มัลติมิเตอร์ใช้วัดอะไรบ้าง

3 คือ สเกลสำหรับการอ่านค่าแรงไฟแบบกระแสตรง ที่สามารถอ่านได้ทั้งค่าที่เป็นลบ และเป็นบวก มีตัวเลขระหว่าง 0 – 25(+)? และ? 0-25(-)

4 คือ สเกลการอ่านค่าของอัตราการขยายของทรานซิสเตอร์

5 คือ สเกลสำหรับการอ่านค่าแรงไฟสำหรับการตรวจเช็คแบตเตอรี่ที่ไม่เกิน 1.5 V.

6 คือ สเกลสำหรับการอ่านค่าของเสียง มีตัวเลขทางบวก ตั้งแต่ 0 – +(10) dB? และ ทางลบ? 0 – (-10)

 

มัลติมิเตอร์ คือเครื่องมือที่วัดค่าทางไฟฟ้าได้หลายชนิด เช่น วัดแรงดันไฟฟ้าเป็นโวลด์ ความต้านทานเป็นโอห์ม และกระแสไฟฟ้าเป็นมิลลิแอมแปร์ จึงมักเรียกชื่อเป็น VOM meter (voit-ohm-milliammerter) โดยก่อนทำการวัดค่าทุกครั้งจะต้องทำการปรับตั้งที่ปุ่มปรับบนหน้าปัดดังนี้

  1. ปรับตั้งเข็มสำหรับชี้ค่าบนหน้าปัด (pointer adjustment) ให้ชี้ที่ 0 โดยใช้ไขควงปรับเข็มให้ชี้ตรง 0 บนหน้าปัดด้านซ้ายก่อนปรับตั้งปุ่มอื่น ๆ ต่อไป
  2. ปรับสวิตซ์เลือกระบบการวัด (function switch) เพื่อเลือกระบบไฟที่จะวัดเป็นระบบไฟฟ้ากระแสตรง (DC) หรือระบบไฟฟ้ากระแสสลับ (AC)
  3. 3ปรับสวิตซ์เลือกย่านการวัด (range switch) สำหรับเลือกช่วงในการวัดให้เหมาะสม ถ้าไม่รู้ค่าที่จะทำการวัดให้เลือกย่านการวัดที่ลำดับสูงไว้ก่อน หลังจากวัดและอ่านค่าได้โดยประมารแล้วจึงเลือกปรับสเกลการวัดที่เหมาะสมภายหลัง
  4. ปรับปุ่มตั้งค่าความต้านทานเป็นศูนย์ (zero ohms adjuxtment) โดยการเสียบสายวัดทั้งสองเส้นที่ช่องเสียบและแตะปลายสายเพื่อปรับค่าความต้านทานให้เข็มชี้ค่า 0 ก่อนนำมิเตอร์ไปใช้วัดค่าเพื่อเป็นการชดเชยกรณีที่แบตเตอรี่ที่ใช้กับมิเตอร์มีกำลังไฟลดลง ถ้าไม่สามารถปรับให้ตรง 0 ได้ให้เปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม่

เชียงใหม่แอร์แคร์เอ็นจิเนียริ่ง

จำหน่าย ติดตั้ง รับเหมา วางระบบ เครื่องปรับอากาศ เครื่องทำน้ำอุ่น จำหน่ายอะไหล่แอร์ราคาส่งทั่วประเทศ พร้อมบริการหลังการขายครบครัน

สวัสดีครับ…ยินดีต้อนรับสู่โลกของบทความทางด้านอุตสาหกรรม วันนี้เราขอนำเสนอบทความที่เป็นส่วนหนึ่งของเครื่องมือทดสอบทางไฟฟ้า นั้นคือ มัลติมิเตอร์เครื่องมือวัดที่สามารถวัดปริมาณไฟฟ้าได้อย่างหลากหลาย ถ้าเพื่อนๆ ชาว EF SOCIETY  พร้อมแล้วเราไปท่องโลกมัลติมิเตอร์กันเลยครับผม ^^

มัลติมิเตอร์ ชื่อภาษาอังกฤษ Multimeter คือ เครื่องมือหรืออุปกรณ์วัดค่าต่างๆของไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ที่สามารถใช้ได้ทั้งกับไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current : DC) และไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current Electricity : AC) ค่าต่างๆที่ มัลติมิเตอร์สามารถวัดได้ก็เช่น แรงดันไฟฟ้า, กระแส, ความต้านทาน, ความต่างศักย์ เป็นต้น

ที่มาของ มัลติมิเตอร์ คือเมื่อก่อนวิศวกรจะวัดค่าต่างๆของไฟฟ้าในแต่ละทีต้องมีการพกเครื่องวัดไฟฟ้าหลายๆแบบ เช่น โวลท์มิเตอร์ แอมป์มิเตอร์ โอห์มมิเตอร์ ในการวัดเพื่อให้ได้ค่าที่ต้องการ แต่เพื่อความสะดวกและรวดเร็วจึงมีการคิดค้นเครื่องมือที่สามารถวัดค่าต่างๆของไฟฟ้าได้ในครั้งเดียว คือ มิลติมิเตอร์นั่นเอง

ปัจจุบันมัลติมิเตอร์หลักๆมีทั้งหมด 2 แบบได้แก่

1. มิลติมิเตอร์แบบอนาล็อก หรือแบบเข็ม (Analog Multimeter) เป็นประเภทที่ใช้ในยุคแรกๆ และปัจจุบันก็ยังมีการใช้อยู่บ้างแต่ไม่นิยมมากนัก ข้อดีคือราคาที่ไม่สูงมาก อ่านค่าง่าย แต่ก็มีข้อเสียอยู่เยอะพอสมควรถ้าใช้ไม่ชำนาญในการใช้เครื่องมือก็อาจมีการอ่านค่าผิด หรือค่าที่ได้อาจจะไม่ตรงตามจริงขึ้นอยู่กับปัจจัยแวดล้อมขณะวัดค่าด้วย และไม่มีตัวบันทึกข้อมูล ผู้ใช้ต้องจดบันทึกข้อมูลเอง
2. มิลติมิเตอร์แบบดิจิตอล หรือแบบตัวเลข (Digital Multimeter) เป็นแบบที่พัฒนาต่อจากแบบอนาล็อกหรือแบบเข็ม โดยการการแสดงค่าต่างๆที่วัดได้จะออกมาในรูปแบบตัวเลขและตัวหนังสือ ข้อดีคือมีความแม่นยำในการวัดค่าสูง อ่านค่าง่าย สะดวกในการใช้งาน บางรุ่นมีการเชื่อมต่อข้อมูลเพื่อดูค่าต่างๆ ผ่านสาย USB และยังสามารถอ่านค่าและควบคุมมิเตอร์จากหน้าซอฟแวร์ได้ มัลติมิเตอร์แบบดิจิตอลยังจำแนกออกได้อีก 2 ประเภทคือแบบมือถือและแบบตั้งโต๊ะ

สำหรับในอุตสาหกรรมโรงงานหรือกิจการต่าง ๆ ในยุค 4G มีเครื่องมือวัดกระแสไฟฟ้าอีกประเภทหนึ่งที่หลายกิจการและโรงงานได้หันมาใช้งานและกำลังเป็นที่สนใจมากในตอนนี้คือ Clamp Meter เป็นเครื่องวัดกระแสไฟฟ้าแบบไร้สาย

หลักงานทำงานของ Clamp Meter คือ การนำเอาตัวเครื่องนี้ไปคล้องกับสายไฟตามจุดต่างๆที่เราต้องการวัดค่าไฟฟ้า โดยจุดเด่นของอุปกรณ์นี้ที่ดีกว่า แอมป์มิเตอร์ โวลท์มิเตอร์ มัลติมิเตอร์คือ ตัวเครื่องส่งข้อมูลที่วัดได้ผ่านระบบ Bluetooth ไปเก็บไว้ที่ตัวเก็บข้อมูล Gateway และส่งข้อมูลผ่านระบบอินเตอร์เน็ตไปแสดงบน Web Service ที่สามารถข้อมูลได้ทั้งบนคอมพิวเตอร์ และ แอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟน

ภาพหลักการทำงานของเครื่องวัดไฟฟ้าแบบไร้สาย (Clamp Meter)

ข้อดีและจุดเด่นของเครื่องวัดไฟฟ้าแบบไร้สาย (Clamp Meter)

  • สามารถอ่านและรับรู้ค่าต่างๆได้แบบ Realtime
  • ติดตั้งง่ายเพียงแค่คล้องกับสายไฟในจุดที่ต้องการวัด
  • สามารถทราบความผิดปรกติในระบบไฟฟ้าของเราได้อย่างรวดเร็ว
  • มีขนาดเล็กกะทัดรัด
  • มีเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิภายในตัว
  • มีการแจ้งเตือนผ่าน Line
  • ข้อมูลถูกเก็บไว้อย่างปลอดภัย
  • ลดการใช้ทรัพยากรบุคคล
  • สามารถวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ไฟฟ้าได้ผ่าน Web Service
  • สามารถดาวน์โหลดข้อมูล Excel เพื่อดูย้อนหลังได้
  • ประหยัดการใช้ไฟได้โดยการตรวจสอบว่ากระแสไฟยังวิ่งผ่านอยู่หรือเปล่าในกรณีที่เราหยุดใช้ไฟแล้ว

สำหรับเจ้าของกิจการหรือโรงงานอุตสาหกรรมแล้ว เครื่องมือวัดไฟฟ้าแบบไร้สาย (Clamp Meter) ก็เป็นอีกเครื่องมีนึงที่ตอบโจทย์ในการจัดการระบบไฟฟ้าได้เป็นอย่างดี ด้วยระบบต่างที่ที่ซัพพอร์ท ได้อย่างรวดเร็วและสะดวกยิ่งขึ้น

มัลติมิเตอร์ใช้วัดค่าใด

มัลติมิเตอร์(Multimeters) คือ เครื่องมือวัดทางไฟฟ้าที่สามารถวัดปริมาณไฟฟ้าได้หลายปริมาณ แต่ วัดได้ทีละปริมาณ โดยสามารถตั้งเป็นโวลท์มิเตอร์แอมป์มิเตอร์หรือ โอห์มมิเตอร์และเลือกไฟฟ้ากระแสตรง

มัลติมิเตอร์ สามารถวัดปริมาณไฟฟ้าได้กี่อย่าง

มัลติมิเตอร์ เป็นเครื่องมือวัดไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ตัวเครื่องมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนาดเท่าฝ่ามือ ใช้สำหรับวัดค่า หรือตรวจสอบสภาพการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ มีการใช้งานกันโดยทั่วไป เช่น งานอุตสาหกรรม งานรถยนต์ งานซ่อมบำรุงไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ โดยมัลติมิเตอร์ สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภทหลัก ๆ คือ มัลติมิเตอร์แบบดิจิตอล และมิ ...

มัลติมิเตอร์มีกี่ประเภท อะไรบ้าง

เรารู้แล้วว่ามัลติมิเตอร์มี 2 แบบ คือ แบบดิจิตอล และแบบอนาลอก ดังนั้นคุณจะสามารถแยกประเภทของมัลติมิเตอร์ออกได้ ทราบถึงข้อดี ข้อเสียของแต่ละแบบ เพื่อใช้เลือกมัลติมิเตอร์ที่เหมาะสมกับงาน

มัลติมิเตอร์มีวิธีการใช้อย่างไร

หลักการนามัลติมิเตอร์ไปใช้ในการวัดกระแสไฟฟ้า 1. เลือกตาแหน่งที่ต้องการวัดกระแสไฟฟ้า และตรวจสอบทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้า 2. เสียบสายวัดมิเตอร์สีดาที่ขั้วลบ (- COM) และสายวัดสีแดงที่ขั้วบวก (+) เข้ากับมัลติมิเตอร์ 3. ตั้งช่วงการวัดที่เหมาะสม ในกรณีที่ทราบค่ากระแสในวงจร ควรตั้งช่วงการวัดให้สูงกว่าค่ากระแสที่

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita