หน้าที่โดยตรงของ mrna คือข้อใด

วัคซีน mRNA คืออะไร?  จากกระแสความต้องวัคซีน mRNA ในบ้านเราจนเกิดแอชแท็กบนโลกออนไลน์ ทำให้การเปิดจองวัคซีนโมเดอร์นา จากหลายโรงพยาบาลเอกชนหมดในระยะเวลาอันรวดเร็ว หลายคนจึงอยากรู้จักวัคซีน mRNA ว่าคืออะไร วัคซีนยี่ห้อไหนบ้างที่เป็นวัคซีน mRNA วัคซีน mRNA มีประสิทธิภาพอย่างไร และทำไมถึงได้รับการยอมรับทั่วโลก

mRNA คืออะไร

mRNA คือรูปแบบการสร้างโปรตีนอย่างนึ่งของร่างกาย โดยทั่วไปร่างกายมนุษย์จะมีผลิต mRNA อยู่แล้ว แต่การสร้างวัคซีน mRNA คือการที่เราต้องการให้ร่างกายสังเคราะห์โปรตีนที่ลักษณะคล้าย ๆ โปรตีนหนาม หรือสไปค์ (spike) โปรตีนของไวรัส เป็นการจำลองลักษณะของไวรัสเข้ามาในร่างกายของเราโดยที่ไม่มีการติดเชื้อ ทำให้ร่างกายเตรียมพร้อมที่จะต่อสู่ หากมีเชื้อไวรัสตัวนั้นเข้าสู่ร่างกาย

วัคซีน mRNA ย่อมาจาก Messenger Ribonucleic Acid เป็นเทคโนโลยีในการผลิตวัคซีนรูปแบบใหม่ ที่ลงลึกถึงระดับโมเลกุล จากเดิมที่ใช้โปรตีนของไวรัส หรือใช้ไวรัสที่ถูกทำให้อ่อนแอฉีดเข้าไปร่างกายเพื่อให้ร่างกายสร้างภูมิต้านทานขึ้นมา แต่สำหรับเทคโนโลยี mRNA จะแตกต่างออกไป โดยชิวิธีฉีดพันธุกรรมโมเลกุลที่เรียกว่า mRNA เข้าไปในร่างกาย ซึ่งร่างกายก็จะสร้างโปรตีนที่มีลักษณะคล้ายหนามของไวรัสโควิด-19 แต่ไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ขึ้นมา ซึ่งโปรตีนตัวนี้จะกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิต้านทานเพื่อต่อสู่กับไวรัส นอกจากนี้วัคซีนยังมี ไขมันอนุภาคนาโน (lipid nanoparticle) ที่ใช้ห่อหุ้ม mRNA เพื่อป้องกันการ​ย่อยสลายจากเอนไซม์ไรโบนิวคลิเอสซึ่งมีอยู่ทั่วร่างกาย

โดยธรรมชาติ สารพันธุกรรม mRNA เหล่านี้จะถูกขจัดออกจากร่างกายภายในระยะเวลาไม่นาน จึงไม่สะสมหรือฝังตัวอยู่ในนิวเคลียสของเซลล์ในร่างกาย

ข้อดีของเทคโนโลยี mRNA

  • ใช้เวลาในการผลิตน้อยกว่าวัคซีนทั่วไป เนื่องจากใช้กระบวนการสังเคราะห์ในห้องปฎิบัติการ ไม่จำเป็นต้องอาศัยโรงงานขนาดใหญ่
  • การผลิตไม่ต้องใช้กระบวนการซับซ้อน
  • สามารถผลิตวัคซีนได้ในริมาณมาก
  • สามารถปรับปรุงวัคซีนเพื่อรองรับสายพันธุ์หากมีการกลายพันธุ์ได้ง่าย
  • แม้จะมีข้อมูลเกี่ยวกับการแพ้ และเป็นเทคนิคการผลิตวัคซีนแบบใหม่ ที่ยังไม่เคยใช้ในการผลิตวัคซีนตัวอื่น ทำให้มีความกังวลเรื่องความปลอดภัยระยะยาว แต่อย่างไรก็ตาม ในช่วงเวลาอันสั้น ได้มีการนำไปใช้แล้วกว่า 100 ล้านโดส ทำให้มีประสบการณ์การใช้อย่างรวดเร็ว ที่ทำให้มั่นใจถึงความปลอดภัยได้

ข้อจำกัดของวัคซีน mRNA

  • ต้องเก็บรักษาวัคซีนที่อุณหภูมิต่ำมาก เนื่องจาก mRNA ถูกทำลายได้ง่าย
  • ต้องอาศัยนาโนพาร์ติเคิล (Nanoparticle) ซึ่งเป็นสารที่นำมาห่อหุ้มป้องกัน และเป็นตัวนำพา mRNA สารนี้อาจกระตุ้นการแพ้รุนแรงได้

การใช้วัคซีนชนิด mRNA ป้องกันโรคโควิด-19
ปัจจุบันทั่วโลกฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ชนิด mRNA มากกว่า 500,000,000 โดส จากการศึกษาพบว่ามีโอกาสเกิดผลข้างเคียงต่ำประมาณ 3-5 : 1,000,000 โดส ซึ่งใกล้เคียงกับวัคซีนอื่น ๆ ที่กำลังฉีดทั่วโลก โดยภาพรวมถือว่าวัคซีนชนิดนี้มีความปลอดภัยสูง และเป็นวัคซีนที่ได้ผลในการป้องกันการติดเชื้อโรคโควิด-19 สูงถึงร้อยละ 95

ปัจจุบันวัคซีน mRNA มียี่ห้ออะไรบ้างปัจจุบันวัคซีน mRNA มีอยู่ด้วยกัน 2 ยี่ห้อ (ข้อมูล ณ เดือนกรกฎาคม 2564) ได้แก่ ไฟเซอร์-โมเดอร์นา

กระแสโซเชียลในช่วงนี้มีการพูดถึง วัคซีนชนิด “mRNA” เป็นจำนวนมาก แต่หลายคนอาจจะยังไม่รู้ว่า mRNA แท้จริงแล้วย่อมาจากอะไร วันนี้ Longdo จะพาไปทำความรู้จักวัคซีนชนิดนี้กันค่ะ

ข้อมูลจาก ศ.นพ.เกียรติ รักษ์รุ่งธรรม โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย อธิบายเอาไว้ในบทความวิชาการ ระบุว่า

mRNA (อ่านว่า เอ็ม-อาร์-เอ็น-เอ) ย่อมาจาก messenger Ribonucleic Acid เป็นสารพันธุกรรมที่อยู่ในเซลล์ของร่างกาย ทำหน้าที่ออกคำสั่งให้เซลล์ผลิตโปรตีนขึ้นตามรหัสคำสั่งนั้นๆ เป็นกลไกปกติของร่างกาย

การทำงานของวัคซีนชนิด mRNA

หลักการทำงานของวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ชนิด mRNA คือการเอาชิ้นส่วนสารพันธุกรรมของเชื้อโควิด- 19 (mRNA) ส่วนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างโปรตีนส่วนที่เป็นปุ่มหนามของเชื้อไวรัสนำมาสังเคราะห์เป็นรหัสคำสั่งที่เรียกว่า S-spike mRNA

เมื่อฉีดวัคซีนชนิด mRNA เข้าสู่ร่างกายจะทำให้เซลล์ในร่างกายผลิตโปรตีนส่วนที่เป็นปุ่มหนามของไวรัสขึ้น และโปรตีนที่ผลิตในส่วนนี้เองจะทำหน้าที่เป็นตัวกระตุ้นภูมิคุ้มกัน ให้ร่างกายรู้จักกับเชื้อโรคโควิด-19 และสร้างภูมิคุ้มกัน เพื่อป้องกันการเจ็บป่วยหรือเสียชีวิตจากโรคโควิด-19

วัคซีน mRNA ให้ผลในการป้องกันการติดเชื้อโรคโควิด-19 สูงถึง 95% โดยวัคซีนชนิด mRNA ที่มีอยู่ในปัจจุบัน ได้แก่ ไฟเซอร์ และ โมเดอร์นา

ข้อดี-ข้อจำกัด ของวัคซีนชนิด mRNA

ข้อดี : ผลวิจัยจากมูลนิธิเพื่อการทำงานของประชากรและสุขภาพของประชากร (PHG) ในมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ เผยว่าวัคซีน mRNA มีความปลอดภัยสูง เพราะไม่มีเชื้อไวรัสที่มีชีวิตหลงเหลือ ไม่เกิดความเสี่ยงต่อร่างกาย เชื่อถือได้ และผลิตได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย

ข้อจำกัด : มีข้อมูลถึงการแพ้และอาจมีผลข้างเคียง และวัคซีนชนิดนี้ใช้เทคนิคการผลิตวัคซีนแบบใหม่ ที่ยังไม่เคยใช้ในการผลิตวัคซีนตัวอื่น ทำให้มีความกังวลเรื่องความปลอดภัยระยะยาว และต้องเก็บรักษาอย่างดีเพื่อคงประสิทธิภาพวัคซีน

เปรียบเทียบกับวัคซีนที่ผลิตจากเชื้อตายอย่าง Sinopharm, Sinovac ที่ใช้ไวรัสที่อ่อนแอลงหรือตายแล้วมากระตุ้นระบบภูมิคุ้มกัน 

ข้อดี : GAVI (Global Alliance for Vaccine and Immunization) องค์กรความร่วมมือด้านสาธารณสุขระดับโลกระหว่างรัฐและเอกชน เผยว่าเป็นวัคซีนที่เหมาะสำหรับผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่ำ อีกทั้งผลิตได้ง่ายกว่าวิธีอื่น 

ข้อจำกัด : ราคาค่อนข้างสูง เนื่องจากกรรมวิธีในการผลิตต้องดำเนินการในห้องปฎิบัติการที่มีระบบความปลอดภัยทางชีวภาพในระดับ 3

อาจจะต้องปรับปรุงประสิทธิภาพวัคซีนห้ทันต่อการกลายพันธุ์ไวรัสสายพันธุ์ “เดลตา”

เราพอจะได้ทราบข้อดีและข้อจำกัดของวัคซีนทั้ง 2 ประเภทไปแล้ว ตอนนี้ยังไม่มีวัคซีนประเภทไหนที่สามารถป้องกันเชื้อไวรัสได้ 100% ซึ่งตอนนี้ทุกยี่ห้อกำลังอยู่ระหว่างการศึกษา ดังนั้นพวกเรายังต้องป้องกันตัวเองอย่างดี สวมหน้ากากอนามัย เว้นระยะห่าง ล้างมือสม่ำเสมอ

หน้าที่โดยตรงของเอ็มอาร์เอ็นเอคือข้อใด

messenger RNA (mRNA) ท าหน้าที่น าข้อมูลพันธุกรรมจาก DNA เพื่อไปสร้างโปรตีน transfer RNA (tRNA) ท าหน้าที่ขนส่งกรดอะมิโน ribosomal RNA (rRNA) โมเลกุลชนิดนี้จะไปรวมตัวกับโปรตีนเกิดเป็นไรโบโซม ซึ่งมี หน้าที่เป็นเสมือนโรงงานในการสร้างโปรตีน 5. ค าถาม การแปลรหัสเริ่มต้นที่ codon อะไรและให้กรดอะมิโนชนิดใดเป็นตัวแรก

5' Cap และ 3' Poly

การสื่อสารระหว่างหมวกทางปลาย 5' (5' cap) กับ หางทางปลาย 3' (3' poly-A tail) ซึ่งมี ความจำเป็นสำหรับการแปลรหัสที่มีประสิทธิภาพ รูปที่ 4.12 การควบคุมแบบลบโดยโปรตีนที่จับทางปลาย 5' ตัวอย่าง ในยูแคริโอต เช่นการควบคุมการสังเคราะห์โปรตีนเฟอริติน (ferritin) ที่ใช้

ทรานสเฟอร์อาร์เอ็นเอทำหน้าที่ใด

ทีอาร์เอ็นเอ หรือ อาร์เอ็นเอถ่ายโอน (อังกฤษ: transfer RNA; tRNA) เป็นอาร์เอ็นเอขนาดเล็ก ประมาณ 74-95 นิวคลีโอไทด์ มีหน้าที่นำกรดอะมิโนที่จำเพาะเข้ามาต่อเป็นสายพอลิเพปไทด์ที่ไรโบโซมระหว่างการแปลรหัส กรดอะมิโนจับกับปลาย 3' การสร้างพันธะเพปไทด์อาศัยการทำงานของ aminoacyl tRNA synthetase มีบริเวณที่มีเบสสามเบสเรียกแอนติโค ...

ข้อใดคือการสังเคราะห์ mRNA โดยใช้ DNA เป็นแม่แบบ

การคัดลอกแบบดีเอนเอ เป็นการสังเคราะห์ mRNA โดยใช้ DNA เป็นแม่แบบ ใน DNA เกลียวคู่จะใช้สายใดสายหนึ่งเป็นแม่แบบ เรียกว่าสาย template ส่วนอีกสายที่ไม่ได้ใช้เป็นแม่แบบในการสังเคราะห์ RNA เรียกสาย coding (ภาพที่ 3.11) ขั้นตอนการสังเคราะห์ RNA แบ่งเป็น 3 ขั้นตอนคือ ขั้นเริ่มต้น (initiation) ขั้นต่อสาย (elongation) และขั้น ...

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita