ใครเป็นผู้แต่งเรื่องอิเหนา

‘อิเหนา’ สุดยอดวรรณคดีในรูปแบบร้อยแก้ว

วรรณคดีนอกจากจะเป็นหนังสือเก่าแก่ที่ได้รับความนิยมมาเป็นเวลานานแล้ว วรรณคดีแต่ละเรื่องยังได้สะท้อนวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ รวมไปถึงวัฒนธรรมของคนท้องถิ่นนั้น ๆ ออกมาได้อย่างชัดเจนอีกด้วย และหลายคนอาจกำลังสับสนว่าจริง ๆ แล้ว วรรณคดีกับวรรณกรรมเหมือนกันหรือไม่ วันนี้เรามีคำตอบมาฝากทุกคนกัน

วรรณคดีและวรรณกรรมแตกต่างกันอย่างไร

วรรณคดีทุกเล่มจะต้องผ่านการเป็นวรรณกรรมมาก่อน ซึ่งเมื่อวรรณกรรมเล่นนั้นมีการใช้ภาษาได้เป็นอย่างดี และสละสลวย มีอายุมาอย่างยาวนาน ได้รับความนิยมมาโดยตลอด และเป็นที่ยอมรับจากนักอ่านทุกคนจึงจะถูกยกให้เป็นวรรณคดี ในเวลาเดียวกันวรรณกรรมเป็นเพียงหนังสือทั่วไป จะเน้นความสำคัญเพียงแค่ด้านใดด้านหนึ่ง แบบที่คนนิยมอ่าน ฉะนั้น วรรณกรรมและวรรณคดีจึงไม่ใช่หนังสือประเภทเดียวกันนั่นเอง

[advanced_iframe iframe_hide_elements=”header,footer,#filterWrapper,.bread”  src=”//www.shopat24.com/search/?q=%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B2&qc=&ms=true/&utm_source=blog&utm_medium=iframe” change_iframe_links=”a” change_iframe_links_target=”_blank”]

แต่เมื่อพูดถึงวรรณคดีขึ้นชื่อของไทยที่เป็นที่รู้จัก ‘อิเหนา’ จะต้องเป็นวรรณคดีเล่มแรก ๆ ที่หลายคนเอ่ยถึง ซึ่งแต่เดิมอิเหนาเป็นเคยเป็นนิทานพื้นบ้านที่ชาวชวาแต่งขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองพระมหากษัตริย์ มีชื่อเรียกว่า ‘ปันจี อินู กรัตปาตี’ หรือ ‘ปันหยี’ สำหรับในประเทศไทยจะมี ฉบับมาลัต ที่มีความตรงกันกับฉบับของชวา โดยใช้ภาษากวีของชวาโบราณในการแต่ง

โดยในประเทศไทยได้เกิดข้อสันนิษฐานต่าง ๆ นานา ว่าจุดเริ่มต้นมาจากที่ใด แต่จุดเริ่มต้นที่มีหลักฐานชัดเจนคือข้อสันนิษฐานที่ว่าเจ้าฟ้ากุณฑลและเจ้าฟ้ามงกุฎ ผู้ที่เป็นราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศกับเจ้าฟ้าสังวาล พระองค์ทั้งสองได้รับฟังนิทานชวาเรื่องอิเหนามาจากนางกำนัลชาวมลายูที่เดินทางมาจากปัตตานี เมื่อพระราชธิดาทั้งสองได้ฟังก็ทรงปลาบปลื้มและจึงได้ทรงแต่งเรื่องอิเหนา (ฉบับภาษาไทย) ขึ้นมาพระองค์ละเรื่อง คือ อิเหนาใหญ่ (ดาหลัง) และอิเหนาเล็ก (อิเหนา)

เรื่องราวของอิเหนา ฉบับร้อยแก้ว

สำหรับใน ShopAt24 ก็มีหนังสืออิเหนา ฉบับร้อยแก้วจำหน่ายอยู่ด้วยเช่นกัน โดยหนังสือเล่มนี้ได้มีการถ่ายสุดยอดวรรณคดีของไทยให้ออกมาในรูปแบบของร้อยแก้ว เป็นผลงานการแต่งของ ศ.ดร.รื่นฤทัย สัจจพันธุ์ เพื่อให้คนรุ่นใหม่ได้ทำความเข้าใจกับสุดยอดวรรณคดีเรื่องนี้แบบเข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน

ทำความรู้จักอิเหนา วรรณคดีขึ้นชื่อของไทย

ในเรื่องอิเหนา จะเป็นการเล่าถึงกษัตริย์ 4 พระองค์ นามว่า กุเรปัน ดาหา กาหลัง สิงหัดส่าหรี ที่เป็นชื่อของแต่ละเมือง พร้อมด้วยนครหมันหยาที่เกี่ยวดองเป็นญาติกัน ซึ่งเมื่อมเหสีเอกของท้าวกุเรปันคลอดบุตรออกมา องค์ปะตาระกาหลาซึ่งเป็นเทวาบนนสวรรค์ก็ได้มอบกริซให้กับโอรสผู้วาสนาสูงชื่อว่า ‘อิเหนา’ จากนั้นพระกุเรปันจึงได้ขอหมั้น ‘นางบุษบา’ ธิดาของท้าวดาหาให้กับอิเหนาลูกชาย

แต่แล้วเรื่องกลับพลิกผันเมื่ออิเหนาไปพบรักกับ ‘นางจินตะหรา’ ธิดาของท้าวหมันหยา และขอถอนหมั้นนางบุษบา (ทั้งที่ยังไม่เห็นหน้า) ทันที ขณะเดียวกัน ‘จรกา’ รูปชั่วตัวดำก็รีบเข้ามาขอนางบุษบาเป็นเมีย ท้าวดาหาก็ยกให้ทันทีเพราะแค้นใจอิเหนา

ต่อมา เทวาบนนสวรรค์ก็ได้ดลบันดาลให้ ‘วิหยาสะกำ’ โอรสของท้าวกะหมังกุหนิงต้องการอยากได้ตัวนางบุษบา เมื่อท้าวดาหายกนางให้ไม่ได้จึงเกิดเป็นศึกแย่งชิงตัวนาง ทำให้ท้าวดาหาต้องขอความช่วยเหลือจากจรกาและอิเหนา เมื่อสู้รบเสร็จฝ่ายท้าวดาหาเป็นผู้ชนะ นั่นจึงทำให้อิเหนาได้เจอนางบุษบาหญิงรูปงามเป็นครั้งแรก แล้วความวุ่นวายต่าง ๆ ก็เริ่มก่อตัวขึ้นอีกครั้ง…

นี่เป็นเพียงแค่น้ำจิ้มของเรื่องอิเหนาเท่านั้น ซึ่งหากใครต้องการอ่าน เล่าเรื่องอิเหนา ฉบับร้อยแก้ว สามารถสั่งซื้อได้แล้วที่หน้าเว็บไซต์ ShopAt24.com ที่มาพร้อมกับคูปองส่วนลด และโปรโมชั่นจัดส่งฟรี ที่ 7-11 ให้คุณได้คุ้มค่า

อ่านเพิ่มเติม :

  • The New Gate การ์ตูนมังงะสุดฮิต ซื้อที่ไหนถูกสุด
  • ซีเอ็ดบุ๊ค จัดโปรโมชั่นหนังสือดีน่าอ่าน ลดสูงสุด 20%
  • แนะนำ 7 หนังสือน่าอ่าน เพิ่มความรู้ ผ่อนคลายสมอง
  • หนูน้อยหมวกแดง เทพนิยายสุดมหัศจรรย์
  • แว่นตาสำหรับอ่านหนังสือมีวิธีเลือกอย่างไร

ใครเป็นผู้แต่งนิทานเรื่องอิเหนา

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

ใครเป็นผู้แต่งเรื่องอิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง

Untitled Document. ผู้แต่ง พระบาทสมเด็จพระพุธเลิศหล้านภาลัย ทรงนำมาจากบทพระนิพนธ์ของเจ้าฟ้าหญิงมงกุฎ พระราชธิดาในพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เพื่อให้แสดงละครรำในพระราชฐานดังในตอนท้ายบทพระราชนิพนธ์ ได้ทรงอ้างถึงเรื่องอิเหนาในสมัยกรุงศรีอยุธยาไว้ว่า

ผู้แต่ง อิเหนา ที่บรรจุในแบบเรียนวิชาภาษาไทยคือใคร

พระยาศรีสุนทรโวหาร นามเดิม น้อย ต้นสกุลอาจารยางกูร (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2365 — 16 ตุลาคม พ.ศ. 2434) เป็นขุนนางชาวไทย ดำรงตำแหน่งเจ้ากรมพระอาลักษณ์ ควบตำแหน่งเจ้ากรมอักษรพิมพการ ทั้งเป็นผู้แต่งตำราเรียนภาษาไทยชุดแรกสำหรับใช้ในโรงเรียนหลวง และแต่งกวีนิพนธ์อีกหลายเรื่อง พระยาศรีสุนทรโวหาร

เรื่องอิเหนามีลักษณะการแต่งอย่างไร

บทละครรำ เรื่อง อิเหนา มีรูปแบบการแต่งกลอนบทละครซึ่งมีลักษณะบังคับเหมือนกลอนสี่สุภาพ แต่ละวรรคมักจะขึ้นต้นด้วยคำว่า “เมื่อนั้น” “บัดนั้น” และ “มาจะกล่าวบทไป” กลอนบทละคร บทหนึ่งมี ๔ วรรค วรรคละ ๖ คำ หนึ่งบทมี ๒ บาท เรียกว่าบาทเอก และบาทโท ๑ บาท เท่ากับ ๑ คำกลอน มีลักษณะการสัมผัสดังนี้

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita