หลักธรรมใดที่พระพุทธศาสนิกชนทุกคนควรยึดถือเป็นวิถีการดำเนินชีวิต

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

พุทธศาสนิกชน (อังกฤษ: Buddhist) แปลว่า คนที่นับถือศาสนาพุทธ[1] เรียกอีกอย่างว่า พุทธมามกะ ซึ่งหมายถึง ผู้ประกาศตนว่าพระพุทธเจ้าเป็นพระบรมศาสดาของตน[1]

พุทธศาสนิกชน หมายถึง คนที่ยินดีที่จะปฏิบัติตามหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา เต็มใจที่จะปฏิบัติตามหลักธรรมคือ เว้นจากการทำความชั่ว ทำแต่ความดี และทำจิตใจให้หมดจดจากกิเลส ด้วยการบำเพ็ญบุญในพระพุทธศาสนา เช่น ให้ทาน รักษาศีล และเจริญภาวนาเพื่อขัดเกลา อบรม บ่มเพาะกาย วาจา ใจให้งดงามเรียบร้อย ให้สงบนิ่ง และให้พ้นจากความเศร้าหมองต่างๆ

พุทธศาสนิกชน ที่พึงประสงค์คือผู้ปฏิบัติตนให้เป็นผู้รู้ ผู้ฉลาด ตื่นตัวอยู่เสมอ ไม่งมงาย ไม่ประมาทมัวเมา ไม่หลงไปตามกระแสกิเลส

อ้างอิง[แก้]

  • พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช), พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, กรุงเทพฯ : วัดราชโอรสาราม, 2548.

  1. ↑ 1.0 1.1 ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556. 1,544 หน้า. หน้า 842. ISBN 978-616-7073-56-9

30/04/2015 · 1:44 pm

  1. ข้อใดสอดคล้องกับเศรษฐกิจพอเพียง
    1. พึ่งตนเอง เดินสายกลาง ไม่เน้นการแข่งขัน
    2. มีความเป็นอยู่อย่างมีความสุข พอประมาณ
    3. บริโภคน้อย ใช้จ่ายน้อย มีเงินเหลือเก็บ
    4. ทำงานน้อย มีเงินใช้สอยพอควร
  2. การพัฒนาที่ยั่งยืนตามแนวทางของพระพุทธศาสนา มีลักษณะเช่นไร
    1. การพัฒนาโดยเน้นการใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่า
    2. การพัฒนามนุษย์ให้รู้จักสิ่งต่างๆ และปฏิบัติต่อสิ่งนั้นอย่างเหมาะสม
    3. การพัฒนาที่มีการร่วมมือกันของคนในสังคมปัจจุบัน
    4. เพื่อคนในสังคมอนาคตได้มีชีวิตอย่างมีความสุข
  3. การพัฒนาอย่างต่อเนื่องไม่หยุดยั้ง โดยใช้หลักธรรมของพระพุทธศาสนาเป็นหลักในการปฏิบัติหลักธรรมในข้อใดของพระพุทธศาสนาที่สอดคล้องกับการพัฒนาที่ยั่งยืน
    1. ขันธ์ 5 ไตรลักษณ์ วัฏฏะ
    2. ปปัญจธรรม 3 อัตถะ 3 มรรค 8
    3. รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณไตรสิกขา อริยสัจ 4 อิทธิบาท 4 ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ 4
  4. สวนผลไม้ของนายชอบได้รับความเสียหายจากศัตรูพืช เมื่อนายชอบรู้สาเหตุแล้วก็ดำเนินการแก้ไข ในเวลาต่อมา ไม่นานนายชอบก็มีผลไม้ขาย มีรายได้เป็นที่น่าพอใจ นายชอบนำหลักธรรมข้อใดมาใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ
    1. ขันธ์ 5
    2. อริยสัจ 4
    3. ไตรสิกขา
    4. ไตรลักษณ์
  5. หมู่บ้านดอนไทรตั้งอยู่บนเชิงเขา มีน้ำตกสวยงาม จึงมีประชาชนมาท่องเที่ยวจำนวนมาก หัวหน้ากลุ่มของชาวบ้านได้นำชาวบ้านวางระบบการดูแลรักษาความปลอดภัย และการบริการนักท่องเที่ยว จัดระบบการจำหน่ายสินค้าซึ่งเป็นของที่ระลึก บุคคลดังกล่าวได้ปฏิบัติตามหลักธรรมใด
    1. อริยสัจ ขันธ์ 5
    2. อัตถะ 3 ขันธ์ 5
    3. ไตรสิกขา มรรค 8
    4. ขันธ์ 5 ไตรลักษณ์
  6. “ชมรมรักษ์บ้านเกิด เป็นชมรมที่มีสมาชิกไม่มากนัก แต่ทุกคนก็ร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาหมู่บ้าน สมาชิกทุกคนในหมู่บ้านมีงานทำประกอบอาชีพสุจริต และอยู่ร่วมกันอย่างปกติสุข สมาชิกชมรมรักษ์บ้านเกิดปฏิบัติตามหลักธรรมใด
    1. มรรคมีองค์ 8 ไตรสิกขา
    2. ขันธ์ 5 ไตรลักษณ์
    3. วัฏฏะ 3 ปปัญจธรรม 3
    4. อัตถะ 3 อิทธิบาท 4
  7. “เจิดได้รับการยกย่องว่า เป็นเกษตรกรดีเด่นของจังหวัด ทั้งๆ ที่เขาเป็นชาวนามีที่ดินของตนเองเพียง 5 ไร่ แต่เขาสามารถเก็บออมเงินจนมีฐานะที่มั่นคง นอกจากนั้นยังช่วยเหลือผู้ที่มีฐานะด้อยกว่า” เจิดปฏิบัติตนตามหลักธรรมใด
    1. ขันธ์ 5
    2. อัตถะ 3
    3. ไตรลักษณ์
    4. ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ 4
  8. หลักธรรมในข้อใดสอดคล้องกับเศรษฐกิจพอเพียง
    1. สันโดษ
    2. ไตรสิกขา
    3. อิทธิบาท
    4. สัมมากัมมันตะ
  9. การกระทำในข้อใดสอดคล้องกับความสันโดษ
    1. การตัดกิเลสทั้งปวงได้สำเร็จ
    2. การละทิ้ง หรือหลีกเลี่ยงการได้ลาภสักการะ
    3. การเสียสละลาภ ยศ เงินทอง ให้เหลือเพียงเล็กน้อย
    4. การรู้จักยับยั้งความปรารถนาของตนให้อยู่ในขอบเขตที่เหมาะสม
  10. คำพังเพยในข้อใดสอดคล้องกับความสันโดษ
    1. ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน
    2. ช้าช้าได้พร้าเล่มงาม
    3. จงพอใจในสิ่งที่ตนมีอยู่
    4. ความพยายามเป็นหนทางไปสู่ความสำเร็จ
  11. หลักธรรมใดที่พุทธศาสนิกชนทุกคนควรยึดถือเป็นวิถีการ ดำเนินชีวิต
    1. อัตถะ 3
    2. วัฏฏะ 3
    3. ปปัญจธรรม 3
    4. บุญกิริยาวัตถุ 3
  12. การกระทำในข้อใดจัดเป็นอามิสทาน
    1. ดวงแขกรวดน้ำอุทิศส่วนกุศลให้แก่ญาติทุกวัน
    2. ครูเมตตาและครูปราณี ชอบฝึกมารยาทให้แก่นักเรียน
    3. นักเรียนร่วมกันบริจาคเงินและสิ่งของแก่ผู้ประสบอุทกภัย
    4. ณรงค์ แนะนำให้ยอดชาย งดเว้นการตกปลา และไปปฏิบัติธรรมที่วัด
  13. “จงรักพระเจ้าด้วยสิ้นสุดจิตใจ สุดความคิด และสุดกำลังของท่าน และจงรักเพื่อนมนุษย์เหมือนรักตนเอง” เป็นหลักสำคัญของศาสนาใด
    1. ศาสนาคริสต์
    2. ศานาอิสลาม
    3. พระพุทธศาสนา
    4. ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
  14. พิธีมิสซา หรือพิธีนมัสการของศาสนาคริสต์จะกระทำที่ใด และกระทำเมื่อใด
    1. ที่โบสถ์ในวันอาทิตย์
    2. ที่โบสถ์ในทุกวันตอนเช้า
    3. ที่โบสถ์หรือสถานที่เหมาะสมในวันปีใหม่
    4. ที่โบสถ์หรือตามอาคารบ้านเรือน หรือสถานที่เหมาะสมในวันคริสต์มาส
  15. ศีลใดจัดเป็นพิธีกรรมแรกสำหรับผู้ที่จะเข้าถือคริสต์ ศาสนา
    1. ศีลกำลัง
    2. ศีลมหาสนิท
    3. ศีลล้างบาป
    4. ศีลอภัยบาป
  16. การละหมาดของศาสนาอิสลาม มีความมุ่งหมายสำคัญอย่างไร
    1. เพื่อให้ชาวมุสลิมมารวมกันในโบสถ์ทุกวัน
    2. เพื่อฝึกให้ผู้กระทำรู้จักเสียสละและมีความอดทน
    3. เพื่อให้ชาวมุสลิมได้กล่าวปฏิญาณตนต่อพระอัลลอฮ์
    4. เพื่อขัดเกลาจิตใจผู้กระทำให้สะอาดบริสุทธิ์ ยับยั้งการประพฤติในสิ่งไม่ดี
  17. พิธีกรรมใดของผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามที่ฝึกให้เป็นผู้เสียสละ มีความเมตตา
    1. พิธีฮัจญ์
    2. การถือศีลอด
    3. การปฏิญาณตน
    4. การบริจาคซะกาต
  18. ศาสนาใดที่มีข้อกำหนดเกี่ยวกับวรรณะ
    1. ศาสนาคริสต์
    2. ศาสนาอิสลาม
    3. พระพุทธศาสนา
    4. ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
  19. ข้อความเกี่ยวกับเทพเจ้าของศาสนาพราหมณ์-ฮินดูข้อใดถูกต้อง
    1. พระศิวะเป็นเทพผู้รักษาและคุ้มครองโลก
    2. พระนารายณ์เป็นเทพเจ้าองค์แรกในตรีมูรติ
    3. พระพรหมเป็นเทพเจ้าผู้สร้างโลกและจักรวาล
    4. พระวิษณุเป็นเทพผู้ทำลาย จะทำลายโลกเมื่อมีปัญหา
  20. ข้อความเกี่ยวกับเป้าหมายสูงสุดของแต่ละศาสนา ข้อใด ไม่ถูกต้อง
    1. ศาสนาอิสลาม – การไปอยู่ในอาณาจักรของพระเจ้า
    2. ศริสต์ศาสนา – การมีชีวิตนิรันดรอยู่ในอาณาจักรของพระเจ้าบนสวรรค์
    3. ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู – การได้อยู่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกลมกลืนกับพรหม
    4. พระพุทธศาสนา – การขึ้นสวรรค์เป็นที่สุดของการประพฤติปฏิบัติธรรม

หลักธรรมใดต่อไปนี้คือแนวทางการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

สังคหวัตถุ 4 หมายถึง เครื่องมือ หรือหลักธรรม 4 ประการ ที่ช่วยประสานคนหมู่มากให้อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข เป็นเครื่องช่วยขจัดความขัดแย้งที่เกิดขึ้นทำให้คนอยู่ร่วมกันด้วยความรัก สามารถนำไปใช้ได้ตั้งแต่ระดับครอบรัวจนถึงระดับสังคม เป็นธรรมที่ก่อให้เกิดความผาสุกในบ้านเมือง และประเทศชาตินั่นเอง

การกระทำในข้อใดจัดเป็นอามิสทาน

การให้อามิสทาน คือการให้วัตถุทาน ๑๐ อย่าง มีข้าว น้ำ ผ้า ยานพาหนะ ดอกไม้ ของหอม ของลูบไล้ ที่นอน ที่พัก เครื่องประทีป หรือให้ปัจจัย ๔ มีจีวร เป็นต้น ย่อมให้ด้วย เหตุต่าง ๆ กันเป็น ๘ ประการคือ

ข้อใดเป็นหลักธรรมที่ควรบรรลุ

3. นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) นิโรธ หมายถึงธรรมที่ว่าด้วยการดับทุกข์ หมายถึง การดับหรือการละ ตัณหา เมื่อความทุกข์เกิดจากสาเหตุ ถ้าเราดับสาเหตุเสีย ความทุกข์นั้นย่อมดับไป ด้วย สภาพที่ความทุกข์หมดสิ้นไปหรือปราศจากทุกข์เป็นเป้าหมายของการปฏิบัติ ธรรมของชาวพุทธ นิโรธจึงเป็นธรรมที่ควรบรรลุ ที่เราจะได้ศึกษา คือ หลักธรรม สุข 2.

หลักธรรมใดที่ทำให้มนุษย์มีความเชื่อมั่นว่าตนเองมีศักยภาพในการพัฒนาตนเองได้

การที่จะเกิดความเชื่อมั่นที่ว่าตน สามารถพัฒนาศักยภาพได้นั้น พระพุทธศาสนา สอนว่า ในเบื้องต้นนั้น มนุษย์จะต้องมีโพธิสัทธา (เรียกเต็มว่า ตถาคตโพธิสัทธา) หรือเชื่อใน ปัญญาตรัสรู้ของพระตถาคต คือเชื่อในปัญญาที่ ท าให้มนุษย์กลายเป็นพระพุทธเจ้ากล่าวคือเชื่อ

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita