ความหมายของการศึกษาค้นคว้า





หน่วยที่ 1 ประเด็นปัญหาเพื่อการศึกษาค้นคว้า

ชั่วโมงที่ 2-3
ใบความรู้ I30201 (IS1) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
หน่วยที่ 1 ผลการเรียนรู้ มีความรู้ และทักษะการตั้งประเด็นปัญหาเพื่อการศึกษาค้นคว้า
 1.1 เห็นคุณค่า และยกตัวอย่างการตั้งประเด็นปัญหาเพื่อการศึกษาค้นคว้า

การตั้งประเด็นปัญหาเพื่อการศึกษาค้นคว้า
 สิ่งส าคัญที่สุดในการศึกษาค้นคว้า คือ การเลือกเรื่องเพื่อตั้งประเด็นปัญหา เพราะถ้า
เลือกเรื่องเหมาะสมจะมีอุปสรรคน้อย ช่วยให้งานส าเร็จได้ด้วยดี การเลือกเรื่องตั้งประเด็นปัญหาจึงต้อง
ท าอย่างละเอียด รอบคอบ โดยมีเกณฑ์การพิจารณาดังนี้
 1. เป็นเรื่องที่ผู้ศึกษาค้นคว้ามีความสนใจอย่างแท้จริง และมีประโยชน์ต่อคนในสังคมโลก
เพราะต้องใช้ความพากเพียร อดทน ตั้งใจศึกษาค้นคว้าจึงจะส าเร็จได้
 2. ผู้ศึกษาค้นคว้ามีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ศึกษาค้นคว้า สอดคล้องกับพื้นฐาน
ประสบการณ์ และต้องมั่นใจว่าตนมีศักยภาพในการเรียนรู้เพื่อท าความเข้าใจเรื่องนั้น
 3. เป็นเรื่องที่ผู้ศึกษาค้นคว้ามีทุนเป็นค่าใช้จ่ายเพียงพอ ควรท าประมาณการค่าใช้จ่าย
เป็นค่าวัสดุ อุปกรณ์ ค่าเดินทางเก็บรวบรวมข้อมูล ค่าพิมพ์รายงาน และอื่นๆ
 4. มีแหล่งการเรียนรู้ส าหรับศึกษาค้นคว้าเพียงพอ อาจจะเป็นวัสดุสารสนเทศในห้องสมุด
ฐานข้อมูล อินเทอร์เน็ต สถานที่ส าคัญที่เกี่ยวข้อง
 5. สามารถขอความร่วมมือจากผู้ที่เกี่ยวข้องได้ เช่น ที่ปรึกษาการศึกษาค้นคว้า
ประชากร กลุ่มตัวอย่าง ผู้ช่วยการวิเคราะห์ข้อมูล เป็นต้น
 การนิยามปัญหา คือ การอธิบายปัญหาที่จะท าการศึกษาค้นคว้าให้ชัดเจน ประกอบด้วย
บทน า หรือความเป็นมา จุดมุ่งหมาย สมมุติฐาน เป็นต้น
 บทน า หรือความเป็นมา เป็นการกล่าวถึงที่มาของปัญหาที่จะศึกษาค้นคว้า แสดงให้เห็น
ว่าปัญหาคืออะไร เหตุใดจึงต้องศึกษาค้นคว้าเรื่องนั้น อาจอ้างทฤษฎี กฎเกณฑ์ หรือข้อเขียนที่เชื่อถือได้
เพื่อให้มีน้ าหนักน่าเชื่อถือ
 การก าหนดจุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า ใช้ภาษาที่อ่านเข้าใจง่าย เขียนให้
ครอบคลุมประเด็นปัญหา เขียนแยกเป็นรายข้อ หรือไม่แยกข้อก็ได้

แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ประเด็นปัญหาเพื่อการศึกษาค้นคว้า
 ให้นักเรียนท าแบบทดสอบหลังเรียนด้วยตนเอง เพื่อตรวจสอบความรู้หลังเรียนโดยการ
เลือกค าตอบที่ถูกต้องที่สุด เพียงค าตอบเดียวในแต่ละข้อ แล้วเขียนค าตอบลงในสมุดแบบฝึกหัด
1. ข้อใดส าคัญที่สุดในการศึกษาค้นคว้า
 ก. การก าหนดจุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
 ข. การกล่าวถึงความเป็นมาของปัญหาที่จะศึกษาค้นคว้า
 ค. การอธิบายปัญหาที่จะท าการศึกษาค้นคว้าให้ชัดเจน
 ง. การเลือกเรื่องเพื่อตั้งประเด็นปัญหา

2. การปฏิบัติในข้อใดที่จะช่วยลดอุปสรรคในการศึกษาค้นคว้าได้มากที่สุด
 ก. การประหยัด ข. ความอดทน
 ค. ความละเอียด รอบคอบ ง. ความพากเพียร
3. เรื่องที่ผู้ศึกษาค้นคว้าสนใจ ควรสอดคล้องกับเรื่องใดมากที่สุด
 ก. ผู้ศึกษาค้นคว้ามีความสนใจอย่างแท้จริง ข. มีประโยชน์ต่อคนในสังคมโลก
 ค. มีความพากเพียร อดทน ง. ตั้งใจศึกษาค้นคว้าให้ส าเร็จ
4. ข้อใด แสดงว่าผู้ศึกษาค้นคว้ามีความรู้ ความสามารถในเรื่องที่ศึกษาค้นคว้า
 ก. ศักยภาพในการเรียนรู้ ข. ประสบการณ์ในการศึกษาค้นคว้า
 ค. พื้นฐานการศึกษา ง. การท าความเข้าใจเรื่องที่ศึกษาค้นคว้า
5. ผู้ศึกษาค้นคว้า ควรท าอย่างไรเกี่ยวกับทุนที่ใช้เป็นค่าใช้จ่าย
 ก. ก าหนดราคาค่าวัสดุ อุปกรณ์ให้ชัดเจน ข. ท าประมาณการค่าใช้จ่าย
 ค. ระบุค่าเดินทางเก็บรวบรวมข้อมูล ง. จัดเตรียมงบประมาณค่าพิมพ์รายงาน
6. แหล่งการเรียนรู้ที่ใช้ส าหรับการศึกษาค้นคว้า ควรมีลักษณะเป็นอย่างไร
 ก. พอเพียง ข. ทันสมัย
 ค. เพียงพอ ง. สืบค้นได้ง่าย
7. ข้อใด คือ ผู้เกี่ยวข้องในการศึกษาค้นคว้า เป็นล าดับแรก
 ก. ประชากร ข. กลุ่มตัวอย่าง
 ค. ผู้ช่วยการวิเคราะห์ข้อมูล ง. ที่ปรึกษา
8. ข้อใดเป็นลักษณะของการนิยามปัญหา
 ก. การอธิบายปัญหาที่จะศึกษาค้นคว้าให้ชัดเจน
 ข. การกล่าวถึงที่มาของปัญหาที่จะศึกษาค้นคว้า
 ค. การอ้างทฤษฏี กฎเกณฑ์ หรือข้อเขียนที่เชื่อถือได้
 ง. การก าหนดจุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
9. การกล่าวถึงที่มาของปัญหาที่จะศึกษาค้นคว้า สาเหตุที่ต้องศึกษาค้นคว้าเรื่องนั้น เป็นลักษณะของข้อใด
 ก. การก าหนดจุดมุ่งหมาย ข. บทน า หรือความเป็นมา
 ค. การเขียนสมมุติฐาน ง. การนิยามปัญหา
10. ข้อใดเป็นจริง เกี่ยวกับการก าหนดจุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
 ก. เขียนแยกเป็นรายข้อ ข. ไม่ต้องเขียนแยกเป็นรายข้อ
 ค. เขียนแยกเป็นรายข้อ หรือไม่แยกข้อก็ได้ ง. ใช้ภาษาทางวิชาการ

กิจกรรม
 ให้นักเรียนเลือกเรื่อง และตั้งประเด็นปัญหาเพื่อการศึกษาค้นคว้า คนละ 1 ประเด็น
อธิบายความเป็นมาของปัญหา และจุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
















          ขั้นตอนสุดท้ายของการทำรายงานการค้นคว้า คือการเขียนส่วนประกอบอื่นๆ นอกเหนือจากส่วนที่เขียนมาแล้ว  ได้แก่ ส่วนประกอบตอนต้น  อันประกอบด้วย ปกนอก  หน้าปกใน  คำนำ  สารบัญ  และส่วนประกอบตอนท้าย  นอกเหนือจากบรรณานุกรม  เช่น ภาคผนวก  จากนั้นก็จัดพิมพ์ ตรวจทานแก้ไข แล้วเย็บเล่มเป็นรายงานฉบับสมบูรณ์

การเรียนรู้มีความสำคัญอย่างมากที่จะทำให้เราได้พัฒนาความรู้  ความคิด  และความสามารถในเรื่องต่างๆ ได้มากขึ้น  เนื่องจากการเรียนรู้เป็นการประมวลผลสารสนเทศที่เราได้รับ  ซึ่งนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงหรือการเพิ่มพูนความรู้ความสามารถ  ซึ่งกระบวนการเรียนรู้  มี  6  ขั้นตอน  คือ  ความรู้  ความเข้าใจ  การนำไปใช้  การวิเคราะห์  การสังเคราะห์  และการประเมินผลการเรียนรู้   การศึกษาค้นคว้า  เป็นการแสวงหาความรู้  เพื่อนำไปใช้ประกอบการตัดสินใจ หรือแก้ปัญหาต่างๆ   การศึกษาปัจจุบันมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง  นักเรียนจึงต้องมีความเข้าใจ  และมีทักษะในการค้นคว้า  ตลอดจนการเลือกใช้แหล่งการเรียนรู้  รู้จักเลือกใช้เครื่องมือช่วยค้นต่างๆ  สามารถค้นหาสารสนเทศมาใช้ประโยชน์ได้ถูกต้องตรงกับความต้องการ ทันเวลา  ตลอดจนประเมินสารสนเทศที่ได้มาว่ามีคุณค่าเพียงใด

จุดประสงค์การเรียนรู้

ตอนที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้และการแสวงหาความรู้

ตอนที่ 2 การศึกษาค้นคว้า

กิจกรรม

เอกสารอ้างอิง

 

Advertisement

Share this://taichalada.wordpress.com/

  • Twitter
  • Facebook

Like this:

ถูกใจ กำลังโหลด...

การศึกษาค้นคว้าคืออะไร

การศึกษาค้นคว้า คือ การแสวงหาความรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การเขียน การอ่าน การฟัง การสังเกต การทดลอง การสัมภาษณ์ เป็นต้น โดยศึกษาจากแหล่งวิทยาการต่าง ๆ และจดบันทึกข้อมูลหรือเรื่องราวไว้อย่างมีระบบ

วิธีการศึกษา มีอะไรบ้าง

วิธีการศึกษา 1. ศึกษาเก็บรวบรวมข้อมูล รูปแบบของการบริหารของบริษัทกรณีศึกษา 2. ศึกษาข้อมูลแลการนิยามปัญหา 3. เก็บข้อมูลเกี่ยวกับสาเหตุและสภาพปัญหา 4. วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา 5. ปรับปรุงแก้ไขปัญหา 6. ตรวจติดตามควบคุมและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง 7. สรุปผลการดําเนินการศึกษาและเพิ่มเติมข้อเสนอแนะ

IS ย่อมาจากคำว่าอะไร

IS ย่อมาจาก Independent Study หมายถึง วิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (Research & Knowledge Formation) ให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าอย่างอิสระในเรื่องหรือประเด็นที่ตนสนใจ ซึ่งจัดแบ่งเป็นสาระการเรียนรู้ 3 สาระ ประกอบด้วย

ข้อใดคือความหมายของคำว่า รายงานการศึกษาค้นคว้า

คืองานเขียนทางวิชาการที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูล จากแหล่งต่างๆ โดยศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร จากการสารวจ การ สังเกต การทดลอง ฯลฯ แล้วนามารวบรวมวิเคราะห์เรียบเรียงขึ้น ใหม่ตามโครงเรื่องที่ได้วางไว้โดยมีหลักฐานและเอกสารอ้างอิง ขั้นตอนการเขียนรายงาน การพิมพ์รายงาน ตัวพิมพ์

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita