น้ำมันเฟืองท้ายเปลี่ยนตอนไหน

คนขับรถที่ดูแลรถประจำ มักจะรู้ว่า ควรถ่ายน้ำมันเครื่อง น้ำมันเกียร์ทุก ๆ 10,000 กิโลเมตร เพื่อคงรักษาสภาพเครื่อง หรือน้ำมันเกียร์ แต่หลายคนอาจจะยังไม่รู้ว่าจริง ๆ แล้วยังมีน้ำมันเฟืองท้ายด้วย 

แต่เฟืองท้ายคืออะไร ต้องเปลี่ยนบ่อยไหน ใช้ร่วมกับน้ำมันเครื่องหรือไม่ มาดูครับ

window.googletag = window.googletag || {cmd: []}; googletag.cmd.push(function() { googletag.defineSlot('/22557728108/Article_Middle_leaderboard', [ 728, 90 ], 'div-gpt-ad-1635400875842-0').addService(googletag.pubads()); googletag.pubads().enableSingleRequest(); googletag.pubads().collapseEmptyDivs(); googletag.enableServices(); });

googletag.cmd.push(function() { googletag.display('div-gpt-ad-1635400875842-0'); });

เฟืองท้ายคืออะไร?

เฟืองท้ายมีหน้าที่ถ่ายทอดกำลังจากเพลากลางมาถึงเฟืองท้ายไปยังล้อ มีความสำคัญต่อรถยนต์ที่ขับเคลื่อนล้อหลังเป็นอย่างมาก

เพราะกำลังจากเครื่องยนต์ที่ถูกส่งผ่านชุดเกียร์จะถ่ายทอดมายังเพลาหลังและส่งผ่านให้เฟืองท้ายขับเคลื่อนล้อหลังทั้ง 2 ข้าง

ชุดเฟืองท้ายประกอบไปด้วย

  • เฟืองเดือยหมู (Bevel Pinion) ทำหน้าที่ถ่ายทอดกำลังเครื่องยนต์จากชุดเกียร์ไปยังเฟืองบายศรี
  • เฟืองบายศรี (Differential Pinion) ทำหน้าที่ลดอัตราทดการหมุนจากเฟืองเดือยหมู เปลี่ยนทิศทางการหมุนเพื่อส่งแรงไปยังเพลาทั้ง 2 ข้าง
  • เฟืองดอกจอก (Differential Gear) ทำหน้าที่แบ่งกำลังจากเฟืองบายศรีส่งไปยังเพลา 2 ข้าง ให้ต่างกันในขณะเข้าโค้ง
  • เฟืองข้าง (Side Gear) ทำหน้าที่ส่งกำลังให้ล้อรถหมุน
  • เฟืองท้ายลิมิเตดสลิป (LSD) ทำหน้าที่ล็อกล้อทั้ง 2 ข้าง ให้หมุนด้วยความเร็วเท่ากัน แม้ว่าล้ออีกด้านจะหมุนฟรีอยู่ก็ตาม ทำให้รถยนต์เคลื่อนที่ไปได้ ช่วยเรื่องปัญหาติดหล่ม 

ความหนืด SAE 75

ใช้ร่วมกับน้ำมันเครื่องได้หรือไม่

อันที่จริง น้ำมันเครื่องและน้ำมันเฟืองท้ายคือน้ำมันตัวเดียวกันและสามารถใช้ร่วมกันได้สำหรับรถขับเคลื่อนล้อหน้า

แต่สำหรับรถขับหลัง ต้องแยกเบอร์ความหนืด โดยส่วนของเกียร์เหมาะกับน้ำมันหล่อลื่นมาตรฐาน GL-4 ส่วนเฟืองท้ายเหมาะกับมาตรฐาน GL-5 ที่มีความหนืดมากกว่า เพราะฟันเฟืองส่วนเฟืองเดือยหมู และเฟืองบายศรีมีการเสียดสีกันอย่างรุนแรง จึงต้องใช้ความหนืดมาช่วยหล่อลื่น

เบอร์ความหนืดที่นิยมใช้กันมี 2 เบอร์หลัก ๆ คือ SAE 90 เหมาะสำหรับรถยนต์ที่ใช้งานทั่วไปในชีวิตประจำวัน  ส่วนอีกเบอร์คือ SAE 140 เหมาะกับรถใช้งานหนัก เช่น งานบรรทุกหนัก เพราะเฟืองท้ายรับภาระหนักกว่ารถยนต์ที่ใช้งานทั่วไปจึงจำเป็นต้องเลือกใช้ความหนืดมากกว่า 

ความหนืด SAE 140

ข้อแนะนำในการดูแลรักษาเฟืองท้าย

การเลือกน้ำมันเฟืองท้าย ควรเลือกตามมาตรฐานของรถยนต์ เพราะหากใช้ผิดเบอร์ รถจะมีความอืดมากกว่าปกติ แต่ก็สามารถถ่ายออกและใส่เบอร์ที่ถูกเข้าไปใหม่ได้ 

สำหรับรถที่ขับเคลื่อนล้อหน้า สามารถใช้เบอร์เดียวกับน้ำมันเกียร์ได้ และควรเปลี่ยนถ่ายทุก ๆ ระยะ 20,000 กิโลเมตร หากไม่ทำการเปลี่ยน จะเกิดการเสียดสีกัน และทำให้ส่งเสียงดัง เป็นอาการเรียกว่า เฟืองท้ายหอน และทำให้พังง่ายขึ้น


 

window.googletag = window.googletag || {cmd: []}; googletag.cmd.push(function() { googletag.defineSlot('/22557728108/Article_Bottom_leaderboard', [ 728, 90 ], 'div-gpt-ad-1635400940131-0').addService(googletag.pubads()); googletag.pubads().enableSingleRequest(); googletag.pubads().collapseEmptyDivs(); googletag.enableServices(); });

googletag.cmd.push(function() { googletag.display('div-gpt-ad-1635400940131-0'); });

ติดตามพวกเราได้ที่:

Patiphanw

นักเขียน

นักเขียนมือใหม่ ที่พยายามพัฒนาตัวเองขึ้นไปทุกวัน เริ่มชอบรถตั้งแต่เด็กเพราะบ้านเปิดอู่ จึงมีเวลาอยู่กับรถมาก ชอบไปขับรถเล่นตอนกลางคืน เพราะเป็นเวลาที่จะได้อยู่กับตัวเองมากที่สุด


รวมระยะการเปลี่ยนถ่ายของเหลวในรถยนต์

(อ่าน 3,885)

1. น้ำมันเครื่อง
น้ำมันเครื่องเป็นส่วนสำคัญในการหล่อเลี้ยงเครื่องยนต์ หากไม่เปลี่ยนตามคำแนะนำแล้วละก็อาจจะส่งผลเสียแก่เครื่องยนต์
ระยะการเปลี่ยนน้ำมันเครื่อง
น้ำมันเครื่องเกรดธรรมดา 5,000 กิโลเมตร
น้ำมันเครื่อง กึ่งสังเคราะห์ 7,500-8,000 กิโลเมตร
น้ำมันเครื่องสังเคราะห์ 10,000-15,000 กิโลเมตร

2. น้ำมันเบรก
น้ำเบรก ทำหน้าที่ ดันปั้มเบรกเพื่อกดผ้าเบรก ลงบนจานเบรกให้เกิดแรงเสียดทาน สิ่งที่บ่งบอกอาการอย่างชัดเจนว่าต้องเปลี่ยนน้ำมันเบรก คือ เบรกจม เบรกไม่อยู่ต้องย้ำเบรกบ่อย ๆ
ระยะเปลี่ยนน้ำมันเบรก ทุก 80,000 กิโลเมตร หรือ 3 ปี

3. น้ำมันเกียร์ / น้ำมันเฟืองท้าย
น้ำมันเกียร์ มีหน้าที่หล่อเลี้ยงชิ้นส่วนภายในของเกียร์ไม่ให้สึกหรอ แนะนำให้ใช้ตามคู่มือ
ระยะเปลี่ยนถ่าย น้ำมันเกียร์-เฟืองท้าย 40,000 กิโลเมตร

4. น้ำมันพาวเวอร์
หากไม่เปลี่ยน อาจทำให้ชุดแร็คพาวเวอร์พัง
ระยะเปลี่ยนถ่าย น้ำมันพาวเวอร์ 80,000 กิโลเมตร

5. น้ำยาหม้อน้ำ
ช่วยลดอุณหภูมิการทำงานของเครื่องยนต์ให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม
ระยะเปลี่ยนถ่าย น้ำยาหม้อน้ำ 50,000 กิโลเมตร

น้ำมันเกียร์เฟืองท้ายกี่ปีเปลี่ยน

ระยะเปลี่ยนน้ำมันเบรก ทุก 80,000 กิโลเมตร หรือ 3 ปี 3. น้ำมันเกียร์ / น้ำมันเฟืองท้าย น้ำมันเกียร์ มีหน้าที่หล่อเลี้ยงชิ้นส่วนภายในของเกียร์ไม่ให้สึกหรอ แนะนำให้ใช้ตามคู่มือ ระยะเปลี่ยนถ่าย น้ำมันเกียร์-เฟืองท้าย 40,000 กิโลเมตร

น้ํามันเฟืองท้ายวีโก้เปลี่ยนทุกกี่กิโล

ระยะการเปลี่ยนน้ำมันเกียร์/น้ำมันเฟืองท้าย ควรตรวจสอบ ทุกๆ ระยะ 40,000 กิโลเมตร โดยการตรวจสอบมีดังนี้…….

น้ำมันเฟืองท้ายมอไซค์ต้องเปลี่ยนตอนไหน

- เปลี่ยนน้ำมันเฟืองท้ายเมื่อครบ 1,000 กม.และทุกๆ 10,000 กม. - สายพาน V ให้ตรวจสอบการชำรุดเสียหายและสึกหรอเมื่อครบ 7,000 กม. และทุกๆ 3,000 กม. - ตัวสายพานควรเปลี่ยนใหม่เมื่อครบ 25,000 กม.

เปลี่ยนน้ำมันเกียร์ที่กี่กิโล

น้ำมันเกียร์ มีทำหน้าที่หล่อลื่น ระบายความร้อน และลดแรงเสียดสี ป้องกันสนิมจากการกัดกร่อนระหว่างชิ้นส่วนต่างๆของเครื่องยนต์ ทั้งเกียร์ธรรมดาและเกียร์ออโต้ ควรเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเกียร์ทุกๆ 30,000 หรือ 40,000 กิโลเมตร หรือ 2 ปี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะการใช้งานรถของแต่ละคน

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita