ข้อใดเป็นมาตรฐานความรู้ของผู้ประกอบวิชาชีพครู

(2) จิตวิทยา พัฒนาการ จิตวิทยาการศึกษา และจิตวิทยา ให้คำปรึกษา ในการวิเคราะห์และพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ
(3) เนื้อหาวิชาที่สอน หลักสูตร ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู้
(4) การวัด ประเมินผลการเรียนรู้ และการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน
(5) การใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา
(6) การออกแบบและการดำเนินการเกี่ยวกับงานประกันคุณภาพการศึกษา

(ข) มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ ผ่านการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาทางการศึกษาเป็นเวลาไม่นอยกว่าหนึ่งปี และผ่านเกณฑ์การประเมินปฏิบัติการสอน ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการคุรุสภากำหนด ดังต่อไปนี้
(1) การฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน
(2) การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ
ทั้งนี้ รายละเอียดของมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการคุรุสภากำหนด

2. มาตรฐานการปฏิบัติงาน ผู้ประกอบวิชาชีพครู ต้องมีมาตรฐานการปฏิบัติงาน ดังนี้

(ก) การปฏิบัติหน้าที่ครู
(1) มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียน ด้วยจิตวิญญาณความเป็นครู
(2) ประพฤตตนเป็นแบบอย่างที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง
(3) ส่งเสริมการเรียนรู้ เอาใจใส่ และยอมรับความแตกต่างของผู้เรียนแต่ละบุคคล
(4) สร้างแรงบันดาลใจผู้เรียนให้เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ และผู้สร้างนวัตกรรม
(5) พัฒนาตนเองให้มีความรอบรู้ ทันสมัย และทันต่อการเปลี่ยนแปลง

(ข) การจัดการเรียนรู้
(1) พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนรู้ สื่อ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
(2) บูรณาการความรู้ และศาสตร์การสอน ในการวางแผนและจัดการเรียนรู้ที่สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีปัญญารู้คิด และมีความเป็นนวัตกร
(3) ดูแล ช่วยเหลือ และพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลตามศักยภาพ สามารถรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้อย่างเป็นระบบ
(4) จัดกิจกรรมและสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียน โดยตระหนักถึงสุขภาวะของผู้เรียน
(5) วิจัย สร้างนวัตกรรม และประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ดิจิทัลให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
(6) ปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์และมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพ

(ค) ความสัมพันธ์กับผู้ปกครองและชุมชน
(1) ร่วมมือกับผู้ปกครองในการพัฒนาและแก้ปัญหาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์
(2) สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชน เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ที่มีคุณภาพของผู้เรียน
(3) ศึกษา เข้าถึงบริบทของชุมชน และสามารถอยู่ร่วมกันบนพื้นฐานความแตกต่างทางวัฒนธรรม
(4) ส่งเสริม อนุรักษ์วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น

3. มาตรฐานการปฏิบัติตน (คงเดิม) ได้แก่
(1) จรรยาบรรณต่อตนเอง
-ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคมและการเมืองอยู่เสมอ

(2) จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
-ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต และรับผิดชอบต่อวิชาชีพ เป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ

(3) จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
– ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กำลังใจแก่ศิษย์ และผู้รับบริการตามบทบาทหน้าที่โดยเสมอหน้า
– ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้องดีงามแกศิษย์และผู้รับบริการ ตามหน้าที่อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ
– ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย วาจาและจิตใจ
– ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญ ทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์และสังคมของศิษย์และผู้รับบริการ
– ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ ตำแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ

(4) จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
-ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาพึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ

(5) จรรยาบรรณต่อสังคม
-ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบัติตน เป็นผู้นำในการอนุรักษ์ และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อมรักษาผลประโยชน์ ของส่วนรวมและยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

เฉลยข้อสอบมาตรฐานวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา

1.  วิชาชีพใดไม่เป็นวิชาชีพควบคุม

                ก.   ครู

                ข.   ศึกษานิเทศก์

                ค.   นักทรัพยากรบุคคล

                ง.  ผู้อำนวยการโรงเรียน

2. ข้อใดเป็นความหมายของมาตรฐานวิชาชีพตำแหน่งทางการศึกษาที่ไม่ถูกต้อง

              ก.   ผู้บริหารการศึกษา หมายถึง บุคคลซึ่งปฏิบัติงานในตําแหน่งผู้บริหารนอกสถานศึกษาในระดับเขตพื้นที่การศึกษา

              ข.   ผู้บริหารสถานศึกษา  หมายถึง บุคคลซึ่งปฏิบัติงานในตําแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาภายในเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาอื่นที่จัดการศึกษาปฐมวัย ขั้นพื้นฐาน และอุดมศึกษาที่ต่ำกว่าปริญญาทั้งของรัฐและเอกชน

               ค.   ครู หมายถึง  บุคคลซึ่งประกอบวิชาชีพหลักทางด้านการเรียนการสอนและการส่งเสริมการเรียนรู้และการวิจัยของผู้เรียนด้วยวิธีการต่างๆ ในสถานศึกษาปฐมวัย ขั้นพื้นฐาน และอุดมศึกษาที่ต่ำกว่าปริญญาทั้งของรัฐและเอกชน

              ง.    บุคลากรทางการศึกษาอื่น  หมายถึง บุคคลซึ่งทําหน้าที่สนับสนุนการศึกษา ให้บริการหรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ และการบริหารการศึกษาในหน่วยงานการศึกษาต่าง ๆ ซึ่งหน่วยงานการศึกษากําหนดตําแหน่งให้ต้องมีคุณวุฒิทางการศึกษา

3.  ข้อใดเป็นความหมายของ  มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา ที่ถูกต้อง

              ก. ข้อกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ และคุณภาพที่พึงประสงค์ในการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องประพฤติปฏิบัติตามประกอบด้วย มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ มาตรฐานการปฏิบัติงานและมาตรฐานการปฏิบัติตน

          ข.  ข้อกําหนดเทียบเคียงเกี่ยวกับคุณลักษณะ และคุณภาพที่พึงประสงค์ในการประกอบวิชาชีพทางการศึกษามาตรฐานทางการศึกษา ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องประพฤติปฏิบัติตามระกอบด้วย มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ มาตรฐานการปฏิบัติงานและมาตรฐานการปฏิบัติตน

          ค.   ข้อกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะหรือการแสดงพฤติกรรมการปฏิบัติงานและการพัฒนางาน ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องปฏิบัติตามเพื่อให้เกิดผลตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายการเรียนรู้ หรือการจัดการศึกษา รวมทั้งต้องฝึกฝนให้มีทักษะหรือความชํานาญสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง

          ง.   ข้อกําหนดขึ้นเป็นแบบแผนในการประพฤติตน ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องปฏิบัติตาม เพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียง และฐานะของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาให้เป็นที่เชื่อถือศรัทธาแก่ผู้รับบริการและสังคมอันจะนํามาซึ่งเกียรติและศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ



4.  ข้อใดเป็นความหมายของ  มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพวิชาชีพทางการศึกษา ที่ถูกต้อง

          ก.   ข้อกําหนดเกี่ยวกับความรู้และประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ หรือการจัดการศึกษา ซึ่งผู้ต้องการประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องมีเพียงพอที่สามารถนําไปใช้ในการประกอบวิชาชีพได้

          ข.   ข้อกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะหรือการแสดงพฤติกรรมการปฏิบัติงานและการพัฒนางาน ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องปฏิบัติตามเพื่อให้เกิดผลตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายการเรียนรู้ หรือการจัดการศึกษา รวมทั้งต้องฝึกฝนให้มีทักษะหรือความชํานาญสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง

          ค.   ข้อกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ และคุณภาพที่พึงประสงค์ในการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องประพฤติปฏิบัติตามประกอบด้วย มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ มาตรฐานการปฏิบัติงานและมาตรฐานการปฏิบัติตน

         ง.  จรรยาบรรณของวิชาชีพที่กําหนดขึ้นเป็นแบบแผนในการประพฤติตน ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องปฏิบัติตาม เพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียง และฐานะของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาให้เป็นที่เชื่อถือศรัทธาแก่ผู้รับบริการและสังคมอันจะนํามาซึ่งเกียรติและศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ

5.  ข้อใดเป็นความหมายของ  มาตรฐานการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง

          ก.   ข้อกําหนดเกี่ยวกับความรู้และประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ หรือการจัดการศึกษา ซึ่งผู้ต้องการประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องมีเพียงพอที่สามารถนําไปใช้ในการประกอบวิชาชีพได้

          ข.   ข้อกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะหรือการแสดงพฤติกรรมการปฏิบัติงานและการพัฒนางาน ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องปฏิบัติตามเพื่อให้เกิดผลตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายการเรียนรู้ หรือการจัดการศึกษา รวมทั้งต้องฝึกฝนให้มีทักษะหรือความชํานาญสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง

          ค.   ข้อกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ และคุณภาพที่พึงประสงค์ในการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องประพฤติปฏิบัติตามประกอบด้วย มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ มาตรฐานการปฏิบัติงานและมาตรฐานการปฏิบัติตน

         ง.  จรรยาบรรณของวิชาชีพที่กําหนดขึ้นเป็นแบบแผนในการประพฤติตน ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องปฏิบัติตาม เพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียง และฐานะของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาให้เป็นที่เชื่อถือศรัทธาแก่ผู้รับบริการและสังคมอันจะนํามาซึ่งเกียรติและศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ

6.  ข้อใดเป็นความหมายของ  มาตรฐานการปฏิบัติตนที่ถูกต้อง

         ก.   ข้อกําหนดเกี่ยวกับความรู้และประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ หรือการจัดการศึกษา ซึ่งผู้ต้องการประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องมีเพียงพอที่สามารถนําไปใช้ในการประกอบวิชาชีพได้

          ข.   ข้อกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะหรือการแสดงพฤติกรรมการปฏิบัติงานและการพัฒนางาน ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องปฏิบัติตามเพื่อให้เกิดผลตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายการเรียนรู้ หรือการจัดการศึกษา รวมทั้งต้องฝึกฝนให้มีทักษะหรือความชํานาญสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง

          ค.   ข้อกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ และคุณภาพที่พึงประสงค์ในการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องประพฤติปฏิบัติตามประกอบด้วย มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ มาตรฐานการปฏิบัติงานและมาตรฐานการปฏิบัติตน

         ง.  จรรยาบรรณของวิชาชีพที่กําหนดขึ้นเป็นแบบแผนในการประพฤติตน ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องปฏิบัติตาม เพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียง และฐานะของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาให้เป็นที่เชื่อถือศรัทธาแก่ผู้รับบริการและสังคมอันจะนํามาซึ่งเกียรติและศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ

7.  ข้อใดให้การรับรองประกาศนียบัตรวิชาชีพทางการศึกษา

            ก.  ก.ค.ศ.

            ข.  สกสค.

            ค. คุรุสภา

           ง. คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ

8.  ข้อใดให้การรับรองปริญญาบัตรทางการศึกษา

           ก.  ก.ค.ศ.

          ข.  สกสค.

          ค. คุรุสภา

          ง. คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ

9.  ข้อใดให้การรับรองวุฒิบัตรของสถาบันต่าง ๆ ตามมาตรฐานวิชาชีพ

         ก.  ก.ค.ศ.

         ข.  สกสค.

         ค. คุรุสภา

         ง. คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ

10. บทลงโทษผู้ประพฤติผิดจรรยาบรรณวิชาชีพทางการศึกษา ข้อใดผิด

        ก.  ตักเตือน 

      ข.  ภาคทัณฑ์

      ค.  พักใช้ใบอนุญาต

     ง.   ไม่มีข้อใดผิด

11.  การพักใช้ใบอนุญาตข้อใดผิด

       ก.   พักใช้  ปี

       ข.   พักใช้  ปี

       ค.  พักใช้  5   ปี

      ง.   พักใช้  6   ปี

12.  ข้อใดพิจารณาการเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ

          ก.  ก.ค.ศ.

         ข.  สกสค.

         ค. คุรุสภา

         ง. คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ

13.   ข้อใดเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ

          ก.     ก.ค.ศ.

         ข.     สกสค.

         ค.    คุรุสภา

         ง.   คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ

14.  สาระความรู้ สมรรถนะ และมาตรฐานการปฏิบัติงานมาตรฐานความรู้ มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ  จัดทำเป็นข้อใด

         ก.  ระเบียบ

      ข.   ข้อบังคับ

        ค.   ประกาศ

       ง.    กฎกระทรวง

15.  คำตอบในข้อ  14  ผู้จัดทำคือข้อใด

         ก.     ก.ค.ศ.

         ข.     สกสค.

         ค.    คุรุสภา

         ง.    คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ

16.  จรรยาบรรณวิชาชีพทางการศึกษามีกี่ข้อ

         ก.   8   ข้อ

         ข.   9   ข้อ

         ค.   10   ข้อ

         ง.    11   ข้อ

17.  จรรยาบรรณวิชาชีพทางการศึกษา  คือข้อใด

         ก.     มาตรฐานความรู้

         ข.    มาตรฐานการปฏิบัติตน

         ค.     มาตรฐานการปฏิบัติงาน

         ง.     มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ

18.   จรรยาบรรรณต่อตนเองมีกี่ข้อ

          ก.   1   ข้อ

         ข.   2    ข้อ

         ค.   3    ข้อ

         ง.    5    ข้อ

19.  จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการมีกี่ข้อ

         ก.   1   ข้อ

         ข.   2    ข้อ

         ค.   3    ข้อ

         ง.    5    ข้อ

20. จรรยาบรรณข้อใดไม่ถูกต้อง

           ก.  จรรยาบรรณต่อตนเอง

          ข.   จรรยาบรรณต่อลูกศิษย์

          ค.   จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ

         ง.    จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ

21.  คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ  คือข้อใด

         ก.     มาตรฐานความรู้

         ข.    มาตรฐานการปฏิบัติตน

         ค.     มาตรฐานการปฏิบัติงาน

         ง.     มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ

22.   ความเป็นผู้นําทางวิชาการ  คือข้อใด

         ก.    มาตรฐานความรู้

         ข.    มาตรฐานการปฏิบัติตน

         ค.     มาตรฐานการปฏิบัติงาน

         ง.     มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ

23. ข้อใดไม่ใช่  มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพของศึกษานิเทศก์

        ก.    ปฏิบัติการสอนมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี

        ข.    ประสบการณ์สอนมาแล้วไม่น้อยกว่าแปดปี

        ค      มีผลงานทางวิชาการที่มีคุณภาพและมีการเผยแพร่

        ง.     ปฏิบัติการสอนและมีประสบการณ์ในตําแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา หรือผู้บริหารการศึกษา รวมกันมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี

24.  ข้อใดไม่ใช่  มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพของครู

           ก.  ผ่านการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามหลักสูตรปริญญาทางการศึกษา เป็นเวลาไม่น้อยกว่าหนึ่งปี

           ข.  ผ่านการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามหลักสูตรปริญญาทางการศึกษา เป็นเวลาไม่น้อยกว่าสองปี

           ค.   และผ่านเกณฑ์การประเมินปฏิบัติการสอนตามหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขการฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน

          ง.  ผ่านเกณฑ์การประเมินปฏิบัติการสอนตามหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ

25.  ข้อใดไม่ใช่  มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษา

           ก.   ประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี

           ข.   ประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปี

           ค.   ประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนมาแล้วไม่น้อยกว่าสามปี

           ง.     มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนและต้องมีประสบการณ์ในตําแหน่ง หัวหน้าหมวด หรือหัวหน้าสาย หรือหัวหน้างาน หรือตําแหน่งบริหารอื่น ๆ ในสถานศึกษามาแล้วไม่น้อยกว่าสองปี

26.  ข้อใดไม่ใช่  มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพของผู้บริหารการศึกษา

              ก.      มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนมาแล้วไม่น้อยกว่าแปดปี

              ข.      ประสบการณ์ในตําแหน่งผู้บริหารสถานศึกษามาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี หรือ  มีประสบการณ์ในตําแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวงมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี หรือ

              ค.  ประสบการณ์ในตําแหน่งผู้บริหารสถานศึกษามาแล้วไม่น้อยกว่าสามปี หรือ  มีประสบการณ์ใน

ตําแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวงมาแล้วไม่น้อยกว่าสามปี หรือ

             ง.      ประสบการณ์ในตําแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นที่มีประสบการณ์การบริหารไม่ต่ำกว่าหัวหน้า

กลุ่ม หรือผู้อํานวยการกลุ่ม หรือเทียบเท่ามาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี หรือ มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอน และมี

ประสบการณ์ในตําแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา หรือบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง หรือ

บุคลากรทางการศึกษาอื่นที่มีประสบการณ์การบริหารไม่ต่ํากว่าหัวหน้ากลุ่ม หรือผู้อํานวยการกลุ่ม หรือเทียบเท่า

รวมกันมาแล้วไม่น้อยกว่าแปดปี

27.   การส่งเสริมคุณภาพการศึกษา  คือข้อใด

          ก.    มาตรฐานความรู้

         ข.    มาตรฐานการปฏิบัติตน

         ค.     มาตรฐานการปฏิบัติงาน

         ง.     มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ

28.   เป็นผู้นําและสร้างผู้นําทางวิชาการในหน่วยงานของตนได้  คือข้อใด

          ก.    มาตรฐานความรู้

          ข.    มาตรฐานการปฏิบัติตน

         ค.     มาตรฐานการปฏิบัติงาน

         ง.     มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ

29.   ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี  คือข้อใด

         ก.    มาตรฐานความรู้

         ข.    มาตรฐานการปฏิบัติตน

         ค.     มาตรฐานการปฏิบัติงาน

         ง.     มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ

30.  ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเพื่อพัฒนาวิชาชีพการบริหารการศึกษาให้ก้าวหน้าอยู่เสมอ คือข้อใด

         ก.    มาตรฐานความรู้

         ข.    มาตรฐานการปฏิบัติตน

         ค.     มาตรฐานการปฏิบัติงาน

         ง.     มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ


เฉลยพระราชบัญญัติเงินเดือน เงินวิทยฐานะและเงินประจำตำแหน่งครูและบุคลากรทางการศึกษา

1.   พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า

ก.       พระราชบัญญัติเงินเดือน

ข.       พระราชบัญญัติเงินวิทยฐานะ

ค.       พระราชบัญญัติเงินประจำตำแหน่ง

ง.       พระราชบัญญัติเงินเดือน เงินวิทยฐานะและเงินประจำตำแหน่งครูและบุคลากรทางการศึกษา

 2. พระราชบัญญัติไม่ใช้กับข้าราชการในข้อใด

ก.       ข้าราชการในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ข.       ข้าราชการในสถาบันอุดมศึกษาที่สอนในระดับปริญญา

ค.       ข้าราชการที่ ก.ค.ศ.นำมใช้กำหนดให้เป็นตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

ง.       ไม่มีข้อถูก

 3.  ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตามมาตรา  38  (3)  คือข้อใด

      ก.    ครู

      ข.   ครูผู้ช่วย

      ค.   อาจารย์

      ง.   ผู้ช่วยศาสตราจารย์

4.  ข้าราชครูและบุคลากรทางการศึกษามาตรา  38  ค.  (1)  คือข้อใด

         ก.  ครู

         ข.   ศึกษานิเทศก์

         ค.  ผู้บริหารสถานศึกษา

         ง.   รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

5.  เงินวิทยฐานะคือข้อใด

       ก.  เงินเดือน

       ข.  เงินประจำตำแหน่ง

       ค.   เงินเบี้ยหวัดความชอบ

       ง.   ไม่มีข้อถูก


6.  บัญชีเงินเดือนที่ใช้ในปัจจุบัน  คือ  ข้อใด

     ก.  บัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูง

     ข.  บัญชีเงินเดือนขั้นสูงขั้นต่ำ

     ค.   บัญชีเงินเดือน  ฉบับปี  2547

     ง.   บัญชีเงินเดือนข้าราชการพลเรือน

7.  เมื่อกฎหมายข้อสอบพระราชบัญญัติเงินเดือน เงินวิทยฐานะและเงินประจำตำแหน่งครูและบุคลากรทางการศึกษาผ่านอนุมัติจากรัฐสภาแล้วให้ตราเป็นกฎหมายตามข้อใด

      ก.  ระเบียบ

     ข.  ประกาศ

     ค.  กฎกระทรวง

     ง.   พระราชกฤษฎีกา

8.  ตำแหน่งผู้บริหารในสถาบันอุดมศึกษาที่สอนในระดับปริญญาข้อใดไม่ถูกต้อง

       ก.  คณบดี

       ข.  อธิการบดี

       ค.  รองอธิการบดี

       ง.   ศาสตราจารย์

9.  ผู้ทำหน้าที่ปรับอัตราเงินเดือนตามพระราชบัญญัตินี้ที่สูงขึ้นข้อใดถูกต้อง

       ก.   ครม.

      ข.   ก.ค.ศ.

      ค.   อ.ก.ค.ศ

      ง.   รัฐมนตรี

10. การปรับอัตราเงินเดือนเพิ่มขึ้นจะต้องไม่เกินอัตราละเท่าใด

        ก.  10  บาท

       ข.   15  บาท 

       ค.   ร้อยละ  10 

       ง.   ร้อยละ  15

11. อัตราเงินเดือนขั้นต่ำของตำแหน่งอันดับครูผู้ช่วยตามพระราชบัญญัติเงินเดือน เงินวิทยฐานะและเงินประจำตำแหน่งครูและบุคลากรทางการศึกษา  พ.ศ.  2554  ข้อใดถูกต้อง

        ก.   7,940   บาท

        ข.   8;700   บาท

        ค.   7,860   บาท

        ง.     8,840    บาท

12.  อัตราเงินเดือนขั้นสูงของตำแหน่งอันดับค.ศ.3 ตามพระราชบัญญัติเงินเดือน เงินวิทยฐานะและเงินประจำตำแหน่งครูและบุคลากรทางการศึกษา  พ.ศ.  2554  ข้อใดถูกต้อง

         ก.   56,00   บาท

         ข.   43,440  บาท

         ค.   50,550   บาท

          ง.     66,360    บาท


13.  ผู้รับสนองพระบรมราชโองการตามพระราชบัญญัติเงินเดือน เงินวิทยฐานะและเงินประจำตำแหน่งครูและบุคลากรทางการศึกษา  พ.ศ. 

ข้อใดคือมาตรฐานความรู้ผู้ประกอบวิชาชีพ

1. มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ หมายถึง ข้อกำหนดสำหรับผู้ที่จะเข้ามาประกอบวิชาชีพ จะต้องมีความรู้และมีประสบการณ์วิชาชีพเพียงพอที่จะประกอบวิชาชีพจึงจะสามารถขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเพื่อใช้เป็นหลักฐานแสดงว่าเป็นบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ และมีประสบการณ์พร้อมที่จะประกอบวิชาชีพทางการศึกษาได้

มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพครู คือข้อใด *

48. มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพครู คือข้อใด ผ่านการฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน มีประสบการณ์ในตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามที่กำหนดใน กฎกระทรวงมาแล้ว ไม่น้อยกว่าสามปี มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนมาแล้วไม่น้อยกว่าแปดปี

มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพศึกษานิเทศก์ คือข้อใด

มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ 1. มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนมาแล้วไม่น้อยกว่า 10 ปีหรือมีประสบการณ์ด้านการปฏิบัติการสอนและมีประสบการณ์ในตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา และหรือผู้บริหารการศึกษารวมกันมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 10 ปี 2. มีผลงานทางวิชาการที่มีคุณภาพและมีการเผยแพร่

มาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษามีอะไรบ้าง

1. การพัฒนาวิชาชีพ 2. ความเป็นผู้นําทางวิชาการ 3. การบริหารสถานศึกษา 4. หลักสูตร การสอน การวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ 5. กิจการและกิจกรรมนักเรียน 6. การประกันคุณภาพการศึกษา 7. คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ การพัฒนาข้าราชการครู

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita