รัฐบาลมีบทบาทและหน้าที่ทางด้านการเมืองการปกครองอย่างไรบ้าง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

รัฐบาล คือองค์การที่มีอำนาจในการออกและบังคับใช้กฎหมาย สำหรับดินแดนหนึ่ง ๆ นิยามที่ชัดเจนของรัฐบาลนั้นมีอยู่หลายนิยาม ในกรณีทั่วไป รัฐบาล คือผู้ที่มีอำนาจในการปกครอง กล่าวคือมีอำนาจในการบริหารจัดการเหนือพื้นที่ใด ๆ หรือเหนือกลุ่มคน รัฐบาลตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า government ซึ่งมีความหมายสองนัยยะ นัยยะแรกหมายถึงกิจกรรมการปกครอง และอีกความหมายหนึ่งคือคณะบุคคลที่มีอำนาจในการปกครอง

ระบอบการปกครอง (form of government) หมายถึง สถาบันทางการเมืองซึ่งรัฐบาลของรัฐได้จัดตั้งขึ้นเพื่อใช้อำนาจในการปกครองประเทศ[1] คำนี้ยังนิยามรวมไปถึงรัฐบาลที่ไม่ประสบความสำเร็จในการใช้อำนาจปกครองประเทศด้วย

เจตจำนงหรือวัตถุประสงค์ของรัฐ[แก้]

เจตจำนงแห่งรัฐ (Will of the state)[2] เป็นเกณฑ์หนึ่งในทางรัฐศาสตร์ที่อธิบายถึงเป้าหมายของระบอบการปกครองในแต่ละรูปแบบ นับตั้งแต่การเป็นชุมชนทางการเมืองที่เป็นระบบจนพัฒนามาสู่การเป็นรัฐสมัยใหม่ เมื่อพิจารณาจากพัฒนาการของรัฐสมัยใหม่นับตั้งแต่สมัยกลางเป็นต้นมา เจตจำนงหรือวัตถุประสงค์ของรัฐในแต่ละยุคเกิดขึ้นจากบริบททางสังคม ปรัชญา อุดมการณ์ทางการเมือง ศาสนา ตลอดจนโลกทัศน์ของคนแต่ละยุคสมัยแตกต่างกัน ซึ่งแต่ละแนวคิดจะเน้นความสำคัญของปัจเจกบุคคลในระดับความเข้มข้นแตกต่างกัน ในยุคคลาสสิค และยุคกลางเจตจำนงแห่งรัฐจะมีความมีเสถียรภาพอันมีเป้าหมายในการสนับสนุนสถาบันกษัตริย์ และสถาบันศาสนา ส่วนในยุคสมัยใหม่เจตจำนงแห่งรัฐจะมีความเป็นพลวัตรและปรับตัวให้เข้ากับยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไปผ่านการแสดงเจตจำนงผ่านการเลือกตั้งของประชาชน โดยกระบวนการสร้างรัฐสมัยใหม่นี้ต้องใช้ระบบกฎหมายสนับสนุนจึงจะดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพตามแนวคิดความสูงสุดแห่งอำนาจอธิปไตยที่เป็นของประชาชนที่ทำให้รัฐสามารถบัญญัติกฎหมายได้อย่างไม่มีขอบเขตจำกัด อันเป็นการสามารถสะท้อนเจตจำนงทางการเมืองของประชาชน และมีความเป็นพลวัตรต่อเนื่องไปอยู่เสมอ

คุณสมบัติของรัฐบาล[แก้]

นอกเหนือจากการจัดแบ่งประเภทอย่างเป็นทางการแล้ว ระบอบการปกครองยังสามารถแบ่งได้ตามรูปแบบโดยทั่วไปของรัฐบาล อย่างเช่น:

  • เอกาธิปไตย คณาธิปไตย หรือประชาธิปไตย
  • ประมุขมาจากการเลือกตั้ง หรือมาจากเชื้อสายของบรรพบุรุษ
  • การเลือกตั้งโดยตรง หรือการเลือกตั้งโดยอ้อม
  • รัฐบาลเสียงข้างมาก หรือรัฐบาลผสม
  • สาธารณรัฐ หรือราชาธิปไตย (สมบูรณาญาสิทธิราช หรือราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ)
  • ระบบรัฐสภา ระบบประธานาธิบดี หรือระบบกึ่งประธานาธิบดี
  • รัฐเดี่ยว หรือรัฐรวม (สหพันธรัฐ หรือสมาพันธรัฐ)
  • รัฐเอกราช รัฐกึ่งเอกราช หรือรัฐไม่มีเอกราช

อ้างอิง[แก้]

  1. //assets.cambridge.org/052184/3162/excerpt/0521843162_excerpt.pdf Kopstein and Lichbach, 2005
  2. อภิชาติ คุณวัฒน์บัณฑิต.“ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติของประเทศไทย.” วิทยานิพนธ์ศิลปศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2561.

หนังสืออ่านเพิ่มเติม[แก้]

  • Boix, Carles (2003). Democracy and Redistribution. New York: Cambridge University Press.
  • Bunce, Valerie. 2003. “Rethinking Recent Democratization: Lessons from the Postcommunist Experience.” World Politics 55(2):167-192.
  • Colomer, Josep M. (2003). Political Institutions. Oxford: Oxford University Press.
  • Dahl, Robert Polyarchy Yale University Press (1971
  • Heritage, Andrew, Editor-in-Chief. 2000. World Desk Reference
  • Lijphart, Arend (1977). Democracy in Plural Societies: A Comparative Exploration. New Haven: Yale University Press.
  • Linz, Juan. 2000. Totalitarian and Authoritarian Regimes. Boulder: Lynne Rienner.
  • Linz, Juan, and Stepan, Alfred. 1996. Problems of Democratic Transition and Consolidation: Southernn Europe, South America, and Post-Communist Europe. Baltimore: Johns Hopkins Press.
  • Lichbach, Mark and Alan Zukerman, eds. 1997. Comparative Politics: Rationality, Culture, and Structure, Cambridge: Cambridge University Press, 1997.
  • Luebbert, Gregory M. 1987. “Social Foundations of Political Order in Interwar Europe,” World Politics 39, 4.
  • Moore, Barrington, Jr. 1966. Social Origins of Dictatorship and Democracy: Lord and Peasant in the Making of the Modern World. Cambridge: Beacon Press, ch. 7-9.
  • Comparative politics : interests, identities, and institutions in a changing global order/edited by Jeffrey Kopstein, Mark Lichbach, 2nd ed, Cambridge University Press, 2005.
  • O’Donnell, Guillermo. 1970. Modernization and Bureaucratic-Authoritarianism. Berkeley: University of California.
  • O’Donnell, Guillermo, Schmitter, Philippe C., and Whitehead, Laurence, eds., Transitions from Authoritarian Rule: comparative Perspectives. Baltimore: Johns Hopkins University Press.
  • Przeworski, Adam. 1992. Democracy and the Market: Political and Economic Reforms in Eastern Europe and Latin America, New York: Cambridge University Press.
  • Przeworski, Adam, Alvarez, Michael, Cheibub, Jose, and Limongi, Fernando. 2000. Democracy and Development: Political Institutions and Well Being in the World, 1950-1990. New York: Cambridge University Press.
  • Shugart, Mathhew and John M. Carey, Presidents and Assemblies: Constitutional Design and Electoral Dynamics, New York, Cambridge Univ. Press, 1992.
  • Taagepera, Rein and Matthew Shugart. 1989. Seats and votes: The effects and determinants of electoral systems, Yale Univ. Press.jimmy

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • Electronic interuniversity journal Federalism-e
  • Types of Governments from Historical Atlas of the 20th Century
  • Other classifications examples from Historical Atlas of the 20th Century
  • //stutzfamily.com/mrstutz/WorldAffairs/typesofgovt.html

ภาครัฐมีบทบาทหน้าที่อย่างไร

ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยได้กำหนดบทบาท หน้าที่ของรัฐบาลคือ 1.ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน 2. ด้านความมั่นคงของรัฐ 3.ด้านศาสนาสังคมการสาธารณสุขการศึกษาและวัฒนธรรม 4. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งเเวดล้อม

บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลด้านเศรษฐกิจมีอะไรบ้าง

การใช้ระบบเศรษฐกิจเป็นเครื่องมือในการทำหน้าที่ของรัฐให้ได้ครบถ้วนสมบูรณ์อย่างมีประสิทธิภาพ นั้นเรียกว่าการทำหน้าที่ทางเศรษฐกิจของรัฐบาลซึ่งประกอบด้วยการทำหน้าที่ การจัดสรรการใช้ทรัพยากรของสังคม การกระจายรายได้และความมั่งคั่งทางสังคม การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ การส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และหน้าที่ทางเศรษฐกิจ ...

รัฐบาลมีบทบาทในการพัฒนาประเทศด้านใดบ้าง

มี 4 ด้าน โดยแบ่งได้ดังนี้ 1. ด้านการเมืองการปกครอง 1) ความมั่นคงของรัฐ : รัฐธรรมนูญกำหนดให้รัฐต้องพิทักษ์ไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ เอกราช อธิปไตยและอำนาจของรัฐ(โดยต้องจัดเตรียมกำลังทหาร อาวุธยุทโธปกรณ์และเทคโนโลยีให้พร้อมและเพียงพอเพื่อพิทักษ์รักษาความเป็นชาติไว้ให้มั่งคง) 2) การให้สิทธิ เสรีภาพและความเสมอภาคแก่ ...

หน้าที่ของภาครัฐด้านการศึกษามีอะไรบ้าง

1. หน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวกับการศึกษา โดยให้รัฐมีหน้าที่จัดให้เด็กทุกคนต้องได้รับการศึกษาภาคบังคับ ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย โดยไม่จํากัดเฉพาะเด็กที่มีสัญชาติไทย แต่ครอบคลุมไปถึงเด็ก ซึ่งเป็นคนต่างด้าวที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย ทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับพันธกรณีของประเทศไทยตามปฏิญญา สากลว่าด้วยสิทธิ ...

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita