ม้าที่ประทับเมื่อเสด็จออกผนวชชื่อ

        ทุกเหตุการณ์ที่ได้ถ่ายทอดออกมาในพุทธประวัติช่วงปฐมกาลนี้ ทำให้เรากระจ่างชัดในเส้นทางของพระโพธิสัตว์ที่ลงมาจุติเพื่อเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในพระชาติสุดท้าย มีความเป็นเหตุเป็นผล มีความหนักแน่นมั่นคงต่อเป้าหมายอย่างแท้จริง แม้จะมีอุปสรรคมากมาย แต่บุญบารมีที่พระองค์สั่งสมมาตลอดระยะเวลาอันยาวนาน ได้เป็นที่พึ่งให้กับพระองค์ และคอยประคับประคองให้พระองค์ไปถึงเป้าหมาย แม้จะออกนอกเส้นทางไปบ้าง แต่ก็กลับมาตรงทางได้ในที่สุด นับเป็นความอัศจรรย์อย่างยิ่ง

คุณครู Qanda - ThanachaiM

คุณครู Qanda - ThanachaiM

สงสัยถามได้ครับ

 ทรมานด้วยการเข้าเจโตสมาธิอันไร้นิมิต ในวันเพ็ญเดือนสามภายหลังพรรษานั้น  พระพุทธเจ้าเสด็จไปประทับ ณ ปาวาลเจดีย์ ตรัสบอกพระอานนท์ว่า พระองค์ได้ตัดสินพระทัยว่าจะปรินิพพานในเวลา ๓ เดือนนับแต่วันนั้น การตัดสินพระทัยเช่นนี้เรียกว่า ปลงพระชนมายุสังขาร

- ����ͷʹ���๵���繤��� ���� ����� ����������ӴѺ �֧�ç�Դ��Ҫ��Ե�ͧ�ء����ͧ���������Ҿ�蹹�� ���������ա����§�� �֧�Դ�Ǥ����Դ��� -��������š����բͧ���ѹ���� �� ����͹���ͧ����� , �շء���� �Դ �� �� ��� ���ͧ�շ���ش�ء�� ��� ����Դ ����� ����� ����� -�ç��繤����آ�ҧ�š����§���� �����آ㹡���س�繤����آ������� ����§�Ҿ���ҷ�� �ǹ����ŧ����繤����آ��ҹ�� 㹤�����ԧ��������դ����آ ����դ�����Դ��Թ㴷������դ����ء����ͻ� -�Զշҧ���о鹨ҡ�����ء��ͧ���Ե�蹹���� ˹�ҧ��ش�鹨ҡ�ѯʧ��� �е�ͧ����ȼ���ͧ���͹������ - ��觷��ç��������¡��� "�Ƿٵ(�ٵ���ä�)" �֧�Ѵ�Թ��з�·ç�͡��Ǫ ��ѹ���������Ż���ٵ���硹��� ���ͧ��ç��ҡѳ����͡��Ǫ �չ�©ѹ�е���ʴ� ����觵ç价����������ҹ�� �ç�Ѵ������ �������¹����ͧ�ç�繼�ҡ���Ǿѡ��� (������������ʽҴ��觵����) �ç����ͧ����ͧ�ç�ͺ����©ѹ�йӡ�Ѻ��й�� ����͡�Ǫ���駹�����¡��� ����ʴ��͡������ɡ���� (����ʴ��͡���ͤس�ѹ����˭�) - ��ѧ�ҡ�ç��Ǫ���� �֧�ç���价������Ӥ�� ������ ���ͤ鹤��ҷ��ͧ��ӹѡ����ôҺ� ������õ� ����ط��Һ� ����ص� ��������¹������ͧ�ӹѡ (����جҳ��鹷��Ỵ) ��ç�����������ҧ�鹷ء������������ѧ���

- �ҡ��鹨֧�ʴ�价���������ѭ��� 㹵Ӻ����������ʹҹԤ� (�Ѩ�غѹ���ʶҹ��������¡��� �������) ����ͺ��筷ءá����� �¢��ѹ���¿ѹ �����������ʹ����� ��ѧ�ҡ���ͧ�� 6 �� ���ѧ��辺�ҧ�鹷ء�� �֧�ç��ԡ���筷ءá����� �ѹ�Һ��ا����á���»��Ե������Ҫ������� "����͹��¾Գ��èТ֧�ʹը֧�������§��������" ��觾���Թ������ʴ�ŧ�Ҵմ�Գ���� �Գ���˹�觢֧���֧�Թ� �Ͷ١�մ��Ҵ�֧�͡�ҡ�ѹ �֧�Ԩ�ó���繷ҧ��¡�ҧ��� ��˹�ҧ���й�������⾸ԭҳ�� - �����ҧ���ç���筷ءá����� �ѭ��Ѥ���� (⡭�ѭ�� �ѻ�� �ѷ���� ��ҹ��� ���ʪ�) �Ҥ�»ù�ԺѵԾ��ͧ������ѧ��Ҩзç����ظ�������� ����;��ͧ����ԡ���筷ءá����� �ѭ��Ѥ����֧�����ѷ�� �ҡѹ������������Ի���Ĥ����ѹ ���ͧ���ҳ�� (�.��ùҶ)

เจ้าชายสิทธัตถะทรงพิจารณาเห็นความทุกข์อันเกิดจากการเวียนว่ายตายเกิดในชาติภพต่างๆ อย่างที่สิ้นสุดมิได้

กล่าวกันว่า ความดำริจะเสด็จออกจากโลกียวิสัยไปบวชบำเพ็ญพรตนี้เกิดขึ้นเพราะทรงทอดพระเนตรเห็น “เทวทูต” ทั้ง 4 คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะ ตามลำดับ

แต่ในพระสูตรกล่าวว่า พระองค์ทรงเบื่อหน่ายในกามสุขขึ้นมาเอง หลังจากได้รับการปรนเปรออย่างบำรุงบำเรอสารพัดจากพระราชบิดา ผู้ไม่ทรงมีพระประสงค์จะให้พระราชโอรสเสด็จออกผนวช

พระองค์ตรัสเล่าไว้ใน ปาสราสิสูตร พระไตรปิฎกเล่มที่ 12 ว่า

ขณะยังทรงเป็นพระโพธิสัตว์ (คือเป็นเจ้าชายสิทธัตถะ) พระองค์ทรงได้คิดว่า

“เราเองยังมีความเกิด ความแก่ ความตาย เป็นธรรมดาอยู่ ยังมัวหลงแสวงหาสิ่งที่มีความเกิด ความแก่ ความตาย เป็นธรรมดา ยังมัวหลงแสวงหาสิ่งที่มีความโศก ความเศร้าหมองเป็นธรรมดาอยู่แล้ว แล้วทำไมหนอ เราจึงไม่แสวงหานิพพาน อันไม่เกิดไม่ตาย เป็นธรรมปลอดจากเครื่องร้อยรัดใจ ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า”

นี้คือสาเหตุทำให้พระองค์ตัดสินพระทัยเสด็จออกผนวช

แต่อย่างไรก็ดี เทวทูตทั้งสี่ก็เป็นส่วนประกอบด้วย คืออาจพบเทวทูตทั้งสี่แล้ว ทรงตัดสินพระทัย หรือทรงครุ่นคิดพิจารณาถึงความวุ่นวายต่างๆ ทางโลกอยู่พอดีทอดพระเนตรเห็นเทวทูต ก็เร่งช่วยให้ตัดสินพระทัยเร็วขึ้น

แม้กระทั่งการได้ข่าวพระโอรส (ราหุล) ประสูติ ก็เป็นเครื่องกระตุ้นให้ต้องรีบตัดสินพระทัย ด้วยทรงเกรงว่าหากล่าช้าไป ความรักในพระโอรสอาจจะเป็นพันธะเหนี่ยวรั้งให้ไปไหนไม่ได้

ดังพระอุทานที่เปล่งออกมาว่า “ราหุล” (บ่วง) เกิดแล้ว พันธนาการเกิดแล้ว” นั้นแล

เวลาเสด็จออกผนวช ก็เป็นข้อถกเถียงกัน

เพราะพุทธประวัติที่เขียนภายหลัง ไม่ตรงกับในพระไตรปิฎก

พระไตรปิฎกซึ่งอยู่ในรูปพระพุทธดำรัสเล่าว่า พระไตรปิฎกมีข้อความว่า

“เมื่อสมัยเรายังหนุ่ม มีผมดำสนิทอยู่ในวัยกำลังเติบโต เมื่อบิดาและมารดาไม่ปรารถนา (จะให้บวช) ร้องไห้น้ำตานองหน้าอยู่ เราได้ปลงผม โกนหนวด นุ่งห่มผ้ากาสาวพัสตร์สละเรือนบวชเป็นบรรพชิตแล้ว”

หลังจากเสด็จออกผนวชแล้ว ประทับอยู่ที่ตำบลอนุปิยอัมพวันเป็นเวลาหนึ่งสัปดาห์ จากนั้นก็เสด็จไปยังแคว้นมคธ

ทรงพบพระเจ้าพิมพิสารที่มาเข้าเฝ้า และทูลเชิญให้ลาพรตไปครองราชสมบัติด้วยกัน

ว่ากันว่าพระเจ้าพิมพิสาร “ใจป้ำ” จะแบ่งอาณาจักรให้ครึ่งหนึ่งเลยทีเดียว แต่พระองค์ตรัสว่าพระองค์มิได้ต้องการสมบัติทางโลกใดๆ ที่สละทุกสิ่งทุกอย่างมานี้ก็เพื่อแสวงหาทางหลุดพ้นอย่างเดียวเท่านั้น

จากนั้นพระองค์ก็เสด็จไปสมัครเป็นศิษย์ฝึกปฏิบัติโยคะอยู่กับอาจารย์สองท่าน คือ อาฬารดาบส กาลามโคตร อุทกดาบส รามบุตร

โดยอยู่กับอาจารย์คนแรก ทรงได้รูปฌาน 4 และอรูปฌาน 3

อยู่กับอาจารย์คนที่สอง ทรงได้อรูปฌานที่ 4 เพิ่มขึ้น คือ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ระยะเวลานานเท่ามดไม่ปรากฏ แต่คาดว่าคงไม่เกินสองปีหรือน้อยกว่านั้น

ผลสัมฤทธิ์แห่งฌานก็ทำให้จิตใจสงบ ไม่ถูกกิเลสรบกวน แต่ก็ไม่ได้ถอนรากถอนโคนโดยสิ้นเชิง ออกจากฌานสมบัติเมื่อใด กิเลสอาสวะก็กลับมาเหมือนเดิม ดุจเอาศิลาก้อนใหญ่ทับหญ้าไว้ ตราบใดที่ยังไม่ยกศิลาออกหญ้าก็ไม่สามารถงอกงามได้ แต่ถ้ายกศิลาออกเมื่อใด หญ้าก็งอกขึ้นได้อีกฉะนั้น

ทรงเห็นว่ายังมิใช่สัมมาสัมโพธิญาณที่ทรงแสวงหา

พุทธประวัติแต่งกันภายหลัง มักพูดทำนองดูแคลนว่า ฌานสมบัติที่อาจารย์ทั้งสองสอนนั้นมิใช่ทางบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณ

บางฉบับก็ว่าแรงว่าเป็นแนวทางที่ผิด

แต่เมื่อพิจารณาแล้ว วิธีปฏิบัติให้ได้ฌานนี้พระพุทธเจ้านำมาปรับใช้สอนสาวกของพระองค์

เรียกว่าระบบสมถะนั้นเอง

เพียงแต่สมถะล้วนๆ ไม่ทำให้บรรลุพระนิพพานได้

ต้องทำสมถะจนได้ฌานแล้วทำฌานเป็นบาทฐานแห่งวิปัสสนาเท่านั้น จึงจะดำเนินสู่มรรคผลนิพพานได้

พูดอีกนัยหนึ่งก็ว่า วิธีโยคะของดาบสทั้งสองนั้น ก็เป็นอันเดียวกับสมถกรรมฐานนั้นเอง และสมถกรรมฐานนี้มีอยู่ก่อนสมัยพุทธกาลแล้ว โยคีที่บรรลุถึงขั้นสุดยอดของสมถกรรมฐานมีปรากฏมากมาย แต่ท่านเหล่านั้นมิได้ตรัสรู้เป็นพุทธะ เพราะระบบโยคะอำนวยผลเพียงศีลกับสมาธิ ยังขาดปัญญา

เมื่อพระพุทธองค์ทรงใช้สมถกรรมฐานเป็นบาทฐานแห่งการเจริญวิปัสสนา จึงได้ปัญญาตรัสรู้ ดังนั้น วิปัสสนากรรมฐานจึงเป็นคำสอนเฉพาะของพระพุทธศาสนา

ม้าที่ประทับเมื่อเสด็จออกผนวชชื่ออะไร

พระพุทธศาสนา ในกัณฐกวิมานสูตร มีข้อความบันทึกไว้อย่างชัดเจนว่า เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกผนวช พร้อมกับนายฉันนะและม้ากัณฐกะเพื่อแสวงหาหนทางหลุดพ้นจากทุกข์ และไม่ว่าจะเสด็จออกผนวช ด้วยพาหนะอะไร พระองค์ก็จะตรัสรู้ที่ใต้ต้นไม้ ต้นไม้ที่พระองค์ตรัสรู้จะเรียกว่า “ต้นโพธิ์” เหมือนกัน

สิ่งที่ทำให้พระพุทธเจ้าตัดสินใจเสด็จออกผนวชคืออะไร

กล่าวกันว่า ความดำริจะเสด็จออกจากโลกียวิสัยไปบวชบำเพ็ญพรตนี้เกิดขึ้นเพราะทรงทอดพระเนตรเห็น “เทวทูต” ทั้ง 4 คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะ ตามลำดับ แต่ในพระสูตรกล่าวว่า พระองค์ทรงเบื่อหน่ายในกามสุขขึ้นมาเอง หลังจากได้รับการปรนเปรออย่างบำรุงบำเรอสารพัดจากพระราชบิดา ผู้ไม่ทรงมีพระประสงค์จะให้พระราชโอรสเสด็จออกผนวช

เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกผนวช ณ สถานที่ใด

เมื่อวันอังคาร ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ปีมะเส็ง สาลวโนทยาน ของมัลลกษัตริย์ เมืองกุสินารา แคว้นมัลละ (ปัจจุบันอยู่ในเมือง กุสีนคระ) แคว้นอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย นับว่าเป็นเรื่องที่น่าอัศจรรย์ยิ่ง ที่เหตุการณ์ทั้ง ๓ เกี่ยวกับวิถีชีวิต

เทวทูตใด ที่เจ้าชายสิทธัตถะเห็นแล้ว ทรงดำริออกผนวช

เจ้าชายสิทธัตถะทรงเป็นผู้มีพระบารมีอันบริบูรณ์ ถึงแม้พระองค์จะทรงพรั่งพร้อมด้วยสุขสมบัติมหาศาลก็มิได้พอพระทัยในชีวิตคฤหัสถ์ พระองค์ยังทรงมีพระทัยฝักใฝ่ใคร่ครวญถึงสัจธรรมที่จะเป็นเครื่องนำทางซึ่งความพ้นทุกข์อยู่เสมอ พระองค์ได้เคยสด็จประพาสอุทยาน ได้ทอดพระเนตรเทวทูตทั้ง ๔ คือคนแก่ คนเจ็บ คนตาย และบรรพชิต พระองค์จึงสังเวช ...

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita