Service provider มีอะไรบ้าง

Next Logistics รวบรวมลักษณะและบทบาทหน้าที่ของ LSP (Logistics Service Provider) ไว้ดังนี้

ลักษณะการให้บริการของ LSP
งานที่ให้บริการจะเป็นกิจกรรมการให้บริการอย่างเป็นกระบวนการ ลักษณะงานมีความซับซ้อน ต้องใช้ทักษะความชำนาญเฉพาะด้านและเทคโนโลยี โดยผู้ว่าจ้างอาจใช้ผู้ให้บริการหลายราย โดยที่ผู้ว่าจ้างยังคงเข้าไปมีส่วนในการบริหารจัดการ เพื่อที่ผู้ให้บริการโลจิสติกส์แต่ละราย มีการเชื่อมโยงกัน

บทบาทหน้าที่ของ LSP

หมายถึง ผู้ให้บริการจากภายนอก หรือผู้ประกอบการภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ที่มีผลสำคัญ เป็นการอำนวยความสะดวกให้กับเจ้าของสินค้า ซึ่งอาจเป็นทั้งผู้นำเข้าหรือผู้ส่งออกสินค้า เพื่อลดต้นทุนค่าใช้จ่าย โดยสามารถแบ่งประเภทของการให้บริการ LSP ได้ดังต่อไปนี้

1.ให้บริการขนส่งสินค้า (Transportation Services)
หมายถึง การให้บริการด้านขนส่งสินค้า (ชิปปิ้ง) ทั้งภายในประเทศและส่งออกนอกประเทศในรูปแบบต่างๆ เช่น
-ขนส่งทางรถบรรทุก -ขนส่งทางราง -ขนส่งทางท่อ -ขนส่งทางน้ำหรือทางเรือ – ขนส่งทางอากาศ / MTO (Multimodal Transport Operator) การขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบ Terminal To Terminal หรือ Door To Door

2.ให้บริการคลังสินค้า (Warehousing Services)
เป็นการให้บริการพัก เก็บรักษา ดูแลและบริหารคลังสินค้า รวมทั้งการกระจายสินค้า ส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้ายสินค้าหรือวัตถุดิบ การจัดเก็บโดยไม่ให้สินค้าเสื่อมสภาพหรือแตกหักเสียหาย สามารถแบ่งประเภทของคลังสินค้าได้ เช่น
– คลังสินค้าผ่านแดน
– คลังสินค้าปลอดอากร
– คลังสินค้าทัณฑ์บน
– คลังสินค้ารับฝากเก็บสินค้าในประเทศ

ซึ่งบริการของ LPS ที่ลูกค้านิยมใช้บริการมากที่สุดได้แก่ คลังสินค้า การจัดการสินค้าคงคลัง เทียบท่าข้าม การขนส่ง ส่งต่อการขนส่งฯ

3.ผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ (International Freight Forwarder)
Forwarder ทำหน้าที่เป็นตัวแทนในการนำเข้าและส่งออกสินค้ากับทางสายเรือ(ชิปปิ้ง)หรือสายการบิน (Carrier) เพื่อจัดส่งสินค้าให้กับลูกค้าตั้งแต่การจองระวางเรือ การบรรจุสินค้า การขนส่ง การดำเนินพิธีการขาเข้าและขาออก การจัดการเกี่ยวกับเอกสารส่งออกและนำเข้า เป็นต้น โดยจะจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศตั้งแต่ต้นทางไปจนถึงปลายทาง แต่จะไม่มีเรือและเครื่องบินเป็นของตัวเอง

4.ตัวแทนออกของ (Customs Brokerage Services)
หรือการให้บริการด้านพิธีการศุลกากร ทำหน้าที่เป็นตัวแทนของผู้นำเข้า – ส่งออก ในการดำเนินพิธีการศุลกากรแทนผู้นำเข้า – ส่งออกที่เป็นเจ้าของสินค้า

5.การให้บริการพัสดุและไปรษณียภัณฑ์ (Courier and Postal Services)
ผู้ให้บริการขนส่งพัสดุและไปรษณียภัณฑ์ เป็นการให้บริการอย่างรวดเร็ว โดยให้บริการแบบ door-to-door โดยลักษณะสินค้าส่วนใหญ่จะเป็นสินค้าที่มีขนาดเล็กและน้ำหนักเบา เป็นต้น

ที่มา : docs.oracle.com

บทบาทหน้าที่ของผู้ให้บริการโลจิสติกส์ (Logistics Service Provider) หมายถึง ผู้ให้บริการจากภายนอก หรือผู้ประกอบการภายนอก มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่มีผลสำคัญในช่วยการทำงาน และสามารถประหยัดช่วยลดต้นทุนได้ แบ่งออกเป็น

  • ผู้ให้บริการขนส่งสินค้า (Transportation Services) ขนส่งทางรถยนต์ รถบรรทุก ขนส่งทางราง / ขนส่งทางท่อ ขนส่งทางน้ำ ขนส่งทางอากาศ และ MTO (Multimodal Transport Operator) การขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ Terminal To Terminal หรือ Door To Door
  • ผู้ให้บริการคลังสินค้า (Warehousing Services)
    • คลังสินค้าผ่านแดน (In-Transit Warehouse)
    • คลังสินค้าปลอดอากร (Free Zone Warehouse)
    • คลังสินค้าทัณฑ์บน (Bonded Warehouse)
    • คลังสินค้ารับฝากเก็บสินค้าในประเทศ (Domestic Warehouse)
  • ผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ (International Freight Forwarder) ผู้รับจัดการขนส่งสินค้า ระหว่างประเทศ
  • ตัวแทนออกของ (Customs Brokerage Services) ตัวแทนของผู้นำเข้าและผู้ส่งออกในการดำเนินพิธีการศุลกากรแทนผู้นำเข้าและผู้ส่งออกที่เจ้าของสินค้า
  • การให้บริการพัสดุและไปรษณียภัณฑ์ (Courier and Postal Services) ผู้ให้บริการขนส่งพัสดุและ ไปรษณียภัณฑ์ เปนนการให้บริการอย่างรวดเร็ว โดยให้บริการแบบ door-to-door ลักษณะเป็นสินค้า ที่มีขนาดเล็ก น้ำหนักเบา

อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับ : มารู้จัก 1PL 2PL 3PL 4PL และ 5PL คืออะไร ?

Related Posts

Service provider หรือ ผู้ให้บริการนำส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง ผู้ให้บริการนำส่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ e-Tax invoice และ e-Receipt และเป็นผู้มีคุณสมบัติตามท้ายประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม เรื่อง การจัดทำ ส่งมอบ และเก็บรักษาใบกำกับภาษีอีเล็กทรอนิกส์ และใบรับอิเล็กทรอนิกส์ กล่าวคือ เป็นผู้ดำเนินการ จัดทำ ส่งมอบ และเก็บรักษาไฟล์เอกสาร etax แทนผู้ประกอบการ โดยจะต้องผ่านหลักเกณฑ์ตามที่กรมสรรพากรและสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (สพธอ) หรือ ETDA กำหนดอย่างเคร่งคัด

Service provider ยังเข้ามาช่วยเหลือผู้ประกอบการที่มีความสนใจในการใช้งาน etax ให้สามารถใช้งานได้ง่าย มีความถูกต้องการในการจัดทำไฟล์เอกสาร รวมถึงปลอดภัยของข้อมูลที่ถูกจัดทำและจัดเก็บตามมาตรฐานการรับรอง ISO27001 ในส่วนการรับรองระบบสารสนเทศของผู้ให้บริการนำส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ มีวัตถุประสงค์ด้านความมั่นคงปลอดภัย (Security Objectives) ได้แก่ การรักษาความมั่นคงปลอดภัยของส่วนเชื่อมต่อ (Interface Security) การรักษาความมั่นคงปลอดภัยของซอฟต์แวร์ (Software Security) และการทำงานร่วมกันและการโอนย้ายบริการ(Interoperability and Portability) เพิ่มเติมเข้ามาจากมาตรฐาน ISO27001: 2013 เพื่อให้มีการควบคุมความมั่นคงปลอดภัยที่ครบถ้วนสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังต้องผ่านเงื่อนไขรับรองตาม ขมธอ. 21-2562 มีวัตถุประสงค์ในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศสำหรับผู้ให้บริการจัดทำ ส่งมอบ และเก็บรักษา e-Tax invoice และ e-Receipt โดยเฉพาะ

ผู้ประกอบการที่สนใจในการการใช้งาน etax ก็สามารถมั่นใจได้เลยว่า การใช้บริการผ่านผู้ให้บริการ service provider จะได้รับความสะดวก รวยเร็ว และปลอดภัยของข้อมูลที่จัดทำ มีมาตรฐานเป็นไปตามที่กรมสรรพากรกำหนดอย่างแน่นอน

ทาง Etaxgo เองก็เป็นผู้ที่กรมสรรพากรรับรองให้เป็น Service provider ด้วยเช่นเดียวกัน หาสนใจหรือต้องการข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดต่อทีมงานเราได้ตามช่องทางบนหน้าเว็บไซต์ได้ทันที

Tags

บทความที่น่าสนใจ

Service Provider หมายถึงอะไร

Service provider หรือ ผู้ให้บริการนำส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง ผู้ให้บริการนำส่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ e-Tax invoice และ e-Receipt และเป็นผู้มีคุณสมบัติตามท้ายประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม เรื่อง การจัดทำ ส่งมอบ และเก็บรักษาใบกำกับภาษีอีเล็กทรอนิกส์ และใบรับอิเล็กทรอนิกส์ กล่าวคือ เป็นผู้ดำเนิน ...

ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ มีอะไรบ้าง

ประเภท ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ชื่อ เครือข่าย เชิงพาณิชย์ (commercial) เอเชีย อินโฟเน็ท (ทรู อินเทอร์เน็ต) เอ-เน็ท ไอเดียเน็ท ไออีซีอินเทอร์เน็ต บริษัท กสท โทรคมนาคม -Asia.

ตัวอักษรย่อภาษาอังกฤษในข้อใด หมายถึง ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต

ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (อังกฤษ: Internet service provider: ISP) คือ บริษัทที่ให้ลูกค้าสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ต โดยผู้ให้บริการจะเชื่อมโยงลูกค้าเข้ากับเทคโนโลยีรับส่งข้อมูลที่เหมาะสมในการส่งผ่านอุปกรณ์โพรโทคอลอินเทอร์เน็ต อย่างเช่น ไดอัล, ดีเอสแอล, เคเบิลโมเด็ม, ไร้สาย หรือการเชื่อมต่อระบบไฮสปีด

ข้อใดคือ ISP ในประเทศไทย

ISP ในประเทศไทย.
ศูนย์อินเตอร์เน็ตประเทศไทย : Internet Thailandเป็นผู้ให้บริการรายแรกในประเทศไทยที่เป็นของรัฐ.
บริษัท KSC Internet Service จำกัด : Internet KSCเป็นผู้ให้บริการรายแรกในเชิงพาณิชย์.
บริษัท Loxley Information จำกัด : LoxInfo..
บริษัท InfoNews จำกัด : InfoNews..
บริษัท A-NET จำกัด : A-NET..

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita