หนังสือรับรองการเป็นนักศึกษา มอ ปัตตานี

การพัฒนาความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยอาศัยการจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิคปริศนาความคิด

ฐิติพร จันทร์ตรี, วราภรณ์ จาตนิล

PDF

19-30

การพัฒนาตัวบ่งชี้เชิงกลยุทธ์การตลาดในการผลิตครูที่มีศักยภาพ สำหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏเขตภาคใต้

พรรณอร อุชุภาพ

PDF

31-43

ผลของโปรแกรมความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรค เพื่อพัฒนาความมีวินัยในตนเองของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

จรัญญา ประสิทธิ์สุนทร, มนัสนันท์ หัตถศักดิ์

PDF

44-54

ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสถิติธุรกิจของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

สุภาวดี สุวิธรรมา

PDF

55-69

ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดสร้างสรรค์แบบสร้างใหม่ กับประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากรทางการศึกษา กลุ่มโรงเรียนสุวรรณภูมิ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาลพบุรี เขต 2

สมพร พิบูลย์, สุดารัตน์ สารสว่าง, พร้อมพิไล บัวสุวรรณ

PDF

70-80

ผลการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างสรรค์ความรู้ผ่านชิ้นงาน เรื่อง ไฟฟ้าในชีวิตประจำวันเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการสร้างผลงานของ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยเทคนิคประจวบคีรีขันธ์

ศักดิ์สกุล คลังชะนัง, ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์, ดวงเดือน พิณสุวรรณ์

PDF

81-93

ผลการใช้โปรแกรมการพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเอง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้

กรัณฑรักข์ วิทยอภิบาลกุล

PDF

94-113

กระบวนการกลุ่มและการมีส่วนร่วมของครอบครัว ต่อการลดพฤติกรรมเสพเกมของวัยรุ่น

ศุภลักษณ์ หมื่นสุรินทร์, สุใจ ส่วนไพโรจน์

PDF

114-126

ทรรศนะของนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง ที่มีต่อสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ ตามแนวคิดการศึกษาแบบเชิญชวน

สุริยันต์ บุญเลิศวรกุล, สุวิมล เขี้ยวแก้ว

PDF

127-137

ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานร่วมกับกลวิธี POE ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ และความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6

อามีเนาะ ตารีตา, ณัฐินี โมพันธุ์, อุสมาน สารี, มัฮดี แวดราแม

PDF

138-153

การพัฒนาการ์ตูนแอนิเมชั่นปฏิสัมพันธ์ 2 มิติ เรื่อง พลเมืองดี เพื่อสร้างความรู้ในการเป็นพลเมืองดีของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ณัฏฐพงศ์ กาญจนฉายา, คณิตา นิจจรัลกุล, มณฑล ผลบุญ

PDF

154-165

ปัจจัยพหุระดับในการเลือกเรียนภาษาต่างประเทศท่ีมีอิทธิพล ต่อความสามารถทางภาษาของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้

ปาอีซะห์ จินตรา, อาฟีฟี ลาเต๊ะ

PDF

166-181

ผลของการสอนโดยใช้วิธีการแบบเปิดที่มีต่อความสามารถ ในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

อัสมาอ์ หะยีตาเฮร์, ธีรพงศ์ แก่นอินทร์, อลิสรา ชมชื่น

PDF

182-193

ปัจจัยองค์การท่ีมีความสำคัญต่อการตัดสินใจของนักศึกษา ในการเลือกเรียนระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

พรเพ็ญ วงศ์พจน์, ธีร หฤทัยธนาสันติ์, เอกรินทร์ สังข์ทอง, เสกสรร สุธรรมานนท์

PDF

194-205

การวิเคราะห์จำแนกปัจจัยทางการบริหารที่ส่งผลต่อการรับรอง มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 3 (พ.ศ. 2554 – 2558) ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้

ตรวจสอบข้อมูล การขอใบทรานสคริปต์ออนไลน์ ที่เรียกว่า Digital Transcript ว่า มีกี่ มหาวิทยาลัยไหนบ้าง ที่นิสิต นักศึกษา ไม่ต้องเสียเวลาเดินทางไปขอที่ฝ่ายทะเบียน เช็คได้ที่นี่

ใบทรานสคริปต์ (Transcript) หรือ ใบรับรองผลการเรียน เป็นหนึ่งในเอกสารสำคัญของนักเรียน นิสิต นักศึกษา ที่การันตีการจบการศึกษาจริง เพื่อนำไปใช้ยืนยันเส้นทางก้าวต่อไปในชีวิตทั้งการสมัครเรียนต่อ การสมัครงาน ฯ 

 

ในอดีต (ยุคของผู้เขียน) เรียนจบปริญญาตรีแล้ว กว่าจะได้ใบทรานสคริปต์ ต้องติดต่อกับฝ่ายทะเบียน หรือ สำนักทะเบียนของมหาวิทยาลัย จ่ายค่าธรรมเนียม รอเวลาปริ๊นเอกสาร นัดหมายในการเดินทางไปรับ

 

หรือ แม้กระทั่งทำงานทำการแล้ว ดันไปทำเอกสารทรานสคริปต์หาย ก็ต้องแจ้งความเอกสารหาย วกกลับไปติดต่อฝ่ายทะเบียน ที่มหาวิทยาลัย เพื่อขอคัดสำเนาทรานสคริปต์อีกครั้ง ซึ่งยุ่งยากและใช้เวลานานไม่น้อย

แต่ข้อมูลปัจจุบัน จากสำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) หรือ DGA ) ซึ่งเป็นหน่วยงานกลางของระบบรัฐบาลดิจิทัล ทำหน้าที่ในการให้บริการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานของหน่วยงานของรัฐและหน่วยงานอื่นเกี่ยวกับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล

 

พบว่ามีทั้งหมด 39 มหาวิทยาลัย (ข้อมูล ณ เดือนธันวาคม 2564) ที่มีระบบขอใบทรานสคริปต์ออนไลน์ ที่มีชื่อเรียกว่า Digital Transcript (ดิจิทัลทรานสคริปต์)  โดยมีรายชื่อมหาวิทยาลัย ดังนี้ 

  1. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 
  2. มหาวิทยาลัยมหิดล 
  3. มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
  4. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 
  5. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 
  6. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
  7. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
  8. มหาวิทยาลัยราชภัฏกําแพงเพชร 
  9. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
  10. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 
  11. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 
  12. มหาวิทยาลัยพะเยา 
  13. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 
  14. มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 
  15. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 
  16. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ 
  17. มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต 
  18. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี 
  19. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 
  20. มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 
  21. มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา 
  22. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 
  23. สถาบันเทคโนโลยีจิตรลตา 
  24. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 
  25. มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 
  26. มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี 
  27. มหาวิทยาลัยนครพนม 
  28. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช 
  29. มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ 
  30. มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด 
  31. มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ 
  32. มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ 
  33. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม 
  34. สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา
  35. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 
  36. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี 
  37. วิทยาลัยชุมชนปัตตานี 
  38. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 
  39. มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ดร.สุพจน์ เธียรวุฒิ ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) เปิดเผยว่า ในปี 2564 ที่ผ่านมา ยังร่วมมือกับกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) ดำเนินโครงการจัดทำเอกสารสำคัญทางการศึกษาในรูปแบบดิจิทัล (Digital Transcript) 

ซึ่งระบบนี้จะรองรับให้สถาบันการศึกษาสามารถออกใบรับรองการศึกษาในรูปแบบดิจิทัลได้ เพื่อแก้ปัญหาการปลอมแปลงเอกสาร โดยในเดือนธ.ค. 2564 มีสถาบันอุดมศึกษาที่พร้อมให้บริการ Digital Transcript จำนวน 39 แห่ง รองรับผู้ที่เรียนจบในปีการศึกษา 2564 จำนวน 1.6 แสนคน โดย Digital Transcript จะช่วยอำนวยความสะดวกเกี่ยวกับการสมัครงานได้ 


“สพร. ยังได้หารือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่พร้อมรับ Digital Transcript แล้ว เช่นสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ หรือ ก.พ.ร. สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน หรือ กพ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา หรือ กยศ. กรมการจัดหางาน และสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ หรือ สวทช. ส่วนภาคเอกชนมีรายใหญ่ ๆ เช่น บมจ.ปตท. สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย หรือ สอท. หอการค้า ด้วย พร้อมทั้งยังหารือกับกระทรวงอว. ขยายต่อไปให้มากที่สุดกับการศึกษาขั้นพื้นฐาน รองรับเด็กเรียนจบมัธยมปลายต่อไป”

ซึ่ง DGA ได้จัดทำ "ระบบควบคุมและตรวจสอบเอกสารสำคัญทางการศึกษา" เพื่อรองรับ e-Transcript หรือ Digital Transcript

 

ซึ่งเป็นระบบตรวจสอบความน่าเชื่อถือของเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ หรือ Web Validation Portal เป็นระบบการให้บริการที่สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) (สพร.) จัดทำขึ้นภายใต้โครงการ e-Transcript เพื่อประโยชน์ในการอำนวยความสะดวกแก่หน่วยงานและผู้ประกอบการ ให้มีแหล่งตรวจสอบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์เกี่ยวกับความน่าเชื่อถือของการประทับรับรองเวลาอิเล็กทรอนิกส์ (e-Time Stamping) การลงนามด้วยลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์

 

รวมถึงเอกสารสำคัญทางการศึกษา (e-Transcript) อันเป็นการดำเนินภารกิจในการตอบสนองนโยบายของรัฐบาล ตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita