ใช้อะไรในการฟื้นฟูดินในทฤษฎีแกล้งดิน

����������� *������ࢵ������鹷���� �Ѵ��ࢵ��������ª���鹷���ص����Ҿ�������Թ ����ѡ��Ҿ�ͧ��鹷���͡�� 3 ��ǹ ��� ࢵʧǹ ࢵ͹��ѡ�� ���ࢵ�Ѳ�� ��ࢵʧǹ���ࢵ͹��ѡ������㹤����Ѻ�Դ�ͺ�ͧ�ҹ��������е�ͧ͹��ѡ����п�鹿���Ҿ��Ҿ�� ��ǹࢵ�Ѳ�� �����ǹ�˭��繾�鹷�������վ���Ҫ��ɮաһ�С����ࢵ�Ԥ��ˡó�������йԤ��ˡó������ �繾�鹷��������·��йӼš���֡���Ԩ��件��·ʹ ���;Ѳ�Ҵ�ҹ����ɵõ���

  • ��ҹ��â��¼š�þѲ��
  • ��þѲ�������ҹ�ͺ�ٹ��� ������ 13 �����ҹ �ӹǹ��Ъҡ÷����� 114,258 �� 1,782 �������͹ ��鹷������� 23,068 ��� ��ɮ��ա�û�Сͺ�Ҫվ�����ҡ���·�駷ӹһ�١���� ��١�о���� ��١�ת��� �ת�ѡ ����§��� ����Ҫվ�ѵ�����
  • ��ҹ��þѲ���ٹ���Ң�

����������� *��ըӹǹ 4 �ٹ��� ��Сͺ���� �ٹ���Ңҷ�� 1 �ç����ǹ�ҧ�ҵѹ�§ ���Թ��û�١�ҧ���Ҿѹ����ҧ� ��л�١�ת����ǹ�ҧ��鹷�� 15.8 ��� �ٹ���Ңҷ�� 2 ��ç��þѲ�������ҹ����ٴ� ���Թ��û�Ѻ��ا��鹷����л�١�ת��Դ��ҧ� ��鹷�� 135 ��� �ٹ���Ңҷ�� 3 �ç��������ҹ����ѵ���ɵ����� ���Թ��������������ɵá�����§���㹺�������ͧ�ǹ ���������÷ӻ���ѵ�� ��С�û�١�ת��Դ��ҧ� 㹾�鹷��Թ������ ��鹷�� 1,500 ��� �ɵá�����ö��١������ż�Ե 40-50 �֧/��� ����ٹ���Ңҷ�� 4 �ç��þѲ�������ҹ⤡�԰-⤡� ��ҹ���� ��鹷�� 30,065 ��� ����繾�鹷������á���Ӽš���֡�Ҩҡ�ç�����駴Թ仢��¼š�þѲ�� �ҡ��鹷�����ջѭ�ҫ��������ӹ���������� ���ɵáû�١������ż�Ե 40-50 �ѧ/���
����������� *���þѲ�Ҿ�鹷������ ���վ���Ҫ���������Թ��þѲ��㹾�鹷������ ���� ����� �ѧ��Ѵ�ѵ�ҹ� �����������������ա�÷ӹ���л�١�ת�ѡ㹾�鹷��ͺ��� ��ҹ����ѧ-��ҹ���¢�� �¾Ѳ�Ҿ�鹷��Թ�����ǨѴ����ɵá÷ӹ���ż�Ե����� 50-60 �֧/��� ��� ��û�١�ת�ѡ�ת��� ��û�١���� ��С������§�ѵ�� ��ÿ�鹿���оѲ�ҡ���ɵ��ࢵ������Ӻҧ��� �»�Ѻ��ا�ԹʹѺʹع�Ѩ��¡�ü�Ե�ҧ��ǹ��ѡɳСͧ�ع��ع���¹�ɵá��ࢵ 3 ����� ���� ��������ͧ ����͵ҡ� ���������������ͧ ���ʹѺʹع��ö��·ʹ��������ҹ����������§�ѵ����������ɵáü���������§�ѵ����㹾�鹷��Ӻš������˹�� ��������ͧ �ѧ��Ѵ��Ҹ���� �ӹǹ 100 ���
����������� *��ç��ÿ����������ҧ����稾�йҧ���� ��к���ҪԹԹҶ �������������ҧ�ҹ���Ѻ��ɮ�㹾�鹷�� ��Ե����âͧ��ɮ�㹨ѧ��Ѵ��Ҹ���� �֡����оѲ���Ҫվ�ҧ����ɵâͧ���ӧҹ�ç��� �֡ͺ�� �ҸԵ����������������ɮ�㹡�û�Сͺ�Ҫվ��ҹ����ɵ� ����շ����� 9 ����� ���������ͧ ��������� ��������˧�Ҵ� ������������ ������������ͧ �������� �ѧ��Ѵ��Ҹ����

แกล้งดิน หมายถึง กระบวนการเร่งปฏิกิริยาเคมีในดินซึ่งมีศักย์หรือความพร้อมจะเป็นดินเปรี้ยว ให้เปรี้ยวรุนแรงมีกรดจัด จากนั้นจึงปรับปรุงโดยเติมปูนขาวหรือด่าง ร่วมกับการใช้ระบบชลประทานนำน้ำมาเจือจางดินเปรี้ยวจนสามารถเพาะปลูกได้ เป็นแนวพระราชดำริที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานเมื่อพุทธศักราช 2527 เพื่อการทดลองที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เมื่อได้ผลแล้วจึงนำไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่ดินเปรี้ยว เช่น พรุในจังหวัดนราธิวาส และพื้นที่ดินเปรี้ยวในจังหวัดนครนายก เป็นต้น การแกล้งดิน คือการเร่งปฏิกิริยาเคมีของดินที่มีแร่กำมะถัน หรือสารประกอบไพไรต์ (Pyrite) โดยทำให้ดินแห้งและเปียกสลับกัน เมื่อดินแห้งสัมผัสกับอากาศ ทำให้แร่กำมะถันกลายเป็นออกไซด์ของเหล็กและซัลเฟต เมื่อทำให้ดินเปียกซัลเฟตผสมกับน้ำกลายเป็นกรดอีกครั้ง เมื่อดินถูกแกล้งสลับไปมาจนกลายเป็นดินที่เปรี้ยวรุนแรงหรือเป็นกรดจัด จากนั้นจึงปรับปรุงดินโดยเติมฝุ่นปูนซึ่งเป็นด่าง ร่วมกับการใช้ระบบชลประทานควบคุมระดับน้ำใต้ดินและนำน้ำมาเจือจางดินเปรี้ยวจนสามารถเพาะปลูกข้าว พืชไร่เช่น ข้าวโพด ผลไม้เช่นเสาวรสและเลี้ยงปลาเช่นปลานิลได้

แนวพระราชดำริแกล้งดิน มาจากการเลียนแบบสภาพธรรมชาติของพื้นที่ภาคใต้ ซึ่งมีฤดูแล้ง 4 เดือน ฤดูฝน 8 เดือน การทดลองใช้วิธีร่นระยเวลาช่วงแล้งและช่วงฝนในรอบปีให้สิ้นลง ปล่อยให้ดินแห้ง 1 เดือน และขังน้ำให้ดินเปียกนาน 2 เดือน ปีหนึ่งจึงมีภาวะดินแห้งและดินเปียก 4 รอบ เหมือนมีฤดูแล้งสลับฤดูฝนปีละ 4 ครั้ง

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ได้ศึกษาวิจัยและปรับปรุงดินโดยวิธีการแกล้งดินจนประสบผลสามารถแก้ปัญหาดินเปรี้ยวในพื้นที่พรุให้เพาะปลูกได้ และขยายผลไปยังพื้นที่พรุบ้านโคกอิฐ-โคกโพธิ์ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส สามารถเพิ่มผลผลิตข้าวไร่ละ 5-10 ถัง เป็น 40-50 ถัง เมื่อพุทธศักราช 2535 นอกจากนี้ยังนำแนวพระราชดำริแกล้งดินไปใใช้ในพื้นที่พรุแฆแฆ จังหวัดปัตตานี มีการปลูกข้าวพันธุ์ชัยนาท ข้าวพันธุ์แก่นจันทร์ ข้าวพันธุ์เฉี้ยงพัทลุง ข้าวพันธุ์หอมสุพรรณบุรี ได้ผลเป็นที่น่าพอใจ
พุทธศักราช 2540 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระบรมราชานุญาตแก่สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.) ดำเนินการขอจดสิทธิบัตร และกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายสิทธิบัตรในพระปรมาภิไธย เลขที่ 22637 วันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ.2550 สำหรับการประดิษฐ์คือ กระบวนการปรับปรุงสภาพดินเปรี้ยวเพื่อให้เหมาะแก่การเพาะปลูก (โครงการแกล้งดิน)

ทฤษฎีแกล้งดิน

หลายคนคงเคยได้ยินเรื่องของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริกันมาบ้างแล้ว ชื่อของโครงการแต่ละโครงการล้วนสะดุดหูชวนให้สนใจติดตามว่าเป็นโครงการอะไร ซึ่งแต่ละชื่อของโครงการล้วนเป็นเหตุเป็นผลทั้งสิ้น บางชื่อก็มีความหมายตรงตามชื่อ โดยมิต้องอ้อมค้อมตีความ เช่น โครงการแก้มลิง คือการนำน้ำในขณะที่มีมาก ๆ มาพักไว้ที่บ่อเก็บและค่อย ๆ ระบายออกไป โดยใช้หลักทฤษฎีแรงโน้มถ่วงของโลก เช่นเดียวกับลิง เมื่อได้รับอาหารมากก็จะรีบกินทั้งหมดแล้วเอาไปเก็บไว้ที่กระพุ้งแก้ม จากนั้นค่อย ๆ นำออกมาเคี้ยวบริโภคภายหลัง หรือโครงการ แกล้งดิน ก็มีความหมายหรือภารกิจที่ทำตรงตามชื่อโครงการ คือทรงใช้วิธีแก้ไขดินที่เปรี้ยวจัดให้ใช้ประโยชน์ทางการเกษตรได้โดยวิธี "แกล้งดิน" 

   ท่านผู้อ่านจะได้ทราบว่าวิธีแกล้งดินนั้นเป็นอย่างไร รวมทั้งเกษตรกรที่ประสบปัญหาดินเปรี้ยวจัดก็สามารถนำวิธีการนี้ไปใช้ ประโยชน์ในการฟื้นฟูและแก้ไขดินในพื้นที่ของท่านได้ เพราะโครงการนี้ผ่านการทดลองปฏิบัติอย่างได้ผลมาแล้ว

ที่มาของโครงการ

สืบเนื่องจากการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ เสด็จแปรพระราชฐานไปยังจังหวัดต่าง ๆ อยู่อย่างสม่ำเสมอในการเสด็จแปรพระราชฐานทุกครั้งมิได้เพื่อทรงพักผ่อนเช่น สามัญชนทั่วไป แต่จะเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมเยียนราษฎรหรือติดตามโครงการต่าง ๆ ที่ทรงริเริ่มหรือมีพระราชดำริไว้ ดังนั้นเพื่อเป็นการถวายความสะดวกแด่พระประมุขของชาติ รัฐบาลจึงสร้างพระตำหนักน้อมเกล้าฯ ถวายเป็นที่ประทับในคราวเสด็จแปรพระราชฐานไว้ในหลายจังหวัด เช่น พระตำหนักภูพิงค์ราชนิเวศน์ ที่จังหวัดเชียงใหม่ พระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์ ที่จังหวัดนราธิวาส เป็นต้น

จากการเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรในจังหวัดภาคใต้ ทำให้ทรงทราบว่าราษฎรมีความเดือดร้อนหลายเรื่องโดยเฉพาะในกลุ่มของเกษตร เช่น การขาดแคลนที่ทำกินหรือปัญหาในพื้นที่พรุซึ่งมีน้ำขังอยู่ตลอดปี แม้สามารถทำให้น้ำแห้งได้ ดินในพื้นที่เหล่านั้นก็ยังเป็นดินเปรี้ยวจัด ทำการเกษตรได้ผลน้อยไม่คุ้มทุนพระองค์ทรงตระหนักถึงปัญหาเหล่านี้ว่ามีความ จำนงเร่งด่วนที่จะต้องพระราชทานความช่วยเหลือ ดังจะเห็นได้จากความตอนหนึ่งในพระราชดำรัสต่อไปนี้

“ ..ที่ที่น้ำท่วมนี่หาประโยชน์ไม่ได้ถ้าเราจะทำให้มันโผล่พ้นน้ำขึ้นมา มีการระบายน้ำออกไป ก็จะเกิดประโยชน์กับประชาชนในเรื่องของการทำมาหากินอย่างมหาศาล..” พระองค์ทรงมอบให้หน่วยราชการที่เกี่ยวข้องร่วมกันพิจารณาหาแนว ทางในการปรับปรุงพื้นที่พรุซึ่งมีน้ำแช่ขังอยู่ตลอดปี มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการทำเกษตรให้ได้มากที่สุด โดยต้องคำนึงถึงผลกระทบต่อระบบนิเวศของป่าพรุด้วย

การที่ดินในป่าพรุเป็นดินเปรี้ยวจัดก็เพราะ ดินเหล่านี้เป็นดินที่มีอินทรียวัตถุคือรากพืชเน่าเปื่อยอยู่ข้างบน และในระดับความลึกประมาณ 1-2 เมตร มีลักษณะเป็นดินเลนสีเทาปนน้ำเงินซึ่งมีสารประกอบไพไรต์หรือกำมะถันอยู่มาก ดังนั้น เมื่อดินแห้ง กรดกำมะถันก็จะทำปฏิกิริยากัอากาศทำให้แปรสภาพเป็นดินเปรี้ยวจัดพระองค์จึงมีพระราชประสงค์จะแก้ไขปัญหานี้ให้กับราษฎร

เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2527 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานพระราชดำริ อันเป็นต้นกำเนิดของโครงการ แกล้งดิน ที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ ความว่า “..ให้มีการทดลองทำดินให้เปรี้ยวจัด โดยการระบายน้ำให้แห้งและศึกษาวิธีการแก้ดินเปรี้ยว เพื่อนำผลไปแก้ปัญหาดินเปรี้ยวให้แก่ราษฎรที่มีปัญหาในเรื่องนี้ในเขต จังหวัดนราธิวาส โดยให้ทำโครงการศึกษาทดลองในกำหนด 2 ปี ..”
โครงการ “ แกล้งดิน” จึงกำเนิดขึ้นโดยมีศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ เป็นหน่วยดำเนินการสนองพระราชดำริ เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงความเป็นกรดของดินกำมะถัน

การดำเนินงาน

วิธีดำเนินการในโครงการ เริ่มจากการแกล้งดินให้เปรี้ยวโดยการทำให้ดินแห้งและเปียกสลับกันไป เพื่อเร่งปฏิกิริยาทางเคมีของดินซึ่งจะไปกระตุ้นสารประกอบกำมะถันหรือสารประ กอบไพไรต์ ให้ทำปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศส่งผลให้ดินเป็นกรดจัดคือต้องการ “แกล้งดินให้เปรี้ยวจนสุดขีด” จนพืชเศรษฐกินต่างๆ ไม่สามารถเจริญงอกงามให้ผลผลิตได้ จากนั้นจึงหา

วิธีปรับปรุงดินดังกล่าวให้สามารถปลูกพืชเศรษฐกิจได้ โดยมีแนวพระราชดำริ ดังนี้

1. แก้ไขโดยวิธีการควบคุมระดับน้ำใต้ดิน พยายามคุมน้ำใต้ดินให้อยู่เหนือชั้นดินเลนซึ่งมีสารประกอบไพไรต์ เป็นการป้องกันมิให้สารประกอบไพไรต์ทำปฏิกิริยากับออกซิเจนหรือถูกออกซิไดซ์ โดยมีขั้นตอนดังนี้
1.1 วางระบบการระบายน้ำทั่วทั้งพื้นที่
1.2 ระบายน้ำเฉพาะส่วนบนออก เพื่อชะล้างกรด
1.3 รักษาระดับน้ำในคูระบายน้ำให้อยู่ในระดับไม่ต่ำกว่า 1 เมตรจากผิวดินตลอดทั้งปี

2. แก้ไขโดยวิธีปรับปรุงดิน ตามแนวพระราชดำริ โครงการนี้จะมีวิธีปรับปรุงดิน 3 วิธีอาจเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสมและตามสภาพของดิน คือ

วิธีการที่ 1 ใช้น้ำชะล้างความเป็นกรด ดำเนินการตามขั้นตอนดังนี้
- ใช้น้ำชะล้างดินเพื่อล้างกรด ทำให้ค่า pH เพิ่มขึ้น โดยวิธีการปล่อยน้ำให้ท่วมขังแปลงแล้วระบายออก ทำเช่นนี้ประมาณ 2-3 ครั้ง โดยเว้นให้ห่างกันประมาณ 1-2 สัปดาห์
- ดินจะเปรี้ยวจัดในช่วงดินแห้งหรือในฤดูแห้ง ดังนั้น การชะล้างควรเริ่มในฤดูฝนเพื่อลดปริมาณการช้ำชลประทาน การใช้น้ำชะล้างความเป็นกรดต้องกระทำต่อเนื่องและต้องหวังผลในระยะยาวมิใช่ กระทำเพียง 1 หรือ 2 ครั้งเท่านั้นวิธีนี้เป็นวิธีที่ง่ายที่สุด แต่จำเป็นต้องมีน้ำมากพอที่จะใช้ชะล้างดินควบคู่ไปกับการควบคุมระดับน้ำใต้ ดินให้อยู่เหนือชั้นดินเลนที่มีสารประกอบไพไรต์มาก
- เมื่อดินคลายความเปรี้ยวลงแล้วจะมีค่า pH เพิ่มขึ้น อีกทั้งสารละลายเหล็กและอะลูมินัมที่เป็นพิษก็เจือจางลงจนทำให้พืชสามารถ เจริญเติบโตได้ดีถ้าหากใช้ปุ๋ยไนโตรเจนและฟอสเฟตเช่วยก็สามารถเจริญเติบโต ได้ดีถ้าหากใช้ปุ๋ยในโตรเจนและฟอสเฟตช่วยก็สามารถทำการเกษตรได้

วิธีการที่ 2 การแก้ไขดินเปรี้ยวโดยใช้ปูนผสมคลุกเคล้ากับหน้าดิน คือ
-ใช้วัสดุปูนที่หาได้ง่ายในท้องที่ เช่น ใช้ปูนมาร์ล (mar) สำหรับภาคกลาง หรือปูนฝุ่น ( lime dust ) สำหรับภาคใต้ หว่านให้ทั่ว 1-4 ตันต่อไร่แล้วไถแปรหรือพลิกกลบคืน ( ปริมาณของปูนที่ใช้ขึ้นอยู่กับความรุนแรงในความเป็นกรดของดิน )

วิธีการที่ 3 การใช้ปูนควบคู่ไปกับการใช้น้ำชะล้างและควบคุมระดับน้ำใต้ดินเป็นวิธีการที่ สมบูรณ์ที่สุดและใช้ได้ผลมากในพื้นที่ซึ่งดินเป็นกรดจัดรุนแรงหรือถูกปล่อย ทิ้งให้รกร้างว่างเปล่าเป็นเวลานาน

วิธีการแก้ไข ให้ปฏิบัติไปตามลำดับขั้นตอน ดังนี้

- หว่านปูนให้ทั่วพื้นที่ โดยใช้ปูน 1-2 ตันต่อไร่ แล้วไถกลบ
- ใช้น้ำชะล้างความเป็นกรดออกจากหน้าดิน
- ควบคุมน้ำใต้ดินให้อยู่เหนือชั้นดินเลนที่มีสารประกอบไพไรต์ มากเพื่อป้องกันมืให้ทำปฏิกริยากับออกซิเจน เพราะจะทำดินกลายเป็นกรด

3. การปรับสภาพพื้นที่
เนื่องจากสภาพพื้นที่ดินเปรี้ยวในแถบนี้เป็นป่าพรุ มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่ม จึงทำการระบายน้ำออกจากพื้นที่ได้ลำบาก จำเป็นต้องมีการปรับสภาพพื้นที่ ซึ่งโดยทั่วไปทำกันอยู่ 2 วิธี คือ

3.1 การปรับผิวหน้าดิน โดยการทำให้ผิวหน้าดินลาดเอียงเพื่อให้น้ำไหลออกไปสู่คลองระบายน้ำได้หรือ ถ้าเป็นการทำนาก็ จัดตกแต่งแปลงนาและคันนาให้สามารถเก็บกักน้ำและสามารถระบาย น้ำออกได้ถ้าต้องการ

โครงการแกล้งดิน ใช้สารใด

แกล้งดิน เป็นแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เกี่ยวกับการแก้ปัญหาดินเปรี้ยว หรือดินเป็นกรด โดยมีการขังน้ำไว้ในพื้นที่ จนกระทั่งเกิดปฏิกิริยาเคมีทำให้ดินเปรี้ยวจัด จนถึงที่สุด แล้วจึงระบายน้ำออกและปรับสภาพฟื้นฟูดินด้วยปูนขาว จนกระทั่งดินมีสภาพดีพอที่จะใช้ในการเพาะปลูกได้

โครงการแกล้งดินเป็นโครงการในการแก้ปัญหาดินประเภทใด

จากพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้ดำเนินโครงการ "แกล้งดิน" ซึ่งเป็นโครงการที่ทดลอง แก้ไข ปรับปรุง จนได้วิธีที่เหมาะสมในการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว และด้วยพระปรีชาสามารถทางด้านการเกษตร และด้านนวัตกรรมของพระองค์ ทำให้สามารถยกระดับความเป็นอยู่ของพสกนิกรชาวไทยให้ดีขึ้นสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสาน ...

สารชนิดใดใช้เติมเพื่อแก้ปัญหาดินเปรี้ยว

พื้นที่ดินเปรี้ยวจัดส่วนใหญ่ใช้ประโยชน์ในการทำนาปลูกข้าว โดยการปรับปรุงแก้ไขความเป็นกรดของดินด้วยวัสดุปูนอัตราตามความต้องการปูนของดิน วัสดุปูนที่ใช้ในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัดภาคกลางและภาคตะวันออก ได้แก่ ปูนมาร์ล ส่วนพื้นที่ดินเปรี้ยวจัดภาคใต้ใช้หินปูนฝุ่น พื้นที่ที่ยกร่องปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น ใช้ปูนโดโลไมต์ปรับปรุงแก้ไขความ ...

ขั้นตอนในการแกล้งดินมีการดำเนินการอย่างไร

วิธีดําเนินการในโครงการ เริ่มจากการแกล้งดินให้เปรี้ยวโดยการทําให้ดินแห้งและเปียกสลับกันไป เพื่อเร่งปฏิกิริยาทางเคมีของดินซึ่งจะไปกระตุ้น สารประกอบกํามะถันหรือสารประกอบไพไรต์ ให้ทําปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศส่งผลให้ดินเป็นกรดจัดคือต้องการ “แกล้งดินให้เปรี้ยวจนสุดขีด” จน พืชเศรษฐกินต่างๆ ไม่สามารถเจริญงอกงามให้ผลผลิตได้ ...

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita