตั้งอยู่บนเส้นทางการค้าผ่านคาบสมุทรระหว่างอ่าวเมาะตะมะและที่ราบลุ่มแม่น้ำโขงตอนกลาง มีอาณาเขตดังนี้[1]

ทิศเหนือ มีเมืองเวียงโกศัย (ปัจจุบันคือแพร่ทิศใต้ มีเมืองพระบาง (ปัจจุบันคือนครสวรรค์ทิศตะวันตก มีเมืองฉอด (ปัจจุบันคือแม่สอด) เป็นเมืองชายแดนที่จะติดต่อเข้าไปยังอาณาจักรมอญทิศตะวันออก ถึงเมืองสะค้าใกล้แม่น้ำโขงในเขตภาคอีสานตอนเหนือการแทรกแซงจากอยุธยา

ประวัติศาสตร์ไทย

ยุคก่อนประวัติศาสตร์บ้านเชียง ประมาณ 2500 ปีก่อน พ.ศ.บ้านเก่า ประมาณ 2000 ปีก่อน พ.ศ.ยุคอาณาจักรสุวรรณภูมิ
ก่อนพุทธศตวรรษที่ 3- พุทธศตวรรษที่ 5โจฬะ
พุทธศตวรรษที่ 2-17สุวรรณโคมคำ
พุทธศตวรรษที่4-5ทวารวดี-นครชัยศรี-ศรีจนาศะ
ประมาณ พุทธศตวรรษที่ 5-15โยนกนาคพันธุ์
พ.ศ. 638-1088คันธุลี
พ.ศ. 994-1202 เวียงปรึกษา
1090-1181ศรีวิชัย
พ.ศ. 1202-1758 ละโว้
1191 -1470หิรัญเงินยางฯ
1181 – 1805 หริภุญชัย
1206-1835 สงครามสามนคร พ.ศ. 1467-1470 สุพรรณภูมิ
ละโว้
ตามพรลิงค์
ลังกาสุกะ พริบพรี
นครศรีธรรมราช สุโขทัย
1792-1981พะเยา
1190-2011เชียงราย
1805-1835ล้านนา
1835-2101อยุธยา (1)พ.ศ. 1893-2112   สค.ตะเบ็งชเวตี้   สค.ช้างเผือก
  เสียกรุงครั้งที่ 1
   พ.ศ. 2112พิษณุโลก
2106-2112ล้านนาของพม่า
2101-2317
  แคว้นล้านนา
  แคว้นเชียงใหม่กรุงศรีอยุธยา (2)
พ.ศ. 2112-2310เสียกรุงครั้งที่ 2สภาพจลาจลกรุงธนบุรี
พ.ศ. 2310-2325ล้านนาของสยาม
2317-2442
  นครเชียงใหม่

     กรุงรัตนโกสินทร์
พ.ศ. 2325-ปัจจุบัน
  สงครามเก้าทัพ
  อานามสยามยุทธ
  การเสียดินแดน
  มณฑลเทศาภิบาล
  สงครามโลก: ครั้งที่ 1 – ครั้งที่ 2 ยุครัฐประชาชาติประเทศไทย

ที่ตั้งและอาณาเขตEdit

อาณาจักรสุโขทัย ตั้งอยู่บนเส้นทางการค้าผ่านคาบสมุทรระหว่างอ่าวเมาะตะมะและที่ราบลุ่มแม่น้ำโขงตอนกลาง มีอาณาเขตดังนี้[1]

ทิศเหนือ มีเมืองเวียงโกศัย (ปัจจุบันคือแพร่ทิศใต้ มีเมืองพระบาง (ปัจจุบันคือนครสวรรค์ทิศตะวันตก มีเมืองฉอด (ปัจจุบันคือแม่สอด) เป็นเมืองชายแดนที่จะติดต่อเข้าไปยังอาณาจักรมอญทิศตะวันออก ถึงเมืองสะค้าใกล้แม่น้ำโขงในเขตภาคอีสานตอนเหนือการแทรกแซงจากอยุธยา

ประวัติศาสตร์ไทย

ยุคก่อนประวัติศาสตร์บ้านเชียง ประมาณ 2500 ปีก่อน พ.ศ.บ้านเก่า ประมาณ 2000 ปีก่อน พ.ศ.ยุคอาณาจักรสุวรรณภูมิ
ก่อนพุทธศตวรรษที่ 3- พุทธศตวรรษที่ 5โจฬะ
พุทธศตวรรษที่ 2-17สุวรรณโคมคำ
พุทธศตวรรษที่4-5ทวารวดี-นครชัยศรี-ศรีจนาศะ
ประมาณ พุทธศตวรรษที่ 5-15โยนกนาคพันธุ์
พ.ศ. 638-1088คันธุลี
พ.ศ. 994-1202 เวียงปรึกษา
1090-1181ศรีวิชัย
พ.ศ. 1202-1758 ละโว้
1191 -1470หิรัญเงินยางฯ
1181 – 1805 หริภุญชัย
1206-1835 สงครามสามนคร พ.ศ. 1467-1470 สุพรรณภูมิ
ละโว้
ตามพรลิงค์
ลังกาสุกะ พริบพรี
นครศรีธรรมราช สุโขทัย
1792-1981พะเยา
1190-2011เชียงราย
1805-1835ล้านนา
1835-2101อยุธยา (1)พ.ศ. 1893-2112   สค.ตะเบ็งชเวตี้   สค.ช้างเผือก
  เสียกรุงครั้งที่ 1
   พ.ศ. 2112พิษณุโลก
2106-2112ล้านนาของพม่า
2101-2317
  แคว้นล้านนา
  แคว้นเชียงใหม่กรุงศรีอยุธยา (2)
พ.ศ. 2112-2310เสียกรุงครั้งที่ 2สภาพจลาจลกรุงธนบุรี
พ.ศ. 2310-2325ล้านนาของสยาม
2317-2442
  นครเชียงใหม่

     กรุงรัตนโกสินทร์
พ.ศ. 2325-ปัจจุบัน
  สงครามเก้าทัพ
  อานามสยามยุทธ
  การเสียดินแดน
  มณฑลเทศาภิบาล
  สงครามโลก: ครั้งที่ 1 – ครั้งที่ 2 ยุครัฐประชาชาติประเทศไทย
  ปฏิวัติ พ.ศ. 2475
  เปลี่ยนแปลงชื่อประเทศ
  พ.ศ. 2475–2516
  พ.ศ. 2516–ปัจจุบันสหรัฐไทยเดิม
พ.ศ. 2485-2489

จัดการ: แม่แบบ • พูดคุย • แก้ไข

หลังจากพ่อขุนรามคำแหงสวรรคตแล้ว เมืองต่างๆเริ่มแข็งเมือง ส่งผลให้ในรัชกาลพญาเลอไท และรัชกาลพญาไสลือไท ต้องส่งกองทัพไปปราบหลายครั้งแต่มักไม่เป็นผลสำเร็จ และการปรากฏตัวขึ้นของอาณาจักรอยุธยาทางตอนใต้ซึ่งกระทบกระเทือนเสถียรภาพของสุโขทัยจนในท้ายที่สุดก็ถูกแทรกแทรงจากอยุธยา จนมีฐานะเป็นหัวเมืองของอยุธยาไปในที่สุด โดยมี พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล) เป็นผู้ปกครองสุโขทัยในฐานะรัฐอิสระพระองค์สุดท้าย โดยขณะนั้น ด้วยการแทรกแซงของอยุธยา รัฐสุโขทัยจึงถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ

เมืองสรวงสองแคว (พิษณุโลก) อันเป็นเมืองเอก มีพระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล) เป็นผู้ปกครอง

หลังสิ้นรัชกาลพระมหาธรรมราชาที่ 4(บรมบาล) พระยายุทธิษฐิระซึ่งเดิมทีอยู่ศรีสัชนาลัย ได้เข้ามาครองเมืองสองแคว (พิษณุโลก) และเมื่อแรกที่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เสด็จขึ้นผ่านพิภพ เป็นพระมหากษัตริย์กรุงศรีอยุธยา ปรากฏว่าขณะนั้น พระยายุทธิษฐิระ เกิดความน้อยเนื้อต่ำใจ ที่ได้เพียงตำแหน่งพระยาสองแคว เนื่องด้วย สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงเคยดำริไว้สมัยทรงพระเยาว์ว่า หากได้ขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ จะชุบเลี้ยงพระยายุทธิษฐิระให้ได้เป็นพระร่วงเจ้าสุโขทัย พ.ศ. 2011พระยายุทธิษฐิระจึงเอาใจออกห่างจากสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ไปขึ้นกับ พระยาติโลกราช กษัตริย์ล้านนาในขณะนั้น เหตุการณ์นี้ส่งผลให้เกิดการเฉลิมพระนามกษัตริย์ล้านนา จากพระยา เป็น พระเจ้า เพื่อให้เสมอศักดิ์ด้วยกรุงศรีอยุธยา พระนามพระยาติโลกราช จึงได้รับการเฉลิมเป็นพระเจ้าติโลกราช

หลังจากที่พระยายุทธิษฐิระ นำสุโขทัยออกจากอยุธยาไปขึ้นกับล้านนา สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถจึงเสด็จจากกรุงศรีอยุธยา กลับมาพำนัก ณ เมืองสรลวงสองแคว พร้อมทั้งสร้างกำแพงและค่ายคู ประตู หอรบ แล้วจึงสถาปนาขึ้นเป็นเมือง พระพิษณุโลกสองแคว เป็นราชธานีฝ่ายเหนือของอาณาจักรแทนสุโขทัย ในเวลาเจ็ดปีให้หลัง สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถจึงทรงตีเอาสุโขทัยคืนได้ แต่เหตุการณ์ทางเมืองเหนือยังไม่เข้าสู่ภาวะที่น่าไว้วางใจ จึงทรงตัดสินพระทัยพำนักยังนครพระพิษณุโลกสองแควต่อจนสิ้นรัชกาล ส่วนทางอยุธยานั้น ทรงได้สถาปนาสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3พระราชโอรส เป็นพระมหาอุปราช ดูแลอยุธยาและหัวเมืองฝ่ายใต้

ด้วยความที่เป็นคนละประเทศมาก่อน และมีสงครามอยู่ด้วยกัน ชาวบ้านระหว่างสุโขทัยและอยุธยา จึงมิได้ปรองดองเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน จึงต้องแยกปกครอง โดยพระมหากษัตริย์อยุธยา จะทรงสถาปนาพระราชโอรส หรือพระอนุชา หรือพระญาติ อันมีเชื้อสายสุโขทัย ปกครองพิษณุโลกในฐานะราชธานีฝ่ายเหนือ และควบคุมหัวเมืองเหนือทั้งหมด

การสิ้นสุดของของอาณาจักรสุโขทัย

พ.ศ. 2127 หลังจากชนะศึกที่แม่น้ำสะโตงแล้ว พระนเรศวรโปรดให้เทครัวเมืองเหนือทั้งปวง (เมืองพระพิษณุโลกสองแคว เมืองสุโขทัย เมืองพิชัย เมืองสวรรคโลก เมืองกำแพงเพชร เมืองพิจิตร และเมืองพระบาง [2]) ลงมาไว้ที่อยุธยา เพื่อเตรียมรับศึกใหญ่ พิษณุโลกและหัวเมืองเหนือทั้งหมดจึงกลายเป็นเมืองร้าง หลังจากเทครัวไปเมืองใต้ จึงสิ้นสุดการแบ่งแยกระหว่างชาวเมืองเหนือ กับชาวเมืองใต้ และถือเป็นการสิ้นสุดของรัฐสุโขทัยโดยสมบูรณ์ เพราะหลังจากนี้ 8 ปี พิษณุโลกได้ถูกฟื้นฟูอีกครั้ง แต่ถือเป็นเมืองเอกในราชอาณาจักร มิใช่ราชธานีฝ่ายเหนือ

ในด้านวิชาการ มีนักวิชาการหลายท่านได้เสนอเพิ่มว่า เหตุการณ์อีกประการ อันทำให้ต้องเทครัวเมืองเหนือทั้งปวงโดยเฉพาะพิษณุโลกนั้น อยู่ที่เหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ บนรอยเลื่อนวังเจ้า ในราวพุทธศักราช 2127 แผ่นดินไหวครั้งนี้ส่งผลให้ตัวเมืองพิษณุโลกราพณาสูญ แม้แต่แม่น้ำแควน้อย ก็เปลี่ยนเส้นทางไม่ผ่านเมืองพิษณุโลก แต่ไปบรรจบกับแม่น้ำโพ (ปัจจุบันคือแม่น้ำน่าน) ที่เหนือเมืองพิษณุโลกขึ้นไป และยังส่งผลให้พระศรีรัตนมหาธาตุพิษณุโลก หักพังทลายในลักษณะที่บูรณะคืนได้ยาก ในการฟื้นฟูจึงกลายเป็นการสร้างพระปรางค์แบบอยุธยาครอบทับลงไปแทน ทั้งหมด

ความเจริญรุ่งเรืองEdit

ด้านเศรษฐกิจ

สภาพเศรษฐกิจสมัยสุโขทัยเป็นระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม ดังข้อความปรากฏในหลักศิลาจารึกหลักที่ 1 “…ใครจักใคร่ค้าช้างค้า ใครจักใคร่ค้าม้าค้า ใครจักใคร่ค้าเงินค้า ทองค้า ” และ “…เมืองสุโขทัยนี้ดี ในน้ำมีปลาในนามีข้าว…” ประชาชนประกอบอาชีพเกษตรกรรมด้วยระบบการเกษตรแบบพึ่งพาธรรมชาติ เช่นสังคมไทยส่วนใหญ่ในชนบทปัจจุบัน และ ส่งออกเครื่องถ้วยชามสังคโลก.

ด้านสังคมและศาสนา

การใช้ชีวิตของผู้คนในสมัยสุโขทัยมีความอิสรเสรี มีเสรีภาพอย่างมากเนื่องจากผู้ปกครองรัฐให้อิสระแก่ไพร่ฟ้า และปกครองผู้ใต้ปกครองแบบพ่อกับลูก ดังปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกว่า “…ด้วยเสียงพาทย์ เสียงพิณ เสียงเลื่อน เสียงขับ ใครจักมักเล่น เล่น ใครจักมักหัว หัว ใครจักมักเลื่อน เลื่อน…”

ด้านความเชื่อและศาสนา สังคมยุคสุโขทัยประชาชนมีความเชื่อทั้งเรื่องวิญญาณนิยม (Animism) ไสยศาสตร์ ศาสนาพราหมณ์ฮินดู และพุทธศาสนา ดังปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกหลักที่ 1 ด้านที่ 3 ว่า “…เบื้องหัวนอนเมืองสุโขทัยนี้มีกุฎิวิหารปู่ครูอยู่ มีสรีดพงส์ มีป่าพร้าว ป่าลาง ป่าม่วง ป่าขาม มีน้ำโคก มีพระขระพุงผี เทพยาดาในเขาอันนั้นเป็นใหญ่กว่าทุกผีในเมืองนี้ ขุนผู้ใดถือเมืองสุโขทัยนี้แล้ว ไหว้ดีพลีถูก เมืองนี้เที่ยว เมืองนี้ดี ผิไหว้บ่ดี พลีบ่ถูก ผีในเขาอันนั้นบ่คุ้มบ่เกรง เมืองนี้หาย…”

ส่วนด้านศาสนา ได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนานิกายเถรวาทแบบลังกาวงศ์จากนครศรีธรรมราช ในวันพระ จะมีภิกษุเทศนาสั่งสอน ณ ลานธรรมในสวนตาล โดยใช้พระแท่นมนังคศิลาอาสน์เป็นอาสนะสงฆ์ ในการบรรยายธรรมให้ประชาชนฟัง ยังผลให้ประชาชนในยุคนี้นิยมปฏิบัติตนอยู่ในศีลธรรม มีการถือศีลโอยทานกันเป็นปกติวิสัย ทำให้สังคมโดยรวมมีความสงบสุขร่มเย็น

ด้านการปกครอง

อาณาจักรสุโขทัยปกครองด้วยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 2 ระยะ

1.แบบพ่อปกครองลูก โปรดให้สร้างกระดิ่งแขวนไว้ที่หน้าประตูพระราชวัง เมื่อประชาชนมีเรื่องเดือดร้อนก็ให้ไปสั่นกระดิ่งร้องเรียน พระองค์ก็จะเสด็จมารับเรื่องราวร้องทุกข์ และโปรดให้สร้างพระแท่นมนังคศิลาอาสน์ได้กลางดงตาล ในวันพระจะนิมนต์พระสงฆ์มาเทศน์สั่งสอนประชาชน หากเป็นวันธรรมดาพระองค์จะเสด็จออกให้ประชาชนเข้าเฝ้าและตัดสินคดีความด้วยพระองค์เอง การปกครองแบบนี้ปรากฏในสมัยกรุงสุโขทัยตอนต้น2.แบบธรรมราชา มีกำลังทหารที่ไม่เข้มแข็ง ประกอบกับอาณาจักรอยุธยาที่ก่อตั้งขึ้นใหม่ได้แผ่อิทธิพลมากขึ้น พระองค์ทรงเกรงภัยอันตรายจะบังเกิดแก่อาณาจักรสุโขทัย หากใช้กำลังทหารเพียงอย่างเดียว พระองค์จึงทรงนำหลักธรรมมาใช้ในการปกครอง โดยพระองค์ทรงเป็น แบบอย่างในด้านการปฏิบัติธรรม ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา นอกจากนั้นพระมหาธรรมราชาที่ ๑ ทรงพระราชนิพนธ์วรรณกรรมเรื่อง ไตรภูมิพระร่วง ที่ปรากฏแนวคิดแบบธรรมราชาไว้ด้วย การปกครองแบบนี้ใช้ในสมัยกรุงสุโขทัยตอนปลาย ตั้งแต่พระมหาธรรมราชาที่ ๑ – ๔

ด้านการปกครองส่วนย่อยสามารถแยกกล่าวเป็น 2 แนว ดังนี้

ในแนวราบพ่อขุน เป็นชนชั้นผู้ปกครอง อาจเรียกชื่ออย่างอื่น เช่น เจ้าเมือง พระมหาธรรมราชา หากมีโอรสก็จะเรียก “ลูกเจ้า”ลูกขุน เป็นข้าราชบริพาร ข้าราชการที่มีตำแหน่งหน้าที่ช่วงปกครองเมืองหลวงหัวเมืองใหญ่น้อย และภายในราชสำนักเป็นกลุ่มคนที่ใกล้ชิดและได้รับการไว้วางใจจากเจ้าเมืองให้ปฏิบัติหน้าที่บำบัดทุกข์บำรุงสุขแก่ไพร่ฟ้าไพร่หรือสามัญชน ได้แก่ราษฎรทั่วไปที่อยู่ในราชอาณาจักร (ไพร่ฟ้า)ทาส ได้แก่ชนชั้นที่ไม่มีอิสระในการดำรงชีวิตอย่างสามัญชนหรือไพร่ (อย่างไรก็ตามประเด็นทาสนี้ยังคงถกเถียงกันอยู่ว่ามีหรือไม่)

รูปภาพEdit

มณฑปพระอัจนะ วัดศรีชุม แสดงถึงความรุ่งเรืองของอาณาจักรสุโขทัยในยุคแรก ๆ

วัดเขาพระบาทน้อย และพระเจดีย์ (ไม้เครื่องบนบางส่วนหลงเหลืออยู่)

วิหารหลวง (จำลอง) ศิลปะสมัยสุโขทัยในเมืองโบราณ

รายพระนามและรายนามผู้ปกครองEdit

รัฐอิสระลำดับพระนาม/นามตำแหน่งราชวงศ์ช่วงเวลา-พระยาพาลีราชเจ้าเมืองสุโขทัย-พ.ศ. 1043[3]-
ไม่ทราบปี- ตำนานกล่าวว่า พ.ศ. 1043 พระยาพาลีราชแห่งอาณาจักรละโว้เป็นผู้ก่อตั้งเมืองสุโขทัย[4]-พระยาอภัย[5]เจ้าเมืองสุโขทัย-ไม่ทราบปี-พระอรุณกุมาร[6]เจ้าเมืองศรีสัชนาลัย-ไม่ทราบปี-พระยาพสุจราช[7]เจ้าเมืองศรีสัชนาลัย-ไม่ทราบปี-พระยาธรรมไตรโลก[8]เจ้าเมืองศรีสัชนาลัย-ไม่ทราบปี-พระยาศรีจันทราธิบดี[9]พระร่วงเจ้าสุโขทัย(อดีตภิกษุ)พ.ศ. 1502[10]- ไม่ทราบปี1พ่อขุนศรีนาวนำถุมพระร่วงเจ้าสุโขทัยนำถมไม่ทราบปี – พ.ศ. 17242ขอมสบาดโขลญลำพงพระร่วงเจ้าสุโขทัย-ไม่ทราบปี – พ.ศ. 17803พ่อขุนศรีอินทราทิตย์พระร่วงเจ้าสุโขทัยพระร่วงพ.ศ. 1780 – ประมาณ พ.ศ. 18014พ่อขุนบานเมืองพระร่วงเจ้าสุโขทัยพระร่วงประมาณ พ.ศ. 1801 -พ.ศ. 18225พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพระร่วงเจ้าสุโขทัยพระร่วงพ.ศ. 1822 -18426พญาไสสงครามพระร่วงเจ้าสุโขทัยพระร่วงพ.ศ. 18427พญาเลอไทพระร่วงเจ้าสุโขทัยพระร่วงพ.ศ. 1842 -18668พญางั่วนำถุมพระร่วงเจ้าสุโขทัยพระร่วงพ.ศ. 1866 -18909พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไท)พระร่วงเจ้าสุโขทัยพระร่วงพ.ศ. 1890 -191310พระมหาธรรมราชาที่ 2 (ลือไท)พระร่วงเจ้าสุโขทัยพระร่วงพ.ศ. 1913 -1921รัฐบรรณาการอาณาจักรอยุธยาลำดับพระนาม/นามตำแหน่งราชวงศ์ช่วงเวลา10พระมหาธรรมราชาที่ 2 (ลือไท)พระร่วงเจ้าสุโขทัยพระร่วงพ.ศ. 1921-193111พระมหาธรรมราชาที่ 3 (ไสลือไท)พระร่วงเจ้าสุโขทัยพระร่วงพ.ศ. 1931-196212พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล)พระร่วงเจ้าสุโขทัยพระร่วงพ.ศ. 1962-198913พระราเมศวรพระร่วงเจ้าสุโขทัยสุพรรณภูมิพ.ศ. 1989-1991-ว่าง–พ.ศ. 1991-2011รัฐบรรณาการอาณาจักรล้านนาลำดับพระนาม/นามตำแหน่งราชวงศ์ช่วงเวลา14พระยายุทธิษฐิระพระร่วงเจ้าสุโขทัยพระร่วงพ.ศ. 2011-2017

สำหรับรัชกาลต่อจากนี้ ดูเพิ่มที่ พระพิษณุโลกสองแคว

พระยายุทธิษฐิระ (พ.ศ. 1991 – พ.ศ. 2011) (เป็นประเทศราชล้านนาในปี พ.ศ. 2011

[11] [12]

ราชวงศ์สุพรรณภูมิ (พ.ศ. 2011 – พ.ศ. 2031พระเชษฐาธิราช (พ.ศ. 2031 – พ.ศ. 2034พระอาทิตยวงศ์ (พระหน่อพุทธางกูร)(พ.ศ. 2034 – พ.ศ. 2072พระไชยราชา (พ.ศ. 2072 – พ.ศ. 2077ราชวงศ์สุโขทัย – พ.ศ. 2111พระนเรศวร (หลังเสด็จกลับจากหงสาวดี พ.ศ. 2115 – พ.ศ. 2133) (ตำแหน่งพระมหาอุปราชของอยุธยา)[13]พระเอกาทศรถ (พ.ศ. 2133 – พ.ศ. 2148ลำดับพระร่วงเจ้า พระมหาธรรมราชา ผู้ครองผู้ครองเมืองสุโขทัยและเมืองพิษณุโลกสองแคว

พระมหากษัตริย์พระองค์ใดเป็นผู้ผนวกอาณาจักรสุโขทัยเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอยุธยา

สมัยพญาปาลราช หรือพระมหาธรรมราชาที่ 4 โอรสของพระมหาธรรมราชาที่ 3 ครองราชย์อยู่ที่เมืองสองแคว (เมืองพิษณุโลก) ใน พ.ศ. 1962 – 1981 เป็นสมัยที่กรุงสุโขทัยตกเป็นเมืองประเทศราชของกรุงศรีอยุธยาแล้ว จึงไม่มีเหตุการณ์อะไรสำคัญ และเมื่อสิ้นสมัยพญาปาลราช กรุงสุโขทัยก็ถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของกรุงศรีอยุธยา

สุโขทัยถูกผนวกเข้ากับกรุงศรีอยุธยาในสมัยใด

อาณาจักรสุโขทัย
ประวัติศาสตร์
• สถาปนา
พ.ศ. 1792
• เป็นรัฐร่วมประมุขกับกรุงศรีอยุธยา
พ.ศ. 1981
• ถูกผนวกเข้ากับกรุงศรีอยุธยาแล้วสิ้นสุดลง
พ.ศ. 1981
อาณาจักรสุโขทัย - วิกิพีเดียth.wikipedia.org › wiki › อาณาจักรสุโขทัยnull

พระมหากษัตริย์พระองค์ใดเป็นผู้สถาปนาอาณาจักรสุโขทัย

พระมหากษัตริย์พระองค์แรกของไทยคือ พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ หรือ พ่อขุนบางกลางหาว องค์ปฐมบรมกษัตริย์แห่งอาณาจักรสุโขทัย พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ทรงเป็นพระราชบิดาของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ทรงพระราชสมภพเมื่อปี พ.ศ. 1740 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อปี พ.ศ. 1792 และเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 1822 (พระชนมายุ 82 พรรษา) ทรงอยู่ในราชสมบัติ 30 ปี

อาณาจักรสุโขทัยมีความเป็นปึกแผ่นเข้มแข็งมากในสมัยใด

ในสมัยของพระมหาธรรมราชาลิไทเมืองสุโขทัยมีความเจริญรุ่งเรืองขึ้นมาก พระองค์ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์พุทธศาสนาที่ยิ่งใหญ่ ได้อาราธนาพระมหาสามีสังฆราชจากนครพัน อันเป็นเมืองหนึ่งทางตอนใต้ของพม่า ขณะนั้นพุทธศาสนาจากลังกากำลังเจริญอยู่ที่นั่น ด้วยความเลื่อมใสในพุทธศาสนา พระมหาธรรมราชาลิไทได้ออกผนวชและจำพรรษาอยู่ที่วัดป่ามะม่วง ทาง ...

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita