สูตรการหาค่า t-test dependent

t-test dependent เป็นสถิติที่ใช้ในการทดสอบความแตกต่างของข้อมูล 2 ข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างเพียงกลุ่มเดียว เช่น ทดสอบความแตกต่างของคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียน 1 ห้อง ซึ่งส่วนใหญ่จะนำมาใช้ในการวิจัยในชั้นเรียน หรือการทำวิจัยในระดับบัณฑิตศึกษาด้านการศึกษา

วิธีการคำนวณ t-test dependent ด้วย Microsoft Excel

1. เปิดโปรแกรม Microsoft Excel ขึ้นมา เตรียมข้อมูลคะแนนสอบก่อน-หลัง เรียนให้เรียบร้อย

2. ติดตั้ง Add-ins โดยไปที่เมนู “File” > “Options” จะมีหน้าต่าง Excel Options ขึ้นมา เลือกที่แท็บ “Add-ins” แล้วคลิกที่ปุ่ม “Go…“


3. คลิกเลือก “Analysis ToolPak” คลิกปุ่ม “OK”


4. เมื่อติดตั้งเสร็จแล้ว สังเกตที่แท็บ “Data” ถ้ามี “Data Analysis” ขึ้นมาแสดงว่าพร้อมใช้งาน


5. เริ่มต้นวิเคราะห์ “Data Analysis” เพื่อเปิด Add-ins ขึ้นมา แล้วเลือก “t-test: Paired Two Sample for Means” แล้วคลิกปุ่ม “OK”


6. เลือกส่วนของข้อมูลดังนี้

6.1 ในส่วน Input “Variable 1 Range:” เลือกส่วนข้อมูลก่อนเรียน และ “Variable 2 Range:” เลือกส่วนข้อมูลหลังเรียน

6.2 ในช่อง Hypothesized Mean Difference ให้ใส่เลข 0 (ค่าความแตกต่างของ สมมุติฐานของ Mean ของกลุ่มตัวอย่าง โดยปกติ เรามักจะกำหนด ให้เป็น 0 คือไม่แตกต่างกัน)

6.3 ในช่อง Labels ให้คลิกเลือก เนื่องจากในช่วงที่กำหนด มีชื่อหัวแถว จึงต้องคลิกเครื่องหมายถูก เพื่อบอกว่ามีชื่อหัวแถว (ในตัวอย่าง ขั้นตอน 6.1 เลือกแอดมินไม่ได้เลือกส่วนหัว จึงไม่ได้คลิกเลือก)

6.4 ในช่อง Alpha ให้ระบุค่าระดับความเชื่อมั่น ปกติคือ 0.05 หรือ 0.01

6.5 ในส่วน output option ให้คลิกเลือกตรง Output Range หลังจากนั้นเอาเมาท์ไปที่ สเปรดชีตหรือเวิร์กบุ๊ก แล้วคลิกตรงช่องว่างในตำแหน่งที่ต้องการให้แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ถ้าพูดถึงสถิติ T – test หลายคนๆ คงจะคุ้นๆ หู กับคำว่า T – test dependent และ T – test independent  กันมาบ้างแล้ว

ในบทความนี้จะมาบอกถึงความแตกต่างของสถิติ T – test ทั้ง 2 ตัวนี้ ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร และ สถิติ T – test dependent กับ สถิติ T – test independent ควรนะไปใช้ในสถานการณ์ใดบ้าง โดยสามารถแยกย่อยเป็น 2 ประเด็น ดังนี้…

1. สถิติ T – test dependent

สถิติ T – test dependent เป็นสถิติที่ใช้ในการทดสอบข้อมูลกลุ่มตัวอย่าง ในกลุ่มเดียวกัน ที่มีขนาดน้อยกว่า 30 คน (n<30) ส่วนใหญ่จะใช้ในงานวิจัยเชิงทดลอง 

และในบางครั้ง สถิติ T – test dependent สามารถเรียกอีกชื่อว่า “สถิติ Paired Samples T-test” สาเหตุนี้มากจาก Paired Samples T-test นั้นเป็นชื่อคำสั่งบนแถบเมนูในโปรแกรม SPSS เวลาที่ผู้วิจัยเริ่มทำการวิเคราะห์สถิติ T – test dependent ซึ่งเป็นภาษาที่นักวิจัยพูดกันเพื่อความเข้าใจที่ตรงกัน นั่นเอง

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ดังนั้น สถิติ T – test dependent  ส่วนใหญ่จะใช้ในงานวิจัยของ สาขาวิชาครูทุกสาขาวิชา สาขาวิชาวิทยาศาสตร์บางสาขาวิชา ที่ต้องมีการเปรียบเทียบก่อนและหลังการทดลอง เพื่อทดสอบประสิทธิผลของการทำงาน

ในสาขาวิชาครูจะเห็นบ่อยมาก เช่น การเปรียบเทียบผลการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของผู้เรียนกลุ่มเดียวกัน ว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหรือไม่ 

ส่วนสาขาวิทยาศาสตร์ เรามักจะเห็นในงานทดลอง เพื่อทดสอบในสิ่งที่ทีมวิจัยสาขาวิทยาศาสตร์กำลังทดลองสิ่งนั้นอยู่ เช่น การทดสอบประสิทธิผลไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ในการผลิตน้ำยาฆ่าเชื้อเพื่อฉีดพ่นเชื้อโควิด 19 (COVID-19) ว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหรือไม่

สูตรของสถิติ T – test dependent จึงสามารถแสดงได้ ดังนี้

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

2.  สถิติ T – test independent

ส่วน สถิติ T – test independent เป็นสถิติที่ใช้ในการทดสอบกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน โดยข้อตกลงเบื้องต้นของสถิตินี้ กลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มจะต้องไม่สัมพันธ์กันหรือเป็นอิสระต่อกัน อีกทั้งค่าของตัวแปรตามในแต่ละหน่วยต้องเป็นอิสระต่อกัน 

และกลุ่มตัวอย่างได้มาต้องสุ่มมาจากประชากรที่มีการแจกแจงแบบปกติด้วย ผู้วิจัยจะเห็นการใช้สถิตินี้ใช้เปรียบเทียบ ความแตกต่างระหว่างกลุ่ม โดยอาจเปรียบเทียบได้ทั้งค่าเฉลี่ย ความแปรปรวน เช่น การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยสองกลุ่ม เมื่อมีกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ 

ส่วนใหญ่ผู้วิจัยจะเห็นการใช้ สถิติ T – test independent ได้ในทุกสาขาวิชา เช่น การเปรียบเทียบปัจจัยประชาศาสตร์ ด้านเพศ ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคในเซเว่น สาขาบางนา แตกต่างกัน

สูตรของสถิติ T – test independent จึงสามารถแสดงได้ ดังนี้

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า สถิติ T – test dependent และ T – test independent แตกต่างกันที่ขนาดกลุ่มตัวอย่าง ความเป็นอิสระของตัวแปร และวัตถุประสงค์ในการใช้งาน

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย

แอดเพิ่มเพื่อน

Post Views: 2,171

  • Facebook iconfacebook
  • Twitter icontwitter
  • LINE iconline

T - test dependentT - test dependent กับ T - test independentT - test dependent กับ T - test independent แตกต่างกันอย่างไรT - test independentการทำงานวิจัยการทำงานวิทยานิพนธ์การทำดุษฎีนิพนธ์การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโทการวิเคราะห์ข้อมูลการเขียน Proposal งานวิจัยการเขียนวิจัยบทที่ 1การเขียนโครงร่างงานวิจัยการเลือกหัวข้องานวิจัยกำหนดปัญหางานวิจัยข้อผิดพลาดในการทำวิจัยข้อมูลงานวิจัยงานดุษฎีนิพนธ์งานวิจัยงานวิทยานิพนธ์จ้างทำวิจัย 5 บทจ้างทําวิจัยดุษฎีนิพนธ์ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัยบริการจ้างทำวิทยานิพนธ์บริการรับทำวิจัยปัญหางานวิจัยรับจัดหน้าวิทยานิพนธ์รับทำวิจัยรับทำวิทยานิพนธ์รับทำวิทยานิพนธ์ ราคาวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสถิติ T - test แตกต่างสถิติ T-testสถิติการวิเคราะห์หัวข้อวิจัย

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita