การศึกษาประวัติวรรณคดีก่อให้เกิดประโยชน์อย่างไรบ้าง

เนื่องจากวรรณคดีส่วนใหญ่เกิดขึ้นจากแรงบันดาลใจที่ผู้แต่งมีต่อสภาพและเหตุการณ์แวดล้อมในยุคสมัยของผู้แต่ง เช่น มีความชื่นชมในวีรกรรม ความสามารถหรือบุญบารมีของบุคคลสำคัญก็แต่งเรื่องประเภทสดุดี ถ้ามีความเลื่อมใสศรัทธาในศาสนาก็แต่งเรื่องธรรมะและชาดก ถึงแม้วรรณคดีที่เกิดจากความสะเทือนใจส่วนตัวของ ผู้แต่งเอง ผู้แต่งก็มักสร้างเนื้อหาและฉากของเรื่องขึ้นจากสิ่งที่ผู้แต่งประสบพบเห็นเป็นส่วนมาก นอกจากรูปแบบ คำประพันธ์ ประเภท และสาระสำคัญของเรื่องมักเป็นไปตามคตินิยมของสังคมในสมัยที่แต่ง เพราะฉะนั้นการอ่านวรรณคดีให้ได้คุณค่าที่แท้จริง จำเป็นต้องเรียน วรรณคดีในเชิงประวัติ หรือประวัติวรรณคดีประกอบด้วย การเรียนประวัติวรรณคดี พิจารณาถึงประเด็นสำคัญของวรรณคดีในด้านต่าง ๆ ดังนี้

�ԪԵ �Ѥ�Ԩ �������� �ӹҹ���Դ��ó��բͧ�ҵԵ�ҧ � �ҷ� �ӹҹ��ա �ӹҹ�ѹʡĵ �ӹҹ�չ �繵���Ңͧ��ɮա�á��Դ��ó�������»Ѩ�غѹ ��������˵ط�������Դ��ó��յ����ѡ�Ԫҡ��������������ҡ���������仹�� ����ǹ�������ԧ�ӹҹ��������������᷺������ ���

  1. �Դ�ҡ��ùѺ�����ê� �� ����ͧ����³� �����õ� ���Ե�ǹ���� ���Ե���ŧ���� �繵�
  2. �Դ�ҡ�������ͷҧ��ʹ� ��ʹ��繷���觷ҧ� ��ʹ�����ǹ˹�觢ͧ���Ե�������觺ѹ��������Դ��ó����� �� ����ͧ��ҪҵԤ���ǧ �����Ծ����ǧ �����⾸ԡ�� ������ �
  3. �Դ�ҡ������ ���������Դ�ͧ ������µ�������� �� �������ѡ �ø �ȡ ������˵�����Դ��ó����� �� ����ͧ�ѷ�оҸ� ����Ե ͵��ٻ ������ �
  4. �Դ�ҡ����������� ��੾����¸����ҵ�
  5. �Դ�ҡ����š����¹�Ѳ����� ����������������ҧ�ѧ����ҧ � ������ǹ������Դ��ó��մ��� �� ������͹�͹ ����ȡ�ҧ��� ������ �

�����Ӥѭ�ͧ������¹����ѵ���ó���

���ͧ�ҡ��ó�����ǹ�˭��Դ��鹨ҡ�ç�ѹ���㨷�������յ����Ҿ����˵ء�ó��Ǵ������ؤ���¢ͧ����� �� �դ�����蹪����á��� ��������ö���ͺح����բͧ�ؤ���Ӥѭ��������ͧ������ʴش� ����դ�������������ѷ�����ʹҡ�������ͧ�������ЪҴ� �֧�����ó��շ���Դ�ҡ��������͹���ǹ��Ǣͧ ������ͧ ����觡��ѡ���ҧ��������Щҡ�ͧ����ͧ��鹨ҡ��觷�����觻��ʺ���������ǹ�ҡ �͡�ҡ�ٻẺ �ӻ�оѹ�� ������ ��������Ӥѭ�ͧ����ͧ�ѡ��仵����Թ����ͧ�ѧ������·���� ���Щй�鹡����ҹ��ó��������س��ҷ�����ԧ ���繵�ͧ���¹ ��ó�����ԧ����ѵ� ���ͻ���ѵ���ó��ջ�Сͺ���� ������¹����ѵ���ó��� �Ԩ�óҶ֧������Ӥѭ�ͧ��ó���㹴�ҹ��ҧ � �ѧ���

  1. ����� ����֧��ǻ���ѵ���мŧҹ
  2. ����Ңͧ����ͧ ���� ����ͧ����繵���� �Ҩ������ͧ�����˵ء�ó����㹻���� ���ͷ�����Ѻ�Է�ԾŨҡ��ҧ�����
  3. �����������㹡���� ���� �ç�ѹ�������ͤ���������¢ͧ�����㹡������ó��չ�� �
  4. ���Ѳ�ҡ����Ф�������ѹ�������ͧ�����ҧ��ó�����������
  5. ��Ҿ�ѧ������·���� ������� �Ѳ����� ��Ҿ�ѧ�� ����˵ء�ó�ͧ��ҹ���ͧ��������ҷ����
  6. �Է�Ծŷ����ó����յ���ѧ���������·�����������µ����

�ѧ��� ����֡�һ���ѵ���ó��� ������Һ����Ңͧ��ó�����������ͧ����Դ������ҧ�� ���ç�ѹ�������� �������� ���繼���� �Է�ԾŢͧ�˵ء�ó��ҹ���ͧ����յ����ó��� ����Է�ԾŢͧ ��ó��շ���յ���ѧ����������ؤ����

ดังนั้น  การศึกษาประวัติวรรณคดี  ทำให้ทราบที่มาของวรรณคดีแต่ละเรื่องว่าเกิดขึ้นอย่างไร  มีแรงบันดาลใจอะไร  แต่งในสมัยใด  ใครเป็นผู้แต่ง  อิทธิพลของเหตุการณ์บ้านเมืองที่มีต่อวรรณคดี  และอิทธิพลของ  วรรณคดีที่มีต่อสังคมไทยในแต่ละยุคสมัย

สำนักงานวัดพระเชตุพน (หอสมุดสมเด็จ ว.ผ.ต.) 2 ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200

โทร (Tel) 083-057-7100
โทรสาร (Fax) 02-226-0370, 083-057-7100
Email - watpho.th@gmail.com
Facebook Page - วัดโพธิ์ ท่าเตียน Wat Pho

เวลาทำการ ปิดชั่วคราว น.


ดูเเผนที่

ความสัมพันธ์ทางสังคมที่ดำเนินมาเนิ่นนานได้ตกผลึกขึ้นจนกลายเป็นกรอบหลักในการรับรู้และให้ความหมายต่อความสัมพันธ์ทางสังคมของสังคมนั้นๆ อันนำมาซึ่งกรอบของ "การรับรู้/การยอมรับ” ความหมายที่คงที่ของชุดความสัมพันธ์ทางสังคมชุดนั้นของสังคม

“การรับรู้/การยอมรับ” ระบบความสัมพันธ์ทางสังคมของคนไทยในสังคมไทยชุดหนึ่งได้ถุก “ฝัง” (embedded) ไว้ในระบอบอารมณ์ความรู้สึกนึกคิดของคนในสังคมไทย “การรับรู้/การยอมรับ” ชุดความสัมพันธ์ทางสังคมนี้ได้ถูกทำให้เป็นเสมือน “ความจริงแท้” ที่ไม่มีวันแปรเปลี่ยนไปได้

“การรับรู้/การยอมรับ” ชุดนี้ได้แพร่/กระจาย/เข้าไปสู่ศาสตร์ต่างๆ ที่เข้ามาจากตะวันตกและเข้าไปมีส่วนปะทะประสานจนฝังแน่นลงไปจนกลายเป็นแกนหลักของ “ความรู้” และมีผลอย่างมากในการสร้างการซึมซับการรับรู้ต่อเนื่องมาจนกลายความเชื่อมั่นว่าสิ่งที่เป็นความรู้หรือชุดการอธิบายความสัมพันธ์ทางสังคมนี้เป็นความจริงแท้แน่นอนของสังคมไทย

 ที่สำคัญ “ความรู้” เกี่ยวกับสังคมไทยและความสัมพันธ์ทางสังคมของคนไทยชุดนี้ที่ถูกฝังแน่นในการรับรู้ของสังคมนี้มีผลทำให้สังคมไทยไม่สามารถปรับเปลี่ยนหรือสร้างการเคลื่อนย้ายทางสังคมใดๆ ที่จะนำไปสู่การสร้างการจัดการความสัมพันธ์ทางสังคมที่เหมาะสมและงดงามได้ อาจจะเรียก “การรับรู้/การยอมรับ” นี้ได้ว่าเป็น "วัฒนธรรม” ที่เป็นเสมือนสายใยแห่งความหมายที่ทำให้ผู้คนในสังคมได้ตระหนักและดำรงอยู่ภายในสายใยแห่งความหมายนี้ หากแต่ในที่นี้จะขอแยกความหมายของ "การรับรู้/การยอมรับ” ออกมาเพื่อที่จะทำให้เห็นได้ว่าพื้นฐานของสายใยของความหมายก็คือการรับรู้/การยอมรับ ซึ่งหากจะคิดคำนึงถึงการทำให้ระบบวัฒนธรรมแปรเปลี่ยนไปได้บ้าง ก็จำเป็นต้องมุ่งเน้นไปที่การทำความเข้าใจ "การรับรู้/การยอมรับ” ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของวัฒนธรรม และการศึกษาส่วนของวัฒนธรรมที่ดำเนินมานี้ต้องศึกษาอย่างเป็นประวัติศาสตร์ [2]

แกนหลักของการรับรู้/การยอมรับที่เชื่อมต่อเข้ากับ “ความรู้” เกี่ยวกับสังคมไทยและความสัมพันธ์ทางสังคมของคนไทยวางอยู่บนฐานความคิดสองประการได้แก่กระบวนการการจัดความสัมพันธ์เชิงลำดับชั้นของอำนาจ (Hierarchicalization of Power) และ กระบวนการทำให้ชะตากรรมของคนเป็นเรื่องของปัจเจกชน (Individualization of human destiny)

 

กระบวนการการจัดความสัมพันธ์เชิงลำดับชั้นของอำนาจ (The Hierarchicalization of Power)

กระบวนการนี้เป็นส่วนผสานกันระหว่างความคิดของการจัดตั้งทางสังคมการเมืองในสังคมจารีตและการปรับเปลี่ยนบางส่วนเพื่อประยุกต์เข้าสู่โลกสังคมสมัยใหม่ กล่าวคือ รัฐจารีตไทยได้สร้างระบบลำดับชั้นทางสังคมการเมืองผ่านระบบไพร่และระบบศักดินา ต่อมาเมือต้องเผชิญกับความรู้ชุดใหม่จากตะวันตก ชนชั้นนำได้ปรับเปลี่ยนความหมายของลำดับชั้นมาสู่ระบบ “วรรณะ” แบบเน้น "ชาติกำเนิด” ที่เน้นอำนาจสูงต่ำมาจากสายตระกูลและเชื่อมโยงสายตระกูลกับอำนาจ ซึ่งถุกสร้างให้มีที่มาจากการดำเนินพันธกิจของการเป็น "ผู้กระทำการ” ให้สังคมก้าวหน้าตลอดมา[3] การปรับเปลี่ยนนี้ก็เพื่อให้เกิดการยอมรับในอำนาจในนามของ “ความจงรักภักดี” ซึ่งก็คือ การยอมรับอย่างดุษฎีในความสัมพันธฺเชิงลำดับชั้นของอำนาจ

 

ประวัติศาสตร์ รัฐศาสตร์ วรรณคดี และความรู้อื่นๆในสาขาสังคมศาสตร์/มนุษยศาสตร์ที่ถูก “คัดสรร” มาสอนกันในสถาบันการศึกษาระดับสูงล้วนแล้วแต่ทำหน้าที่จรรโลงความรู้สึกให้แก่ผู้เรียนว่าลำดับชั้นของอำนาจนี้คือความจริงแท้ของสังคม

ช่วงเวลาที่สำคัญมากในประวัติศาสตร์สังคมไทย ได้แก่ ทศวรรษ 2520 เป็นต้นมา การสร้างและขยายความรู้/ความรู้สึกถึงความสัมพันธ์เชิงลำดับชั้นของอำนาจได้ดำเนินขยายออกไปอย่างกว้างขวางมากขึ้น ครอบคลุมปริมณฑลทั้งทางกายภาพและทางจิตใจของผู้คน ภายใต้เงื่อนไขของการขยายความรู้/ความรู้สึกในระบบความสัมพันธ์ทางสังคมเช่นนี้ จึงทำให้การดำรงอยู่ของสถานนะความเหนือกว่าของอำนาจจึงไม่เคยถูกตั้งคำถามว่ามีความชอบธรรมอย่างไร เพียงใด ในระบอบอารมณ์ความรู้สึกของสังคมไทย "อำนาจ” จึงลอยอยู่เหนือสังคมและจะต้องไม่ถูกกระทบจากสิ่งอื่นใด

การประกอบสร้างสถาปนาอำนาจที่เหนือกว่าในลำดับชั้นของความสัมพันธ์ทางสังคมให้กลายเป็น “ความจริงแท้” ของสังคม เกิดขึ้นอย่างหนักแน่นมากขึ้นด้วยการเข้าไปสุ่การศึกษาวิชาการทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ในแต่ละช่วงเวลา แม้กระทั่งนักวิชาการไทยศึกษาชาวต่างประเทศเองเมื่อเริ่มต้นศึกษาสังคมไทยก็จะเห็น “ความจริงแท้” เช่นนี้ไปด้วย

กระบวนการทำให้ชะตากรรมของคนเป็นเรื่องของปัจเจกชน (Individualization of human destiny)

กระบวนการทำให้ชะตากรรมของคนเป็นเรื่องของปัจเจกชนเป็นฐานทางความคิดความรู้สึกที่สำคัญในการจรรโลงความสัมพันธ์เชิงอำนาจในสังคมไทย และมีผลซึมซับอยู่ในระบบคิดของคนไทยโดยรวม ซึ่งมีพัฒนาการทางประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนาน

ภายหลังจากที่โลกภูมิแบบไตรภูมิที่เคยเป็น “บริบท” ทางสังคมกำกับชะตาชีวิตของผู้คนในสังคมได้เสื่อมสลายลง จึงได้ทำให้เกิดการสร้างการควบคุมผู้คนด้วยอำนาจรัฐลักษณะใหม่ พร้อมกับสร้างการ “ควบคุม” จิตใจผู้คนในสังคมสมัยใหม่ด้วยการทำให้ปัจเจกชนแต่ละคนต้องมีส่วนรับผิดชอบส่วนตัวของตัวเอง

การแยกทาง “โลก” และ "ธรรม” ออกจากกันของศาสนาพุทธเถรวาทของไทย อันเป็นการแยกทางโลกออกมาจากทางธรรมก็เพื่อให้อำนาจรัฐสมัยใหม่จัดการดูแลชีวิตทางโลกของราษฎร และการแยก “ธรรม” ออกมานั้นเป็นการปรับให้ “ธรรม” เข้ามาดูแลชีวิตทางจิตใจของปัจเจกชนเท่านั้น

การแยกทางโลกออกจากทางธรรมนี้จึงเห็นได้ชัดว่าในการจัดการทางด้านจิตใจของศาสนาจึงไม่มี “สังคม” ไม่มี “บริบท” ใน “ธรรม” สมัยใหม่ เพราะมิติต่างๆของ "สังคม” เป็นเรื่องของรัฐที่จะเป็นกลไกจัดการไม่ใช่เรื่องของศาสนาอีกต่อไป ศาสนาจึงลดลงมาเหลือเพียงการตอบปัญหาในส่วนเสี้ยวของจิตใจของปัจเจกบุคคลเท่านั้น

ที่สำคัญกระบวนการการลดทอนให้ความเชื่อทางศาสนาเหลือเพียงการตอบปัญหาจิตใจของปัจเจกบุคคลนี้ได้เปิดทางให้แก่ "โหราศาสตร์แบบปัจเจกชน” ได้ขยายตัวออกไปอย่างกว้างขวาง ซึ่งคัมภีร์”โหราศาสตร์แบบปัจเจกชน” ทั้งหมดมีต้นเค้ามาจากคัมภีร์ของชนชั้นทั้งสิ้น จึงไม่น่าแปลกใขที่การขยายตัวออกไปอย่างกว้างขวางก็เพราะความรู้แบบโหราศาสตร์นี้สามารถถูกใช้ให้เป็นประโยชน์ทั้งในทางด้านที่ชนชั้นนำนำมาใช้เพื่อคัดเลือก/เลือกสรรผู้คนในการร่วมทำงาน  และในทางด้านที่ทำให้เกิดการสร้างการควบคุมด้วยความรู้สึก “สยบยอม” ต่ออำนาจที่เหนือกว่าตน เพราะชะตากรรมของตนในฐานะปัจเจกชนนั้นถูกกำหนดมาแล้วตามคัมภีร์โหราศาสตร์แบบปัจเจกชน

กระบวนการทำให้ชะตากรรมของคนเป็นเรื่องของปัจเจกชนจึงฝังลึกในระบอบอารมณ์ความรู้สึกนึกคิดของผู้คนในสังคมไทย และถูกทำให้รู้สึกว่าเป็นเรื่องจริงแท้ และเป็นเรื่องความจริงแท้ที่จะทำให้สังคมอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขได้ หากทุกคนยอมรับในชะตากรรมที่ถูกกำหนดมาแล้ว กรอบความคิดในวรรณกรรม "กฏแห่งกรรม” ของ ท.เลียงพิบูลย์ถุกผลิตซ้ำและดัดแปลงใหม่ไปในหลายลักษณะ เช่น กลุ่มที่เชื่อเรื่องการแก้กรรม(ของปัจเจกชน) เป็นต้น

กระบวนการทำให้ชะตากรรมของคนเป็นเรื่องของปัจเจกชนนี้ขยายและแพร่เข้าไปสู่ศาสตร์ความรู้สมัยใหม่ที่ศึกษาเกี่ยวกับผู้คน เช่น จิตวิทยาไทยที่ยังก้าวไม่พ้นจิตวิทยาปัจเจกชนแบบซิกมันด์ ฟอรยด์ ก็หยิบมาปรับใช้อย่างกว้างขวาง (การอธิบายสาเหตุการฆ่าตัวตายของกรมสุขภาพจิตก็เน้นจากปัจจัยส่วนบุคคล) การศึกษาเกี่ยวกับปัญหาของสังคมก็จะโยนปัญหาลงบนบ่าของปัจเจกชน หรือ ความยากจนข่นแค้นก็เกิดเพราะปัจเจกชนคนนั้นเหลวไหลในการดำเนินชีวิต รวมไปถึงการอธิบายเด็กวัยรุ่นกวนเมืองก็เกิดเพราะคบเพื่อนเลวหรือรับวัฒนธรรมตะวันตก

กระบวนการทำให้ชะตากรรมของคนเป็นเรื่องของปัจเจกชนทำให้สังคมไทยมองไม่เห็นโครงสร้างทางเศรษฐกิจสังคมที่กำกับและกำหนดชะตาชีวิตของผู้คน ความเมตตาของคนในสังคมไทยซึ่งเป็นเรื่องที่น่าชื่นชม แต่ก็เป็นความเมตตาที่พร้อมจะมอบให้คนผู้ทุกข์ยากเป็นคนๆไป ไม่ใช่การเกิด “ความเข้าใจ/เห็นใจเชิงสังคม” (Social Empathy) ที่จะชักนำให้เกิดการปรับ/แก้ปัญหาเชิงโครงสร้าง

กระบวนการทำให้ชะตากรรมของคนเป็นเรื่องของปัจเจกชน จึงเป็นชุดความรู้ที่จรรโลงและสอดประสานเป็นเนื้อเดียวกันกับความรู้ในเรื่องกระบวนการการจัดความสัมพันธ์เชิงลำดับชั้นของอำนาจ มาอย่างยาวนาน แม้ว่าจะมีการเคลื่อนไหวทางการเมืองวัฒนธรรมสำคัญๆหลายครั้งในสังคมไทย ไม่ว่าจะเป็น การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 การปฏิวัติโดยคนรุ่นใหม่ ตุลาคม 2516 การต่อต้านการเข้าสู่อำนาจของทหาร 2535 และการเคลื่อนไหวการเมืองในสองทศวรรษหลัง แต่ก็ยังไม่สามารถที่จะลดทอนความเข้มแข็งมั่นคงของความรู้สองชุดนี้ได้

ความรู้สองชุดที่ถูกสถาปนาให้เป็น “ความจริงแท้” (absolute truth) เป็นความรู้ที่ขวางกั้นหนทางเดินของสังคมไทยที่จะต้องก้าวไปสู่โลกทางเศรษฐกิจ/สังคมใหม่ที่ผู้คนทุกคนจะต้องเข้ามามีส่วนร่วมในสังคมการเมืองอย่างเสมอภาคกันมากที่สุด เพราะหากสังคมไม่เปิดให้คนทุกคนมีส่วนร่วมในการทำเพื่อสังคมก็ทำให้ทุกคนดำรงอยู่เพียงรอการให้ "ความหวัง” จากชนชั้นสูงเท่านั้น ซึ่งไม่มีทางที่จะขับเคลื่อนสังคมไปข้างหน้าได้

การรัฐประหารครั้งล่าสุดอันนำมาซึ่งการครองอำนาจของกลุ่มนายทหารและเครือข่ายชนชั้นนำในช่วงเวลาแปดปีที่ผ่านมา เป็นความพยายามของชนชั้นนำที่สามัคคีกันในการจะ “ค้ำยัน” ความรู้สองชุดนี้ให้มีปฏิบัติการอย่างเป็นจริงและเข้มข้นขึ้น แต่เนื่องจากไม่มีความสามารถพอที่จะเข้าใจทั้งชุดความรู้และไม่มีความเข้าใจความเปลี่ยนแปลงของสังคม แต่ดันทุรังเข็นความรู้สองชุดนี้แบบมองไม่เห็นความแปรเปลี่ยนอะไรเลย จึงไม่แปลกใจที่สังคมไทยเผชิญหน้ากับสภาวะถดถอยในทุกๆด้านทุกๆมิติ

ความรู้ทางวิทยาศาสตร์บอกเราว่าไม่มีระบบอะไรที่ครอบคลุมได้ร้อยเปอร์เซ็นต์ สังคมมนุษย์ก็เช่นเดียวกัน แม้ว่าชนชั้นนำพยายามที่จะจรรโลงและค้ำยันความรู้ทั้งสองชุดนี้ไว้ให้มั่นคงสถาพร แต่ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจสังคมในช่วงยี่สิบปีที่ผ่านมาได้ก่อให้เกิดคนกลุ่มใหม่ๆขึ้นมาในสังคมอย่างหลากหลาย กลุ่มคนที่หลากหลายนี้ก็ได้สร้างความหมายใหม่ในการรับรู้ “ความเป็นจริง” ของสังคมที่มีพลังมากขึ้น

การศึกษา "ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม” ในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมา ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาด้วยแนวคิดใด ก็ล้วนแล้วแต่พลิกกลับความคิดหลักของสังคมไทย การศึกษาที่สำคัญชิ้นหนึ่ง ได้แก่ การศึกษาการเคลื่อนไหวของสมัชชาคนจนของประภาส ปิ่นตบแต่ง ก็ทำให้เห็นถึงการสร้างความคิดเรื่อง “ความเสมอหน้า” บนโต๊ะเจรจาระหว่างชาวบ้านกับนักการเมืองผู้ยิ่งใหญ่ ซึ่งเป็นการศึกษาที่ถือได้ว่าเป็นต้นฉบับของการศึกษาขบวนการการเคลื่อนไหวของประชาชนคนธรรมดา และมีผลต่อการรับรู้ของผู้คนในสังคมไทยไม่น้อย

ความรู้ที่ประภาส ปิ่นตบแต่ง ได้สร้างขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดมาไม่เพียงแต่เป็นความรู้ที่อยู่ในกระบวนการการเรียนการสอนเท่านั้น หากแต่เป็นความรู้ที่ทำให้ผู้คนจำนวนไม่น้อยมองเห็นสายสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างชีวิตและความเป็นจริงทางสังคมลักษณะใหม่ อันส่งผลต่อเนื่องมาสู่การเคลื่อนไหวของคนรุ่น "ทะลุ” ทุกสรรพสิ่ง ที่ได้ทำให้คนจำนวนไม่น้อยในสังคมไทยมองเห็นสังคมในสายตาที่ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป

การเคลื่อนไหวทางสังคมที่เกิดขึ้นได้ทำให้สังคมไทยจำเป็นต้องทบทวนฐานทางความคิดของสิ่งที่เราเชื่อว่าเป็น “ความรู้” เป็น “ความจริง” ในทุกๆ เรื่อง เพราะหากเราคงยังยึดมั่นกับ “ความจริง” ที่ไม่สามารถดำรงอยู่ได้ ก็จะทำให้สังคมไทยมองไม่เห็นความเปลี่ยนแปลงและมองอนาคตไม่เห็นอย่างแน่นอน  โอกาสที่สังคมไทยจะพ้นจากกับดักทางความรู้นี้ได้ก็มีแต่การร่วมกันสร้าง "ความรู้” "ความจริง” ชุดใหม่ที่จะผนึกเราทั้งหลายได้ร่วมกันผลักดันสังคมไทยให้ก้าวพ้นปลัก/บ่วงของชุดความรู้ที่ขัดขวางทางเดินที่ควรจะเป็นของสังคมไทย

 

อ้างอิง

[1] บทความในวาระโอกาสการเกษียณอายุราชการของอาจารย์ประภาส ปิ่นตบแต่ง

[2] อคิน ระพัฒน์,วัฒนธรรมคือความหมาย: ทฤษฎีและวิธีการของคลิฟฟอร์ด เกียร์ซ, กรุงเทพฯ:ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินทร (องค์กรมหาชน) 2551.หน้า 75.

[3] อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์,การเปลี่ยนแปลงโลกทัศน์ของชนชั้นผู้นำไทย ตั้งแต่รัชการที่ 4 ถึงพุทธศักราช 2475.กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สมมติ 2564.

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita