มาตรการกีดกันการค้าโดยไม่ใช้ภาษีมีอะไรบ้าง

เรื่องทั่วไปเกี่ยวกับพิกัดศุลกากร

  1. หน้าหลัก
  2. สิทธิพิเศษทางการค้า
  3. เขตการค้าเสรี (FTA และ WTO)

สิทธิ์เขตการค้าเสรีและ WTO

  • WTO
  • ASEAN
  • ASEAN - CHINA
  • ASEAN - KOREA
  • ASEAN - JAPAN
  • ASEAN - INDIA
  • ASEAN - AUSTRALIA - NEW ZEALAND
  • THAI - AUSTRALIA
  • THAI - NEW ZEALAND
  • THAI - JAPAN
  • THAI - PERU
  • THAI - INDIA
  • THAI - CHINA
  • THAI - CHILE
  • THAI - SINGAPORE
  • THAI - EU
  • RCEP
  • DFQF
  • GSP
  • GSTP
  • AISP
  • BIMSTEC
  • ASEAN - HONGKONG

    ความสำคัญและความเป็นมาของ FTA

    FTA ย่อมาจาก Free Trade Area หรือเขตการค้าเสรี เป็นการทำความตกลงทางการค้าของประเทศ อาจเป็น 2 ประเทศ (ทวิภาคี) หรือเป็นกลุ่มประเทศ (พหุภาคี) ที่จะร่วมมือขจัดอุปสรรคทางการค้าทั้งที่เป็นภาษีศุลกากรและไม่ใช่ภาษีศุลกากร

      

    1. ความเป็นมาของเขตการค้าเสรี
    2. แนวคิดของการมีนโยบายการค้าเสรี คือประเทศจะเลือกผลิตสินค้าที่ตนเองถนัด และมีต้นทุนการผลิตต่ำที่สุด คือจะผลิตสินค้าที่คิดว่าประเทศตนได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Advantage)มากที่สุด แล้วนำสินค้าที่ผลิตได้นี้ไปแลกเปลี่ยนกับสินค้าที่ประเทศตนไม่ถนัด หรือเสียเปรียบ โดยแลกเปลี่ยนสินค้ากับประเทศอื่นที่ผลิตสินค้าแล้วได้เปรียบ ดังนั้นประเทศทั้งสองก็จะทำการค้าต่อกันได้ โดยต่างฝ่ายต่างสมประโยชน์กัน (Win-Win Situation)
      นโยบายการค้าเสรีมีดังนี้
      1. การผลิตตามหลักการแบ่งงานกันทำเลือกผลิตสินค้าที่มีต้นทุนการผลิตต่ำและประเทศมีศักยภาพในการผลิตสินค้านั้นสูง
      2. ไม่เก็บภาษีคุ้มกัน (Protective Duty) เพื่อคุ้มครองหรือปกป้องอุตสาหกรรมภายในประเทศ
      3. ไม่ให้สิทธิพิเศษหรือกีดกันสินค้าของประเทศใดประเทศหนึ่ง
      4. เรียกเก็บภาษีในอัตราเดียวและให้ความเป็นธรรมแก่สินค้าของทุกประเทศเท่ากัน ไม่มีข้อจำกัดทางการค้า (Trade Restriction) ที่เป็นอุปสรรคต่อการค้าระหว่างประเทศไม่มีการควบคุมการนำเข้า หรือการส่งออกที่เป็นอุปสรรคต่อการค้าระหว่างประเทศ ยกเว้นการควบคุมสินค้าบางอย่างที่เกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและเป็นอันตรายต่อมนุษย์และสินค้าที่เกี่ยวด้วยศีลธรรมจรรยาหรือความมั่นคงของประเทศ

    3. ความหมายของเขตการค้าเสรี
    4. เขตการค้าเสรี หมายถึง การวมกลุ่มเศรษฐกิจโดยมีเป้าหมายเพื่อลดภาษีศุลกากรระหว่างกันภายในกลุ่ม ที่ทำข้อตกลงให้เหลือน้อยที่สุดหรือเป็น 0% และใช้อัตราภาษีปกติที่สูงกว่ากับประเทศนอกกลุ่ม การทำเขตการค้าเสรีในอดีตมุ่งในด้านการเปิดเสรีด้านสินค้า โดยการลดภาษีและอุปสรรคที่ไม่ใช่ภาษีเป็นหลักแต่เขตการค้าเสรีในระยะหลัง ๆ นั้น รวมไปถึงการเปิดเสรีด้านอื่น ๆ ด้วย เช่น ด้านการบริการการลงทุน เป็นต้น
    5. เขตการค้าเสรีที่สำคัญของไทย
    6. เขตการค้าเสรีที่มีมูลค่าสูงในทางการค้า ได้แก่ เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) เขตการค้าเสรีอาเซียน-จีน ไทย-ญี่ปุ่น อาเซียน-เกาหลี เป็นต้น

    ประโยชน์และผลกระทบของการทำ FTA 

    ในภาพรวมแล้วการทำ FTA มีทั้งผลดีและผลกระทบ แต่คู่เจรจาได้พยายามศึกษารวบรวมข้อมูล และเจรจาเพื่อให้ต่างฝ่ายต่างพอใจ ได้รับผลประโยชน์มากที่สุด หรือได้รับผลกระทบน้อยที่สุด อย่างไรก็ตาม สภาพแวดล้อมเฉพาะ และสภาพแวดล้อมทั่วไปของคู่เจรจาจะแตกต่างกันไปในแต่ละ FTA หากจะวิเคราะห์แต่ละด้านของแต่ละ FTA จะมีบางกลุ่มอุตสาหกรรม บางกลุ่มสินค้าได้ประโยชน์ บางกลุ่มสินค้าไม่ได้รับผลกระทบ สำหรับกลุ่มสินค้าที่ได้รับผลกระทบ การเจรจาก็สามารถยืดเวลาในการลดหรือยกเว้นภาษีออกไปจนกว่าภาคการผลิตจะสามารถปรับตัวได้ หรือภาครัฐจะเข้ามาช่วยเหลือ เยียวยา ชดเชยผลกระทบเหล่านั้นในภาพรวมการทำ FTA น่าจะมีประโยชน์ดังนี้

    1. ลดอุปสรรคทางการค้าทั้งที่เป็นอุปสรรคทางภาษี และที่มิใช่ภาษี
    2. เพิ่มมูลค่าในทางการค้าระหว่างประเทศสมาชิก
    3. เพิ่มโอกาสการส่งออก ได้ตลาดใหม่ และขยายตลาดเดิม
    4. เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
    5. สร้างอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจ การเมือง
    6. ให้ความร่วมมือทางด้านศุลกากร การแลกเปลี่ยนความรู้ ข้อมูลการลักลอบ หลีกเลี่ยง และสินค้าอันตราย สินค้าละเมิดลิขสิทธิ์
    7. พัฒนาศักยภาพทางเศรษฐกิจ และดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ
    8. ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอื่น ๆ และเทคโนโลยีการผลิต
    9. สร้างความสัมพันธ์ให้ใกล้ชิดยิ่งขึ้น

    จาก CEPT มาสู่ ATIGA (ต่อ)

    มาตรการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี (Non-Tariff Barriers: NTBs) ซึ่งเป็นอุปสรรคทางการค้าที่สำคัญที่รัฐบาลของประเทศต่างๆ กำหนดขึ้นเพื่อให้เกิดอุปสรรคในการนำเข้าจากประเทศคู่ค้าอย่างไม่เป็นธรรม ยกตัวอย่างเช่น การบริหารโควตาภาษี (Tariffs Rate Quatas: TRQs) สวัสดิภาพสัตว์ (Animal Welfare) มาตรฐานสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการค้า (Trade-related Environmental Measures) การปิดฉลากสินค้าตัดแต่งสารพันธุกรรม (Genetically Modified Organisms: GMOs) มาตรฐานแรงงาน (Trade and Labour Standard) เป็นต้น ได้มีกรอบเวลาในการขจัดมาตรการเหล่านี้เช่นเดียวกัน โดยทุกประเทศได้เห็นชอบแผนงานการขจัดมาตรการดังกล่าว (Work Programme on elimination of NTBs) โดยแบ่ง NTBs ออกเป็น 3 ชุด มีการขจัดมาตรการดังกล่าวเป็นระยะๆ ดังตารางที่ 4 ซึ่งประเทศสมาชิกเดิม 5 ประเทศจะขจัด NTB ทั้งหมดในปี 2553 ในขณะที่ฟิลิปปินส์จะแล้วเสร็จในปี 2555 ส่วน CLMV ซึ่งเป็นประเทศอาเซียนใหม่จะต้องแล้วเสร็จภายในปี 2558 โดยอาจจะยืดหยุ่นสำหรับสินค้าอ่อนไหวบางชนิด

    ตารางที่ 4 กรอบระยะเวลาการขจัดมาตรการที่มิใช่ภาษี

    25512552255325552558
    NTBs ชุดที่ 1 สมาชิกทั้งหมด
    NTBs ชุดที่ 2 สมาชิกทั้งหมด
    NTBs ชุดที่ 3 สมาชิกอาเซียนเดิม 5 ประเทศ ฟิลิปปินส์ CLMV
    ส่งเสริมความโปร่งใส ลดจำนวน NTB กำจัด NTB สำหรับอาเซียน 5 ประเทศ กำจัด NTB สำหรับ ฟิลิปปินส์ กำจัด NTB สำหรับ CLMV โดยยืดหยุ่นสำหรับสินค้าอ่อนไหวบางประเภท

    ที่มา: สำนักสิทธิประโยชน์ทางการค้า กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

    มาตรการที่มิใช่ภาษีคืออะไร

    มาตรการที่มิใช่ภาษี (NTMs) หมายถึง มาตรการที่นอกเหนือจากภาษีศุลกากรทั่วไป ซึ่งอาจมีผลกระทบทางเศรษฐกิจต่อสินค้า ปริมาณการค้าหรือราคาในระบบการค้าระหว่างประเทศ๑๐ ๖ ถือได้ว่าเป็นทั้งแม่บทของกฎเกณฑ์การค้าระหว่างประเทศและเครื่องมือเกี่ยวกับการค้าโลก

    มาตรการกีดกันทางการค้ามีอะไรบ้าง *

    การตั้งกำแพงภาษี เป็นวิธีการที่เคยมีการใช้กันมาโดยตลอด ประเทศต่างๆ มักตั้งภาษีศุลกากรไว้สูง เพื่อกีดกันสินค้าจากต่างประเทศ ภาษีศุลกากรโดยทั่วไปจะมี 2 ลักษณะคือ ... .
    การควบคุมสินค้า ... .
    การควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ... .
    การห้ามนำเข้าสินค้าจากบางประเทศ ... .
    ให้เงินอุดหนุนอุตสาหกรรมในประเทศ.

    มาตรการที่ไม่ใช่ภาษีศุลกากรสอดคล้องกับข้อใด

    มาตรการทางการค้าที่มิใช่ภาษีศุลกากร (NTMs) มักถูกมองว่าเป็นมาตรการกีดกันทางการค้าหรือเป็นอุปสรรคทางการค้าที่ประเทศต่างๆนำมาใช้ เพื่อคุ้มครองผู้ผลิตและผู้บริโภคของตน การติดตามการกำหนดมาตรการ NTMs ในกรอบพหุภาคี ได้เน้นการดูผลจากกระบวนการระงับข้อพิพาททางการค้าต่างๆขององค์การการค้า

    อุปสรรคทางการค้า Trade Barrier คืออะไร

    อุปสรรคทางการค้า, Example: มาตรการต่างๆ ของรัฐบาลที่เป็นการจำกัดการค้าเสรี ระหว่างองค์กรหรือหน่วยธุรกิจของประเทศนั้นกับต่างประเทศ มาตรการต่างๆ เหล่านี้ รวมถึง ภาษี โควต้า (ดู QRs) การห้ามซื้อขายสินค้า การคว่ำบาตรทางการค้า (ดู Boycott) กฎระเบียบต่างๆ ที่ทำให้การค้าขายดำเนินไปอย่างไม่คล่องตัว [สิ่งแวดล้อม]

    กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

    Toplist

    โพสต์ล่าสุด

    แท็ก

    flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita