การวิเคราะห์และกําหนดรายละเอียดของปัญหา ตรงกับข้อใด

เมื่อคุณทดสอบผลิตภัณฑ์ออกใหม่ที่สำคัญ บางครั้งคุณอาจประหลาดใจกับข้อผิดพลาดใหม่ๆ ในสภาพแวดล้อมที่ใช้งาน เพราะเหตุใด เกิดปัญหาอะไรขึ้น สภาพแวดล้อมในการทดสอบอาจไม่ใกล้เคียงกับสภาพแวดล้อมในการผลิตจริงอย่างที่คุณคิด การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างพื้นฐานสามารถเกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมได้โดยไม่มีระบุมาเป็นเอกสาร ทำให้สภาพแวดล้อมค่อยๆ เริ่มแตกต่างออกไป

การแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องใช้เวลานานมาก การเรียนรู้วิธีแก้ไขปัญหาให้เร็วขึ้นถือเป็นหนึ่งในการลงทุนที่ดีที่สุดที่คุณทำได้ในฐานะนักพัฒนาซอฟต์แวร์

การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาคืออะไร

การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา (RCA) คือเทคนิคพิเศษที่คุณนำไปใช้เพื่อแก้ไขปัญหาโดยเฉพาะ เทคนิคนี้ช่วยให้คุณสามารถวิเคราะห์ปัญหาที่พบเจอได้โดยใช้ขั้นตอนที่กำหนดมาโดยเฉพาะต่างๆ เพื่อค้นหาสาเหตุหลักของปัญหา RCA ยึดหลักการว่า การสนใจแต่ปลายเหตุโดยเพิกเฉยต่อสาเหตุของปัญหานั้นไม่มีประโยชน์

การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหามีประโยชน์อย่างไร

การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา (RCA) คือเทคนิคพิเศษที่คุณนำไปใช้เพื่อแก้ไขปัญหาโดยเฉพาะ เทคนิคนี้ช่วยให้คุณสามารถวิเคราะห์ปัญหาที่พบเจอได้โดยใช้ขั้นตอนที่กำหนดมาโดยเฉพาะต่างๆ เพื่อค้นหาสาเหตุหลักของปัญหา RCA ยึดหลักการว่า การสนใจแต่ปลายเหตุโดยเพิกเฉยต่อสาเหตุของปัญหานั้นไม่มีประโยชน์

ฉันจะเริ่มต้นทำการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาได้อย่างไร

อธิบายปัญหา

ใช้ การอธิบายปัญหาอย่างง่ายๆ ให้กับน้องเป็ดยาง(Rubber-Duck Debugging) ในการอธิบายอะไรก็ตาม คุณถูกบังคับให้ต้องเรียงลำดับความคิดของคุณ Jeff Atwood ผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ถามตอบยอดนิยมอย่าง Stack Overflow เล่าให้ฟังว่ากี่ครั้งแล้วที่นักพัฒนาซอฟต์แวร์บอกเขาเกี่ยวกับการเขียนคำถามใหม่ไปยังเว็บไซต์ การค้นหาคำตอบด้วยตนเอง แต่ไม่เคยส่งคำถามจริงๆ

ลองใช้วิธีต่อไปนี้เพื่อช่วยให้คุณระบุปัญหาได้ง่ายๆ

  1. เขียนคำถามลงใน Stack Overflow แม้ว่าคุณจะไม่เคยทำก็ตาม
  2. บันทึกรายงานข้อบกพร่องโดยละเอียดเอาไว้
  3. อธิบายให้เพื่อนร่วมงานฟัง

รวบรวมข้อมูลบันทึก (และค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ)

ลำดับต่อไปคือรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับปัญหาและหาข้อมูลเชิงลึก การบันทึกและการติดตามตรวจสอบอาจช่วยได้ ไม่ว่าจะเป็นบันทึกการทำงานล้มเหลว บันทึกแอปพลิเคชันและเซิร์ฟเวอร์ และอื่นๆ คุณต้องรวบรวมหลักฐานว่าปัญหาเกิดขึ้นจริง และหากเป็นไปได้ ให้หาด้วยว่าปัญหาเกิดขึ้นนานแค่ไหนแล้วและเกิดขึ้นบ่อยแค่ไหน

ภายในข้อมูลทั้งหมดนั้น คุณต้องค้นหาจุดข้อมูลที่เฉพาะเจาะจงอย่างรวดเร็ว เครื่องมือสามารถช่วยคุณค้นหาและวิเคราะห์ข้อมูลบันทึกที่คุณได้รวบรวม และเปลี่ยนเป็นข้อมูลเชิงลึกเพื่อวินิจฉัยและแก้ไขปัญหาได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

ใช้เทคนิค 5 Why

ต่อไปก็ระบุปัจจัยเชิงสาเหตุ หรือสาเหตุโดยตรงของปัญหาที่เผชิญอยู่ ไม่ควรระบุปัจจัยเชิงสาเหตุแค่ประการเดียวแล้วก็จบ คุณต้องทำต่อด้วยการใช้เทคนิค 5 Why ถาม “ทำไม” ซ้ำๆ จนกว่าจะถึงต้นตอของปัญหา ตัวอย่างเช่น เว็บไซต์ของคุณแสดงข้อผิดพลาด 500

  1. เพราะเหตุใด เพราะองค์ประกอบการกำหนดเส้นทางของเฟรมเวิร์กเว็บไซต์ทำงานผิดพลาด
  2. เพราะเหตุใด เพราะองค์ประกอบดังกล่าวต้องใช้อีกองค์ประกอบร่วมด้วย ซึ่งก็ทำงานผิดพลาดเช่นกัน
  3. เพราะเหตุใด เพราะองค์ประกอบของเฟรมเวิร์กเว็บไซต์นี้ต้องใช้ส่วนขยาย intl ซึ่งไม่ทำงาน
  4. เพราะเหตุใด เพราะส่วนขยายนี้ถูกปิดโดยไม่ได้ตั้งใจหลังจากอัปเดตซอฟต์แวร์เซิร์ฟเวอร์

แน่นอน คุณอาจจะเจอสาเหตุของปัญหาได้เร็วกว่านั้น หรือบางทีคุณก็อาจต้องถามเพิ่ม

ให้ผู้อื่นช่วย

เช่นเดียวกับการตรวจสอบโค้ด ให้คนอื่นที่เป็นกลางช่วยดูโค้ดของคุณ เมื่อเวลาผ่านไป ความคาดหมายจากการตรวจสอบจะช่วยคุณปรับแต่งกระบวนการของคุณ หรือยิ่งดีไปกว่านั้น จับคู่ปัญหากับการแก้ไขปัญหา

AWS นำเสนออะไรสำหรับการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา

เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับราคาของ Amazon OpenSearch Service

ไปที่หน้าราคา

AWS จะสิ้นสุดการรองรับ Internet Explorer ในวันที่ 07/31/2022 เบราว์เซอร์ที่รองรับ ได้แก่ Chrome, Firefox, Edge และ Safari เรียนรู้เพิ่มเติม »

### ยินดีต้อนรับเข้าสู่เว็บไซต์ศูนย์การเรียนรู้ รายวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนชัยบาดาลวิทยา ###

รหัสวิชา ง 30203
วิชา การพัฒนาโปรแกรมเบื้องต้น
หน้าหลัก
คำอธิบายรายวิชา
สาระการเีรียนรู้
แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9
หน่วยการเรียนรู้ที่ 10
แบบทดสอบหลังเรียน
เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

บทเรียนเสริมความรู้ หน่วยที่ 2

1. แนวทางการแก้ปัญหา

          จากการศึกษาพฤติกรรมในการเรียนรู้และแก้ปัญหาของมนุษย์พบว่า โดยปกติมนุษย์มีกระบวนการในการแก้ปัญหา ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้

1. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา
           การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา (State the problem) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนแรกสุด
ก่อนที่จะลงมือแก้ปัญหา แต่ผู้แก้ปัญหามักจะมองข้ามความสำคัญของขั้นตอนนี้อยู่เสมอ จุดประสงค์ของขั้นตอนนี้ คือการทำความเข้าใจกับปัญหาเพื่อแยกให้ออกว่าข้อมูลที่กำหนดมา ในปัญหาหรือเงื่อนไขของปัญหาคืออะไร และสิ่งที่ต้องการคืออะไร อีกทั้งวิธีการที่ใช้ประมวลผล ในการวิเคราะห์ปัญหาใด กล่าวโดยสรุป มีองค์ประกอบในการวิเคราะห์ ดังนี้

1.1 การระบุข้อมูลเข้า ได้แก่ การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดมาในปัญหา1.2 การระบุข้อมูลออก ได้แก่ การพิจารณาเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องหาคำตอบ1.3 การกำหนดวิธีประมวลผล ได้แก่ การพิจารณาขั้นตอนวิธีหาคำตอบหรือข้อมูลออก 

ตัวอย่างที่ 2 แสดงการวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของการหาค่าเฉลี่ยของจำนวนเต็ม 5 จำนวน
ได้แก่ 0 3 4 8 และ 12
      �ҡͧ���Сͺ㹡������������С�˹� ��������´�ͧ�ѭ��
      (1) ����кآ�������� 㹷����⨷���˹� ����Ҥ������¢ͧ�ӹǹ��� 5 �ӹǹ �ѧ��� ������������� �ӹǹ 0 3 4 8 ��� 12
      (2) ����кآ������͡ �ҡ⨷����觷���繤ӵͺ�ͧ�ѭ�Ҥ�� �������� (X) �ͧ�ӹǹ������
      (3) ��á�˹��Ըջ����ż� �ҡ��觷��⨷���ͧ��� ��������” ���¶֧ ������ͧ�ӹǹ��� 5
��ô��� 5 �ѧ��� ��鹵͹�ͧ��û����żŻ�Сͺ����
           3.1) รับค่าจำนวนทั้ง 5 จำนวน
           3.2) นำจำนวนเต็มทั้ง 5 มาบวกเข้าด้วยกัน
           3.3) นำผลลัพธ์จากข้อ 3.2) มาหารด้วย 5

ตัวอย่างที่ 3 แสดง การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของการหา ค่า X เมื่อ X คือจำนวนเต็มจำนวนหนึ่่ง
ในกลุ่มจำนวนเต็ม 5 จำนวน ที่มีค่าเฉลี่ยเป็น 10 และจำนวนอีก 4 จำนวนได ้แก่ 3 4 8 และ 12
จากองค์ประกอบในการวิเคราะห์และกำหนดราย ละเอียดของปัญหา
           (1) การระบุข้อมูลเข้า จากโจทย์ข้อมูลเข้า ได้แก่
                1.1) จำนวนอีก 4 จำนวน คือ 3 4 8 12
                1.2) ค่าเฉลี่ยของจำนวนทั้ง 5 จำนวน คือ 10
           (2) การระบุข้อมูลออก จากโจทย์สิ่งที่เป็น ผลลัพธ์ คือ ค่า X
           (3) การกำหนดวิธีประมวลผล จากโจทย์และความหมาย ของ “ค่าเฉลี่ย”เราสามารถสรุปขั้นตอนของการประมวลผลได้ดังนี้
               3.1) หาค่าผลรวมของจำนวนเต็มทั้ง 5 โดยนำค่าเฉลี่ยคูณด้วยจำนวนของเลข จำนวนเต็ม นั่นคือ 10 x 5 = 50
               3.2) จากความหมายของ “ผลรวม” จะได้ 3+4+8+12+X = 50
               3.3) แก้สมการ 27+X = 50 (จะได้ X = 23 ซึ่งคือผลลัพธ์)

     

เข้าสู่บทเรียนถัดไป

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita