จงบอกความเป็นสันติวัฒนธรรม

สันติวัฒนธรรมในสถาบันการเมือง เพื่อเสริมสร้างกระบวนการปรองดองของประเทศ กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และบางส่วนของ จ.สงขลา)

เรื่อง สันติวัฒนธรรมในสถาบันการเมือง เพื่อเสริมสร้างกระบวนการปรองดองของประเทศ กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และบางส่วนของ จ.สงขลา)           
        การค้นหา "สันติวัฒนธรรม" ที่เป็นทุนทางสังคมในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง ป้องกันความรุนแรงและเสริมสร้างความสมานฉันท์ในจังหวัดชายแดนภาคใต้นั้น ก่อนอื่นต้องพิจารณาภาพรวมความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในพื้นที่ก่อน ซึ่งความขัดแย้งมี 2 มิติ คือ
  1.ความขัดแย้งทางการเมืองและอุดมการณ์ว่าจะอยู่หรือไม่อยู่กับรัฐไทย ความขัดแย้งนี้ทำให้เกิดขบวนการต่อสู้กับรัฐไทย และเป็นต้นกำเนิดของสถานการณ์ความรุนแรงมาเป็นระยะเวลายาวนาน วงรอบของความขัดแย้งเที่ยวล่าสุดเกิดขึ้นตั้งแต่ปี 2547 เป็นต้นมา
   2.ความขัดแย้งทางการเมืองพื้นฐานว่า ด้วยความคิดเห็นแตกต่างในทางการเมือง ทั้งสีเสื้อ และความขัดแย้งของการเมืองระดับท้องถิ่น ซึ่งสะท้อนออกมาเป็นความรุนแรงเช่นเดียวกัน

สันติวัฒนธรรมในสถาบันการเมือง เพื่อเสริมสร้างกระบวนการปรองดองของประเทศ กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ (27 ครั้ง) ดาวน์โหลด

Share :

กลับไปหน้าหลัก

แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยที่ 7 สันตวิ ฒั นธรรม สาระการเรียนรู้1. ความหมายของสนั ติวฒั นธรรม2. ลกั ษณะของสันติวฒั นธรรม3. ความสาคญั ของสนั ติวฒั นธรรม4. แนวทางการสร้างสนั ติวฒั นธรรมในสงั คม5. อุปสรรคการสร้างสนั ติวฒั นธรรมในสงั คม จุดประสงค์ทว่ั ไป เมื่อนักศึกษาศึกษาหน่วยท่ี 7 แลว้ นักศึกษาจะมีความรู้ ความเขา้ ใจ และอธิบาย รวมท้งัสามารถวิเคราะห์ ความหมาย ความสาคญั และบอกแนวทางการสร้างจิตสาธารณะได้ จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม1.อธิบายความหมายของสันติวฒั นธรรมได้2.บอกลกั ษณะของสนั ติวฒั นธรรมได้3.บอกความสาคญั ของสนั ติวฒั นธรรมได้4.บอกแนวทางสร้างสันติวฒั นธรรมในสงั คมได้5.ยกตวั อยา่ งอุปสรรคในการสร้างสนั ติวฒั นธรรมในสงั คมได้

240กจิ กรรมการเรียน 1. ครูช้ีแจงจุดประสงคต์ ามแผนการจดั การเรียนรู้หน่วยท่ี 7 2. ครูอธิบายประกอบสื่อตามจุดประสงคข์ องแผนการจดั การเรียนรู้หน่วยท่ี 7 3. ทากิจกรรมตามที่ไดร้ ับมอบหมายทา้ ยหน่วยที่ 7 4. ตรวจกิจกรรมตามท่ีไดร้ ับมอบหมายทา้ ยหน่วยท่ี 7 5. ทาแบบฝึกหดั ทา้ ยบทหน่วยที่ 7 6. ตรวจแบบฝึกหดั ทา้ ยบทหน่วยท่ี 7 7. ทาแบบประเมินตนเองหลงั การเรียนหน่วยท่ี 7 8. ตรวจแบบประเมินผลตนเองหลงั การเรียนหน่วยท่ี 7 ส่ือการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนหน่วยท่ี 7 2. แบบประเมินผลตนเองหน่วยท่ี 7 3. ส่ือคอมพวิ เตอร์เร่ืองสันติวฒั นธรรม 4. หนงั สือพิมพ์ การวดั และประเมินผล 1. การประเมินผลก่อนเรียนและประเมินผลหลงั เรียน 2. ประเมินผลจากแบบฝึกหดั ทา้ ยหน่วยท่ี 7 3. ประเมินผลจากการกิจกรรมใบงานตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย

241 หน่วยที่ 7 สันตวิ ฒั นธรรม สาระสาคญั สนั ติวฒั นธรรม หมายถึงสภาพสงั คมที่เกิดความสมดุลระหวา่ งมนุษยก์ บั ธรรมชาติ มีความเจริญงอกงามมีสนั ติภาพ ไม่มีความขดั แยง้ ทุกคนมีความสุข สิ่งเหล่าน้ีจะเกิดข้ึนไดต้ อ้ งเร่ิมท่ีตวั เราโดยการนาหลกั ธรรมทางพทุ ธศาสนามาปฏิบตั ิอยา่ งจริงจงั ไม่เบียดเบียนผอู้ ื่น การเอ้ือเฟ้ื อเผอื่ แผ่คิดดี ปฏิบตั ิชอบต่อกนั ดว้ ยความจริงใจ จะเป็นหนทางแห่งสนั ติภาพของโลกในอนาคตซ่ึงทุกคนตอ้ งเรียนรู้และร่วมมือกนั สร้างสนั ติภาพใหเ้ กิดข้นึ อยา่ งเป็นรูปธรรม 1. ความหมายของสันตวิ ฒั นธรรม สันติ ในภาษาองั กฤษคือว่า “ Peace” มาจากรากศพั ท์ภาษาลาตินว่า “Pax“ หรือ “ Paics“ คาวา่ “Pax “ ถือกาเนิดข้ึนในจกั รวรรดิ สนั ติวฒั นธรรม หมายถึง แนวทางการประพฤติปฏิบตั ิในการอยรู่ ่วมกนั ของสมาชิกในสงั คมที่มีวฒั นธรรมเดียวกนั หรือต่างวฒั นธรรมบนหลกั การพ้ืนฐานของความเมตตากรุณา และการประพฤติปฏิบตั ิต่อกนั โดยปราศจากอคติและความรุนแรง ภายใตก้ ารบูรณาการขนบธรรมเนียมประเพณีวฒั นธรรมอนั ดีงามของสังคม ท่ีช่วยใหส้ ังคมสงบสุข มีความเจริญงอกงามพฒั นาไดอ้ ยา่ งต่อเน่ือง สนั ติวฒั นธรรม เป็นวฒั นธรรมการดารงชีวติ ดว้ ยกนั ดว้ ยความเมตตากรุณา โดยมีขนบธรรมเนียมประเพณีวฒั นธรรมอนั ดีงาม ช่วยให้สังคมมนุษยป์ ระพฤติปฏิบตั ิตามหนา้ ที่ต่อกนัและกนั โดยปราศจากความรุนแรง แลว้ นาไปสู่ชีวิตท่ีสงบสุข มีความเจริญงอกงามท้งั ภายในของความเป็ นมนุษย์ สันติธรรม ทาให้สังคมเกิดความสมดุลท้งั ด้านนิเวศวิทยากับสังคมวิทยา เกิดสนั ติภาพระหวา่ งมนุษยก์ บั ธรรมชาติ กล่าวโดยสรุปสันติธรรม จึงหมายถึงสภาวะที่บุคคลสามารถดาเนินชีวิตและทากิจกรรมต่าง ๆ ที่แสดงถึงอัตลักษณ์ เอกลักษณ์ที่ทุกคนยอมรับ ภายใต้ความสมดุลระหว่างมนุษยก์ ับธรรมชาติท่ีสามารถดารงอยรู่ ่วมกนั ไดอ้ ยา่ งสนั ติสุข 2. ลกั ษณะสันติวฒั นธรรม สนั ติวฒั นธรรม มีลกั ษณะสาคญั ดงั น้ี 2.1 เป็นเรื่องของคุณคา่ ทศั นคติ พฤติกรรม และวิถีชีวิตที่ไม่ใชค้ วามรุนแรง 2.2 เป็ นเรื่องของความใกลช้ ิดกลมกลืนกนั ของอตั ลกั ษณ์ ทศั นคติ คุณค่า ความเช่ือ และ แบบแผน

242 2.3 เป็นเรื่องของการป้ องกนั จดั การความขดั แยง้ ดว้ ยวิธีการคล่ีคลายเหตุปัจจยั ของปัญหา โดยไม่เผชิญหนา้ 2.4 เป็นภูมิคุม้ กนั ไม่ใหใ้ ชค้ วามรุนแรง 3. ความสาคญั ของสันติวฒั นธรรม สนั ติวฒั นธรรมทาใหเ้ กิดความเขา้ ใจวถิ ีการดารงชีวิตดว้ ยความรัก ความเอ้ือเฟ้ื อเก้ือกลู ต่อกนั การใหค้ วามช่วยเหลือเพ่ือนมนุษยท์ ่ีกาลงั ตกทุกขไ์ ดย้ าก ประสบปัญหาและทาใหเ้ ห็นวา่ ความสุขน้นั เกิดจากการให้ มิใช่เกิดจากการบริโภคหรือการสะสมมาก ๆ ซ่ึงเป็นเร่ืองสาคญัประการหน่ึงในการดารงชีวิต 3.1 เป็ นวิถีวฒั นธรรมที่มนุษยส์ ร้างข้ึนโดยใช้เป็ นแนวทางในการดาเนินชีวิต เพ่ือให้ บุคคลและสงั คมอยรู่ ่วมกนั ไดอ้ ยา่ งสนั ติสุข 3.2 เป็ น การน าห ลักธรรมทางศาสน ามาใช้ในการดารงชี วิตบนพ้ื น ฐาน ของ ขนบธรรมเนียมประเพณีไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 3.3 ช่วยส่งเสริมใหบ้ ุคคลและสงั คมสามารถลดและแกไ้ ขปัญหาท้งั ส่วนตนและสังคมได้ อยา่ งเป็นระบบ 3.4 ช่วยใหบ้ ุคคลสร้างสรรคค์ วามเจริญงอกงามท้งั แก่ตนเองและสงั คมไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื 3.5 ทาให้บุคคลเกิดการเรียนรู้ในวิถีคนดีและมีส่วนร่วมสร้างระบบสังคมท่ีถูกตอ้ ง เหมาะสม สรุปความสาคญั ของสนั ติวฒั นธรรมคือเป็นแนวทางในการดาเนินชีวิต โดยนาหลกั ธรรมทางศาสนามาใช้ ทาใหส้ ามารถลดและแกไ้ ขปัญหาในสงั คม สร้างความเจริญใหต้ นเองและสงั คม เกิดการเรียนรู้ในวถิ ีคนดี และรวมสร้างระบบสงั คมท่ีเหมาะสม 4. แนวทางการสร้างสันติวฒั นธรรมในสังคมไทย การสร้างสันติวฒั นธรรม มนุษยต์ อ้ งสร้างความสัมพนั ธ์ให้เกิดข้ึนกับเพ่ือนมนุษยร์ ่วมสังคม และ สร้างธรรมชาติสิ่งแวดลอ้ ม รวมถึงกฎกติกาในสังคมให้เอ้ือต่อกัน ประเทศไทยมีเสรีภาพในการนบั ถือศาสนาจึงมีผนู้ บั ถือศาสนาหลากหลาย แต่ละศาสนาจะมีหลกั ธรรมพ้ืนฐานในการวางแนวทางในการดาเนินชีวิต มีท้งั ขอ้ ห้ามและขอ้ ปฏิบตั ิ เพ่ือเตรียมคนใหเ้ ป็นพลเมืองที่ดีของสังคม ไม่เป็ นคนคิดร้าย ทาร้าย หรือเบียดเบียนบุคคลอื่นให้ได้รับความลาบาก เดือดร้อน ในขณะเดียวกนั คาสอนทางศาสนายงั สอนใหศ้ าสนิกประพฤติปฏิบตั ิใหเ้ ป็นประโยชน์ต่อสังคม มีการช่วยเหลือเอ้ือเฟ้ื อเผื่อแผ่ซ่ึงกนั และกนั การเรียนรู้ความสอดคลอ้ งของหลกั ธรรมของศาสนาต่างๆ

243จะทาให้มีความเขา้ ใจ และปฏิบตั ิต่อศาสนาทุกศาสนาไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง มีทศั นคติท่ีดีต่อผูท้ ่ีนับถือศาสนาอื่นที่แตกต่างจากตวั เอง แนวทางสร้างสนั ติวฒั นธรรมในสงั คมไทยตามหลกั ศาสนามีดงั น้ี 4.1 แนวทางการสร้างสนั ติวฒั นธรรมในพระพทุ ธศาสนา ศาสนาพุทธสอนใหค้ นในสังคมสร้างความรักความผกู พนั ความมีเมตตากรุณา ความเอ้ืออาทรต่อกนั ซ่ึงคุณธรรมดงั กล่าวถือเป็ นหลกั การพ้ืนฐานของการสร้างสันติวฒั นธรรม โดยการประพฤติตนตามหลกั ธรรมเรื่อง สังคหวตั ถุ4 และสาราณียธรรม 6 ซ่ึงมีแนวทางปฏิบตั ิ ดงั น้ี 4.1.1 สังคหวตั ถุ 4 สังคหวตั ถุ แปลว่า หลกั การสงเคราะห์ ธรรมเครื่องยดึ เหนี่ยว คือ ยึดเหน่ียวจิตใจของคนและประสานหมู่คณะไวใ้ นสามคั คี สงั คหวตั ถุ ในความหมายน้ี หมายถึง การแสดงความมีน้าใจต่อกนัระหว่างเพื่อนร่วมสังคม ดว้ ยการสงเคราะห์เก้ือกูล เอ้ือเฟ้ื อแบ่งปันกนั เพราะสังคมมนุษยม์ ีความแตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็ นเรื่องฐานะ ความเป็ นอยู่ ความพร้อมและโอกาสรวมถึงรูปแบบการดารงชีวติ หลกั การของสงั คหวตั ถุมี 4 ประการ ดงั น้ี 1) ทาน ไดแ้ ก่ การเผอื่ แผแ่ บ่งปัน คนเราตอ้ งการปัจจยั 4 มายงั ชีพ จึงเป็นเรื่องที่มนุษยต์ อ้ ง แสวงหา การแสวงหาก่อใหเ้ กิดความโลภ คือ อยากไดม้ ากข้ึน มากข้ึน มากข้ึนไปเร่ือยๆ เกิดสภาพที่คดิ แต่จะไดจ้ ะเอา เมื่อคิดอยา่ งน้ีกส็ ่งผลใหส้ ภาพจิตใจเกิดภาวะที่เรียกวา่“คบั แคบ” เกิดการแยง่ ชิน แขง่ ขนั สุดทา้ ยกเ็ กิดการขดั แยง้ การทะเลาะววิ าท การแยง่ ชิน ทาใหเ้ กิดความเดือดร้อน ไม่สงบสุข เกิดภาวะท่ีเรียกวา่ “ไม่มีความสามคั คี” ดงั น้นั เมื่ออยใู่ นโลก อยา่ คิดแต่จะเอาอยา่ งเดียว ควรคิดท่ีจะใหด้ ว้ ย คาสอนเร่ืองทานจึงเกิดข้ึน ทาน การให้ การเผ่ือแผ่แบ่งปัน แก่คนท่ีเขาดอ้ ยโอกาส ขาดกาลงั ความสามารถ ไม่มีทางไปเม่ือเราไปเผอื่ แผแ่ บ่งปัน เขาก็จะมีทางไป เป็ นอยไู่ ด้ มีเคร่ืองอาศยั ท่ีทาใหเ้ ขาต้งั ตวั ไดใ้ นอนาคตน่ีคือตามหลกั หลกั พรหมวิหาร 4 คือ - ใหด้ ว้ ยเมตตา คือ เขามีอยเู่ ป็ นอยปู่ กติดีเรามีน้าใจ จะแสดงความรักความปรารถนาดีก็ ให้ - ใหด้ ว้ ยกรุณา คือ เขาขาดแคลน หรือตกทุกขไ์ ดย้ าก ตอ้ งการช่วยเหลือเขาใหพ้ น้ สภาพ แบบน้นั กไ็ ด้ - ใหด้ ว้ ยมุทิตา คือ เม่ือเขาทาดี ทาเร่ืองสร้างสรรค์ เป็นประโยชน์ ตอ้ งการสนบั สนุนกใ็ ห้ 2) ปิ ยวาจา ไดแ้ ก่ วาจาน่ารัก พูดดว้ ยใจรัก แบ่งออกตามหลกั สังคหวตั ถุ ดงั น้ี - พูดด้วยเมตตา คือ เวลาอยู่กันตามปกติ ก็พูดความรัก ความปรารถนาดี มีไมตรีจิตมิตรภาพ

244 -พูดดว้ ยกรุณา คือ เวลาเขาตกทุกขไ์ ดย้ ากเดือดร้อน ก็ปลอบโยนให้กาลงั ใจ พูดแนะนาบอกวิธีแกป้ ัญหาพูดด้วยมุทิตา คือ เวลาขาอะไรดีงาม ถูกตอ้ ง น่ายกย่อง ก็พูดส่งเสริม อย่างพ่อแม่เห็นลูกทาดีประสบความสาเร็จ กพ็ ดู ใหก้ าลงั ใจส่งเสริม 3) อตั ถจริยา ไดแ้ ก่ การบาเพญ็ ประโยชน์ หมายความวา่ ทาประโยชน์แก่ เขา ดว้ ยกาลงั ความสามารถของตน เรามีกาลงั กายก็ตาม กาลงั สติปัญญาก็ตาม กาลงั คุณความดีงามก็ตาม ก็เอามาช่วยทาประโยชน์แก่ผอู้ ื่น ตามหลกั สังคหวตั ถุ ดงั น้ี ช่วยดว้ ยเมตตา คือ ยามปกติ เขาทาอะไรก็ขวนขวายช่วยเหลือ เช่น เดินไปดว้ ยกนั เขาหิ้วของหลายชิ้น เรามือเปล่า ก็แบ่งมาช่วยถือ เห็นเขามาพบกนั ยืนพูดคุยกนั อยู่ ก็ช่วยเอาเกา้ อ้ีมาให้นงั่ ช่วยดว้ ยกรุณา คือ ในยามเขาทุกข์ยากเดือดร้อน ก็ช่วยให้พน้ ทุกข์ เช่น ช่วยคนตกน้าช่วยคนติดไฟไหม้ คนแก่คนเฒ่าขาเข่าไม่ดี จะลุกจะเดินก็ลาบาก ก็ไปช่วยไปพยงุ จูงคนพิการขา้ มถนน ฯลฯ ช่วยดว้ ยมุทิตา คือ ยามเขาทาความดี อยา่ งมาทาบุญท่ีวดั สร้างสิ่งท่ีเป็ นประโยชน์ ทาถนนสาธารณะ กไ็ ปช่วย ส่งเสริมการทาความดี ทาประโยชน์ต่างๆ 4) สมานตั ตตา ไดแ้ ก่ การมีตนเสมอ เอาตวั เขา้ สมาน เขา้ ร่วมอยา่ งเสมอ ภาค คราวน้ีเขา้ ถึงตวั กนั เลย คือ ร่วมสุข ร่วมทุกข์ ยามสุข สุขร่วมดว้ ย ยามทุกข์ ไม่ทิ้งกัน มีปัญหาก็ร่วมช่วยกันแก้ไข ยากปกติก็เสมอหน้า ไม่ดูถูกดูหม่ินไม่ เหยยี ดหยามกนั ไม่เอารัดเอาเปรียบกนั ไม่เลือกที่รักมกั ท่ีชงั มีความเสมอภาค ด้งั มน่ั ในอุเบกขา มีจิตเป็ นธรรม การที่สังคมจะต้งั มน่ั อยใู่ นสามคั คี มน่ั คง มีเอกภาพ ตอ้ งมีสงั คหวตั ถุต้งั แต่ในครอบครัว เพราะในครอบครัวหากพอ่ แม่ไม่มีสงั คหวตั ถุ บ้านก็แตก ครอบครัวอยู่ไม่ได้ พ่อแม่ต้องมีทาน ปิ ยวาจา อัตถจริยา จนถึง สมานตั ตตา ที่ร่วมสุขร่วมทุกขก์ บั ลูก มีความเป็นธรรมต่อลูกเสมอหนา้ เป็นตน้ 4.1.2 สาราณียธรรม 6สาราณียธรรม หมายถึง ธรรมท่ีต้งั แห่งความให้ละลึกถึงกนั ธรรมที่ทาให้เกิดความสามคั คีหรือหลกั การอยรู่ ่วมกนั มี 6 ประการ คือ

245 1) เมตตากายกรรม จะทาอะไรกด็ ว้ ยเมตตา หมายความว่า ทาการต่างๆ ที่ เป็ นการเก้ือกูลร่วมมือ สร้างสรรค์ ดว้ ยความหวงั ดี ปรารถนาดี ไม่ไดเ้ คียดแคน้ ไม่ได้คิดแกล้ง อยู่ด้วยกันก็คิดแต่จะทาดี ทาประโยชน์แก่กัน และร่วมกันทา ประโยชน์ 2) เมตตาวจีกรรม พูดอะไรก็พูดด้วยเมตตา สุภาพ มีไมตรี สนทนา เจรจา แนะนาดว้ ยใจหวงั ดีเพ่ือประโยชน์ส่วนรวม เพ่ือประโยชน์แก่ชีวิตของเขา แมเ้ ขาจะไม่ผิดอะไร ก็พูดดว้ ยเมตตา ช่วยหาทางแกไ้ ข มาใช่ต้งั ใจพูดเพื่อแกลง้ เพอ่ื ข่มข่ี เพ่ือจะทาร้าย ที่จะวนุ่ วาย ทาใหแ้ ตกแยกจากกนั 3) เมตตามโนกรรม คิดอะไรกค็ ิดดว้ ยเมตตา นึกถึงกนั ดว้ ยความปรารถนา ดี ต้งั ใจดี อยากใหเ้ ขามีความสุข มีหนา้ ตายมิ้ แจ่มใส 4) สาธารณโภคี แบ่งปันลาภที่ไดม้ าโดยชอบธรรม ลาภ คือ ผลประโยชน์ ตรงน้ีสาคญั ไม่น้อยอย่างพระสงฆ์แมจ้ ะเป็ นหมู่ชนที่นับว่าใชว้ ตั ถุน้อยท่ีสุดแลว้ ถา้ ไม่มีความเสมอภาคในเรื่องลาภ ก็ยงั เกิดปัญหาลาภผลประโยชน์จึงตอ้ งแบ่ง อยา่ งยตุ ิธรรม แลว้ กฝ็ ึกคนใหไ้ ม่มีคิดเอาแต่ตวั ใหค้ ิดถึงคนอื่นบา้ ง ใหค้ นอื่น 5) สีลสามญั ญตา มีศีลเสมอกัน มีความประพฤติ มีวินัยเสมอบา้ ง ถา้ มี ความประพฤติ มีวินัยไม่เสมอกนั ไม่อยู่ในระบบระเบียบวินัยของส่วนรวม ต้งั กติกาแลว้ ไม่เคารพ คนน้ีคอยละเมิดกฎ ไม่ชา้ หรอกสังคมไปไม่รอด เพราะฉะน้นั จะต้องมีศีลเสมอกัน มีความเคารพในกฎเกณฑ์กติกา ต้ังอยู่ในวินัย มีความ ประพฤติดีเสมอกนั 6) ทิฏฐิสามญั ญตา มีทิฏฐิเสมอกนั คือ ยดึ ถือในหลกั การใหญ่อนั เดียวกนั เหมือน อย่างพระสงฆ์ ก็ต้องถือหลักการของพระพุทธศาสนา เช่น หลักการปฏิบัติเพื่อบรรลุ นิพพานดา้ นเดียวกนั ถา้ ไม่ง้นั กแ็ ตกสามคั คีวนุ่ วาย มวั ทะเลาะกนั ไม่เป็นอนั ปฏิบตั ิธรรม ทิฏฐิเป็ นเรื่องใหญ่ ทาให้การแตกแยกฝังลึกร้าวฉานอยา่ งรุนแรง และยาวนาน ยืดเย้ือมากที่สุด ฉะน้นั จึงตอ้ งมีทิฏิฐิสามญั ญตา คือ สังคมตอ้ งมีหลกั การใหญ่ท่ียดึ ถือเป็ นอนั หน่ึงอนั เดียวกนัเพราะถา้ ยึดหลกั ใหญ่อนั เดียวกนั เป็ นอนั หน่ึงอนั เดียวกนั สังคมก็สามคั คี โดยเฉพาะถา้ สังคมใดมีจุดหมายร่วมเป็นหน่ึงเดียว ก็จะรวมใจคนใหค้ นใหเ้ กิดพลงั และจะเดินหนา้ พงุ่ ไปสู่เป้ าหมายสังคมจะกา้ วไปอยา่ งมนั่ คงเขม้ แขง็ ท่ีสุด และจะประสบความสาเร็จ แนวการสร้างสันติสุขตามศาสนาคริสต์ 4.2 หลกั ธรรมที่สาคญั ของศาสนาคริสต์ ศาสนาคริสต์เป็ นศาสนาสาคญั และยิ่งใหญ่ของโลก มีคนนิยมนับถือทวั่ โลก มีที่มาจากศาสนายิว โดยมีแหล่งกาเนิดที่ปาเลสไตน์

246(Palestine) เกิดหลงั พระพุทธศาสนา 543 ปี ศาสดา คือพระเยซู คาสอนท่ีสาคญั ของศาสนาคือเร่ืองความรัก คือให้รักพระเจา้ รักครอบครัว รักเพื่อนมนุษย์ ให้เมตตาต่อผูก้ ระทาผิดโดยไม่ต้งั ใจใหร้ ะลึกถึงผทู้ ่ีอยใู่ นท่ีคุมขงั เห็นใจผทู้ ี่มีทุกข์ ใหท้ าความดีและวา่ นอนสอนง่าย อดทน ยดึ มนั่ เคารพบูชาในองค์ 3 คือ พระบิดา หมายถึง พระยะโฮวา พระบุตร คือ พระเยซู และพระจิต คือท้งั พระบิดาและพระบุตร อนั เป็นวิญญาณอนั ศกั ด์ิสิทธ์ิ หลกั ธรรมท่ีสาคญั ของศาสนาคริสต์ ไดแ้ ก่ 4.2.1 หลกั ธรรมเรื่องความรัก เป็ นหลกั คาสอนท่ีสาคญั ที่สุด ศาสนาคริสตไ์ ดช้ ื่อวา่ เป็นศาสนาแห่งความรัก ความรักท่ีพระเยซูเจา้ ทรงสอนมีอยู่ 2 ระดบั คือ ระดบั ท่ี 1 เป็ นความรักระหว่างมนุษยก์ บั พระเจา้ พระเยซูสอนว่า พระเจา้ มิไดเ้ ป็ นพระเจา้ ของชาวยิวเท่าน้ัน หากแต่พระเจา้ ของมนุษยท์ ้งั โลก และพระเจา้ ไดท้ รงรักมนุษยเ์ หมือนบิดารักบุตร ระดับที่ 2 เป็ นความรักระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ ซ่ึงหมายถึงมนุษยท์ ว่ั โลก เพราะมนุษยท์ ุกคนลว้ นเป็ นบุตรของพระเจา้ จึงตอ้ งมีความรักกนั ฉนั พี่นอ้ งและนอกจากจะสอนใหม้ ีความรักต่อพระเจา้ และเพ่ือนมนุษยแ์ ลว้ พระเยซูยงั ไดท้ รงสอนใหม้ ีความรักแมก้ ระทง่ั ศตั รู จากคาสอนในเร่ืองความรักระหว่างมนุษยก์ บั พระเจา้และความรักระหว่างมนุษยก์ บั มนุษยด์ ว้ ยกนั น้ีเองกล่าวไดว้ ่า เป็ นแนวปฏิบตั ิดา้ นจริยธรรมของคริสตศ์ าสนิกชนท้งั หลายดว้ ย จะเห็นไดว้ ่าพระเยซูทรงส่ังสอนให้มนุษยเ์ ลิกทาบาปห้ามอาฆาตพยาบาทกนั หา้ มใส่ร้ายกนั รู้จกั การใหอ้ ภยั เป็นตน้ 4.2.2 หลกั บญั ญตั ิ 10 ประการ เป็ นหลกั คาสอนสาคญั ของศาสนาคริสต์มีประวตั ิความเป็นมาว่า โมเสสรับมาจากพระเจา้ ปรากฏอยใู่ นพระคมั ภีร์เดิมของศาสนาคริสต์ เป็นหลกั ปฏิบตั ิสาหรับชาวยวิ ท่ีนบั ถือศาสนายดู าย และคริสตศ์ าสนิกชนโดยทวั่ ไป บญั ญตั ิ 10 ประการมีดงั น้ี ก. อยา่ มีพระเจา้ อื่นใดนอกเหนือจากเรา ข. อยา่ ทารูปเคารพสาหรับตนหรือกราบไหวร้ ูปเหล่าน้นั ค. อยา่ เอ่ยนามพระเจา้ เล่นๆ ง. จงระลึกถึงวนั สะบะโต และรักษาเป็นวนั บริสุทธ์ิ จ. จงนบั ถือบิดามารดาของพระเจา้ ฉ. อยา่ ฆ่าคน ช. อยา่ ล่วงประเวณีผวั เมียเขา ซ. อยา่ ลกั ทรัพย์ ฌ. อยา่ เป็นพยานเทจ็

247 ญ. อยา่ โลภสิ่งใด ๆ ท่ีเป็นของเพื่อนบา้ น 4.2.3 หลกั ธรรมเร่ืองตรีเอกานุภาพ ซ่ึงถือว่าพระบิดา พระบุตรและพระจิต คือ พระผูเ้ ป็ นเจา้ องค์เดียว พระบิดา หมายถึง พระผูส้ ร้างฟ้ าดิน มนุษย์ และให้กาเนิดชีวิตไดแ้ ก่ พระยะโฮวา และทรงเป็นนิรันดร พระบุตร หมายถึง พระเยซู เป็นผไู้ ถ่บาปท้งั มวลของมนุษย์และพระจิต คือ ดวงวญิ ญาณอนั บริสุทธ์ิแห่งพระเจา้ ภาพท่ี 7.5 พระเยซูเป็นผไู้ ถ่บาปของมนุษย์ ท่ีมา : //www.aksorn.com สืบคน้ เม่ือวนั ท่ี 9 มีนาคม พ.ศ.2559 จะเห็นไดว้ า่ คริสตศ์ าสนาจะมีคาสอนเนน้ เร่ืองความรัก ความเสียสละ การใหอ้ ภยัและการทาตนให้เป็ นประโยชน์ต่อผอู้ ่ืน คุณธรรมเหล่าน้ีมีอิทธิพลต่อวิถีการดาเนินชีวิตของชาวคริสต์ ผทู้ ี่นบั ถือศาสนาคริสตน์ ิกายโรมนั คาทอลิก เรียกตนเองวา่ คริสตงั ส่วนนิกายโปรเตสแตนต์เรียกตนเองวา่ คริสเตียน 4.3 หลักธรรมและพิธีกรรมที่สาคญั ของศาสนาอิสลาม ศาสนาอิสลามเป็ นศาสนาใหญ่ท่ีมีคนนบั ถือและเล่ือมใสมาก ศาสดามีนามวา่ พระมะหะหมดั หรือมฮู มั มดั หรือบีมูฮมัมดั มีแหล่งกาเนิดที่ประเทศซาอุดิอาระเบีย ศาสนาอิสลามนับถือพระเจา้ องคเ์ ดียว โดยมีพระมะหะหมดั และกาหลิบเป็นผปู้ กป้ องรักษาศาสนาและเป็นผนู้ า 4.3.1 หลกั ธรรมท่ีสาคญั ไดแ้ ก่ 1) หลกั ศรัทธา 6 ประการ เป็ นหลกั ใหญ่อนั ดบั แรกของศาสนาอิสลามและเป็นหลกั ที่ผนู้ บั ถือศาสนาน้ีจะตอ้ งยดึ มนั่ ไวต้ ลอดไป ศรัทธา 6 ประการ ประกอบดว้ ย

248 (1) ศรัทธาในพระเจ้า ผูท้ ่ีเป็ นมุสลิมทุกคนต้องมีศรัทธาในพระอัลเลาะห์หรือพระเจ้าเพียงพระองค์เดียว ห้ามสักการะส่ิงอื่นใด นอกจากพระอัลเลาะห์เคร่ืองรางของขลงั ทุกชนิดถือวา่ เป็นส่ิงตอ้ งหา้ ม (2) ศรัทธาในบรรดามลาอีกะห์ (เทวทูต) มลาอีกะห์ คือผรู้ ับใช้พระเจา้ เป็นเทวทูตหรือทูตสวรรคม์ ีคุณสมบตั ิต่างไปจากมนุษย์ คือ ไม่กิน ไม่ด่ืม ไม่นอน ไม่มีเพศเป็ นวิญญาณท่ีมองไม่เห็น ไม่กระทาตามอารมณ์ที่ชอบ ญิบรออิล เป็ นผนู้ าโองการจากพระเจา้ มาถ่ายทอดแก่ศาสดา อิสรออิล ทาหน้าท่ีถอดวิญญาณ ของมนุษยอ์ อกจากร่างเวลาตาย รกิบ–อติ๊กทาหนา้ ที่บนั ทึกความดีความชวั่ ของมนุษย์ มุสลิมตอ้ งเชื่อว่ามลาอีกะห์มีจริง เพ่ือท่ีจะไดป้ ระกอบความดี ละเวน้ ความชวั่ (3) ศรัทธาในพระคมั ภีร์ท้งั หลาย คมั ภีร์อลั –กุรอาน เป็ นคมั ภีร์สุดท้ายของศาสนาอิสลาม ที่พระผูเ้ ป็ นเจา้ ประทานแก่มนุษยชาติ โดยผ่านท่านบีมะหะหมดั มีท้งั หมด 104 คมั ภีร์ (4) ศรัทธาในบรรดาศาสนทูต ศาสนทูตเป็ นมนุษยธ์ รรมดา แต่พระอลั เลาะห์ทรงเลือกมา เพื่อให้นาคาสอนของพระองคม์ าประกาศแก่มนุษย์ แบ่งเป็ นคมั ภีร์ 2ประเภท คือ ก. นบี หมายถึง ผูท้ ี่ไดร้ ับโองการจากพระเจา้ เพื่อให้ตนปฏิบตั ิ ตามน้นั ข. รอซูล หมายถึง นบีที่นอกจากจะปฏิบตั ิตามคาสอนของพระเจา้ แลว้ ยงั ตอ้ งนาคาสอนดงั กล่าวไปประกาศแก่มนุษยชาติ เช่น โมเสส พระเยซู และนบีมะหะหมดั ชาวมุสลิม เชื่อวา่ นบีมะหะหมดั เป็นศาสดาองคส์ ุดทา้ ย (5) ศรัทธาในวนั พิพากษา ชาวมุสลิมเช่ือวา่ เมื่อมนุษยถ์ ึงแก่ความตาย ร่างกายจะเน่าเปื่ อยแต่วิญญาณซ่ึงเป็ นอมตะจะรอรับผลแห่งการทาดีทาชวั่ ของตน ทุกสิ่งในโลกตอ้ งถึงกาลอวสานสูญสลาย คือ วนั สิ้นโลก จะมีการพพิ ากษาความดีความชวั่ จากพระเจา้ อยา่ งยตุ ิธรรม ผทู้ าความดีจะไดข้ ้ึนสวรรค์ ส่วนผทู้ าความชว่ั จะถูกลอ้ มรอบดว้ ยไฟนรก (6) ศรัทธาในกฎแห่งกาหนดสภาวการณ์ คือ กฎอนั แน่นอนท่ีพระเจา้ กาหนดไวส้ าหรับโลกและมนุษยชาติ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ก. กฎท่ีตายตวั เป็ นส่ิงเปล่ียนแปลงไม่ได้ เช่น การถือกาเนิด ชาติพนั ธุ์ รูปร่างหนา้ ตา ปรากฏการณ์ธรรมชาติต่างๆ ข. กฎที่ไม่ตายตวั เป็นกฎที่ดาเนินไปตามเหตุและปัจจยัคือ การทาความดีความชว่ั มุสลิมถือวา่ พระเจา้ ไดป้ ระทานสติปัญญาและแนวทางชีวิตท่ีดีงามมาให้แลว้ เพยี งแต่วา่ มนุษยจ์ ะดาเนินตามหรือไม่เท่าน้นั เอง

249 2) หลกั ปฏิบตั ิ 5 ประการ หลกั ปฏิบตั ิ 5 ประการ เป็ นหลกั ที่ชาวมุสลิมตอ้ งปฏิบตั ิอยา่ งสม่าเสมอ มีดงั น้ี (1) การปฏิญาณตน คือ การปฏิญาณยอมรับว่า พระอลั เลาะห์เป็ น พระเจา้ แต่เพียงองค์เดียวและยอมรับว่านบีมะหะหมดั ทรงเป็ นรอซูลของพระอลั เลาะห์การปฏิญาณตนน้ันมิใช่ว่าเปล่งวาจาแต่อย่างเดียว แต่ตอ้ งออกมาจากจิตใจที่เลื่อมใสศรัทธาอยา่ งแทจ้ ริงในความเป็นเอกภาพของพระอลั เลาะห์ ดงั น้นั ในมสั ยดิ จึงไม่มีสิ่งสญั ลกั ษณ์ใด ๆ ไวส้ าหรับการทาการสักการบชู า (2) การละหมาด หมายถึง การขอพร เป็ นการนมสั การพระเจา้แสดงความเคารพท้ังร่างกายและจิตใจ แสดงถึงความภักดีปฏิบัติกันวนั ละ 5 คร้ัง คือ ย่ารุ่งกลางวนั เยน็ พลบค่า และกลางคืน ทาใหเ้ กิดสมาธิพลงั ความสามารถที่จะแกไ้ ขปัญหาใหล้ ุล่วงไปชาวมุสลิมตอ้ งทาละหมาดนบั ต้งั แต่บรรลุนิติภาวะจนถึงวนั สิ้นสุดแห่งชีวิต สถานที่น้นั ไม่จาเป็นว่าจะตอ้ งเป็ นมสั ยดิ กระทาไดท้ ุกแห่งขอใหเ้ ป็ นสถานที่สะอาด และตอ้ งหันหนา้ ไปทิศทางของเมืองเมกกะ (ในไทยตอ้ งหนั หนา้ ไปทิศทางตะวนั ตก) (3) การถือศีลอด หมายถึง การงดเวน้ จากการบริโภคอาหารเคร่ืองด่ืม งดเวน้ การร่วมประเวณี งดเวน้ การประพฤติชว่ั ทางกาย วาจา ใจ ต้งั แต่อรุณพระอาทิตย์ข้ึนจนถึงตอนเยน็ พระอาทิตยส์ ิ้นแสง ระยะเวลาของการถือศีลอดมีกาหนด 1 เดือน เรียกว่า เดือนรอมฎอน คือ เดือนท่ี 9 ของฮิจเราะห์ศกั ราช ซ่ึงสานกั จุฬาราชมนตรี จะเป็นฝ่ ายประกาศวา่ เริ่มถือศีลอดเมื่อใด สิ้นสุดเมื่อใดและในช่วงของการถือศีลอด ชาวมุสลิมจะลุกข้ึนรับประทานอาหารประมาณตี 3 ถึงตี 4 ก่อนพระอาทิตยข์ ้ึน เมื่อพระอาทิตยข์ ้ึนแลว้ รับประทานส่ิงใดไม่ได้เลยจุดมุ่งหมายก็คือตอ้ งการให้มุสลิมทุกคนมีความอดทน หนักแน่น รู้รสแห่งการหิวโหยว่าเป็ นอยา่ งไร ผทู้ ี่มีฐานะร่ารวยจะไดเ้ ห็นใจคนจนและช่วยเหลือเอ้ือเฟ้ื อกนั (4) การบริจาคซะกาต หมายถึง การบริจาคทาน คือให้มุสลิมบริจาคทรัพยส์ ่วนหน่ึงของตนท่ีหามาไดโ้ ดยความสุจริตเป็ นทานแก่คนยากจน ผขู้ ดั สน กิจการสาธารณกุศล เช่น มสั ยดิ โรงเรียน โรงพยาบาล เพ่ือลดช่องว่างระหว่างชนช้นั ในสังคม ตอ้ งไม่ทาในลกั ษณะโออ้ วด ตามบทบญั ญตั ิที่บงั คบั ไวใ้ นพระคมั ภีร์ ในรอบปี หน่ึงจะบริจาคซะกาต ในอตั ราร้อยละ 2.5 ของทรัพยส์ ินหมุนเวยี นท่ีมีอยู่ (5) การประกอบพิธีฮจั ย์ หมายถึง การเดินทางไปประกอบพิธีศาสนกิจ ณ วิหารกะบะห์ หรือ บัยตุลเลาะห์ (บ้านของพระเจ้า) ท่ีเมืองเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย พิธีฮจั ยเ์ ป็ นศาสนกิจขอ้ เดียวในหลกั ปฏิบตั ิ 5 ขอ้ ที่ไม่บงั คบั แก่มุสลิมทุกคน คือ จะปฏิบตั ิเฉพาะผทู้ ี่มี ความพร้อม สุขภาพแขง็ แรง มีเงินสาหรับเป็ นค่าใชจ้ ่ายในการเดินทาง ไม่เป็ นหน้ีสินจนเป็น การเดือดร้อน และการเดินทางตอ้ งไดร้ ับการยนิ ยอมจากคนในครอบครัว

250 ภาพท่ี 7.6 การประกอบพธิ ีฮจั ย์ ที่เมืองเมกกะ ที่มา : //www.thaimuslim.com สืบคน้ เมื่อวนั ที่ 9 มีนาคม พ.ศ.2559 3) หลกั คุณธรรมทวั่ ไป นอกเหนือหลกั ธรรมสาคญั 2 ประการ ที่ได้กล่าวมาแลว้ น้นั ศาสนาอิสลามยงั ไดก้ าหนดเก่ียวกบั หลกั ธรรมทวั่ ๆ ไป ของชาวมุสลิมไวอ้ ีก ดงั น้ี (1) การต่อสู้กบั ความช่ัวร้าย เช่น การใช้อาวุธเขา้ ต่อสู้ การใช้ทรัพยส์ มบตั ิ และที่สาคญั การต่อสูก้ บั กิเลส และตณั หาของตนเอง เป็นตน้ (2) การรักพวกพอ้ งหมู่คณะ ชาวมุสลิมทุกคนถือว่าเป็ นพี่น้องกัน เปรียบเสมือนเป็ นเรือนร่างเดียวกัน มีการช่วยเหลือระหว่างกันโดยไม่มีอาณาเขตทางภูมิศาสตร์ขวางก้นั (3) ให้ทาดีต่อพ่อแม่ ไดแ้ ก่ การให้การเล้ียงดู การขอพรให้ การพดู จาสุภาพ (4) การละเวน้ จากความชว่ั ต่าง ๆ เช่น การพนัน ดอกเบ้ีย การเสพ ส่ิงมึนเมา การผิดประเวณี การฆ่าสิ่งมีชีวิต การคุมกาเนิด การประกอบอาชีพท่ีผิดศีลธรรม การกกั ตุนสินคา้ การทาความเดือดร้อนใหก้ บั ผอู้ ่ืน เป็นตน้ (5) การแต่งกาย ชาวมุสลิมตอ้ งแต่งกายให้สะอาดและสุภาพสตรีท่ีบรรลุ ศาสนภาวะแลว้ ตอ้ งแต่งกายให้มิดชิด เปิ ดเฉพาะใบหนา้ และขอ้ มือ ชายมุสลิมตอ้ งปกปิ ดส่วนที่อยรู่ ะหวา่ งสะดือและหวั เข่า นอกจากน้ีศาสนาอิสลามยงั มีขอ้ หา้ ม 4 ประการ คือ หา้ มด่ืมเหลา้ หา้ มเล่นการพนนั หา้ มคิดดอกเบ้ียจากเงินใหก้ ยู้ มื และหา้ มรับประทานเน้ือหมูและสตั วท์ ่ีตายเอง

251 ภาพที่ 7.7 มสั ยดิ เป็นสถานที่ปฏิบตั ิธรรมของศาสนาอิสลาม ที่มา : //www.khonkhuan.com สืบคน้ เมื่อวนั ท่ี 9 มีนาคม พ.ศ.2559 4.4 หลกั ธรรมและพิธีกรรมพ้ืนฐานของศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู เป็ นศาสนาเก่าแก่ และเช่ือวา่ เกิดก่อนพทุ ธกาลไม่นอ้ ยกว่า 5,000 ปี ตลอดเป็ นตน้ ตารับของศาสนาพทุ ธ คริสต์อิสลาม และอื่น ๆ เป็ นศาสนาท่ีไม่มีศาสดา โดยคาสอนต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนเพราะมีผูร้ วบรวมลทั ธิด้งั เดิมของชาวชมพทู วีป ร้อยกรองเขา้ เป็ นรูปของศาสนา โดยมีการดดั แปลง แกไ้ ขอยเู่ สมอ เพ่ือให้เขา้ กบั ความเชื่อถือของประชาชน 4.4.1 หลกั ธรรมพ้ืนฐานของศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู ไดแ้ ก่ 1) หลกั อาศรม 4 อาศรม หมายถึง ข้นั ตอนของชีวิตในการปฏิบตั ิตนไปตามวยั ของบุคคลเพือ่ จะไดม้ ีชีวติ ท่ีดีข้ึน อาศรม 4 มีรายละเอียด ดงั น้ี (1) พรหมจารี เป็ นช่วงเวลาแห่งการศึกษาเล่าเรียน เด็กผชู้ ายในตระกลู พราหมณ์จะตอ้ งเขา้ มาอยใู่ นอาศรมพรหมจารีและประพฤติพรหมจรรย์ คือ ศึกษาเล่าเรียนอยู่กบั ครูจนอายุ 235 ปี เตม็ ระหวา่ งท่ีศึกษาอยนู่ ้นั หา้ มแต่งงาน (2) คฤหัสถ์ เมื่อสาเร็จการศึกษาแลว้ ก็กลบั มาช่วยบิดามารดาประกอบอาชีพ และพร้อมท่ีจะมีคูค่ รองได้ (3) วานปรัสถ์ เมื่อบุตรแต่งงานแลว้ บิดามารดาจะมอบทรัพย์สมบตั ิให้ดูแลบา้ นเมือง บิดามารดาจะสละโลกภายนอกออกไปอยู่ท่ีอาศรมในป่ า แสวงหาความสงบตามลาพงั และฝึกจิตใหบ้ ริสุทธ์ิ (4) สันยาสี เป็ นระยะสุดทา้ ยของชีวิต จะสละโลกภายนอกโดยสิ้นเชิง คือ ออกบวชบาเพญ็ สมาธิฝึ กฝนอบรมจิต โดยมีวตั ถุประสงคจ์ ะให้หลุดพน้ จากสังสารวฏั

252หรือ การเวียนว่ายตายเกิด คือ เม่ือสิ้นสุดชีวิตแลว้ วิญญาณของบุคคลจะไปรวมอย่กู บั พระผเู้ ป็ นเจา้ คือ พระพรหม 2) หลักปุรุษารถะ ศาสนาฮินดูได้สอนจุดมุ่งหมายของชีวิตเอาไว้ 4ประการ เรียกอีกอยา่ งหน่ึงว่าประโยชน์ 4 ซ่ึงมีส่วนเกี่ยวขอ้ งกบั อาศรม 4 การดาเนินชีวิตที่ดีควรมุ่งประโยชน์ ดงั น้ี (1) อรรถ หมายถึง การสร้างสมบัติ เป็ นการสร้างฐานะให้มนั่ คง (2) กาม หมายถึง การแสวงหาความสุขในทางโลกตามวิสยั ของผคู้ รองเรือน การที่จะบรรลุประโยชนใ์ นขอ้ น้ีได้ จะตอ้ งบรรลุในขอ้ แรกเสียก่อน และตอ้ งดาเนินไปในแนวทางแห่งธรรม (3) ธรรม หมายถึง การถึงพร้อมดว้ ยคุณธรรมเม่ือมนุษยบ์ รรลุประโยชน์ในขอ้ ท่ี 1 และขอ้ ที่ 2 แลว้ (4) โมกษะเป็ นอุดมคติและคุณค่าสูงสุดในชีวิต เป็ นการปฏิบตั ิตนเขา้ ถึงการหลุดพน้ จากทุกขโ์ ดยสิ้นเชิง 3) หลักปรมาตมันและโมกษะ ปรมาตมัน เป็ นวิญญาณสากลหรือปฐมวิญญาณ คือ เป็ นพลังธรรมชาติอย่างหน่ึงที่มีอยู่นิรันดร เป็ นเหตุการณ์เกิดของสรรพส่ิงส่ิงมีชีวิตท้งั หลายมีวิญญาณ วิญญาณดงั กล่าวจะมาจากปฐมวิญญาณ คือ ปรมาตมนั แลว้ ก็เขา้ ไปอยู่ในร่างของส่ิงมีชีวิตนานาชนิด เมื่อสิ่งมีชีวิตเหล่าน้ันตายแลว้ วิญญาณก็จะออกจากร่างไปเขา้ ร่างใหม่ เหมือนกบั การเปลี่ยนเส้ือผา้ เป็นเช่นน้ีหลายคร้ังหลายชาติ วิญญาณจะไม่ดบั สูญ ผใู้ ดประพฤติดีก็จะไปเกิดในวรรณะที่ดี ถา้ ประพฤติชว่ั ก็จะไปเกิดในวรรณะต่าหรืออาจเป็ นสัตวเ์ ดรัจฉานได้เวียนว่ายตายเกิดจะสับสนวนเวียนไม่รู้จกั สิ้นสุด ถา้ วิญญาณหยดุ การเวียนว่ายตายเกิดก็หมายความว่า วิญญาณน้ันไปรวมกบั วิญญาณสากลหรือปรมาตมนั หรือพรหมนั เรียบร้อยแลว้ หลุดพน้ จากความทุกขท์ ้งั ปวง สภาพแห่งการหลุดพน้ จากความทุกขท์ ้งั ปวงเรียกวา่ โมกษะ หรือ นิรวาณ 4) หลกั คาสอนของคมั ภีร์ภควทั คีตา ภควทั คีตา แปลว่า บทเพลงแห่งพระผูเ้ ป็ นเจา้ เป็ นส่วนหน่ึงของมหากาพยภ์ ารต และยงั เป็ นส่วนหน่ึงของเน้ือเร่ืองในภารตยุทธ์อีกด้วย ลักษณะคาประพันธ์เป็ นคาฉันท์ในภควทั คีตากล่าวว่า หนทางไปสู่การหลุดพ้นจากความทุกข์ หลุดพน้ จากสงั สาระ ไดแ้ ก่ การปฏิบตั ิโยคะ 3 คือ (1) กรรมโยคะ ภควทั คีตาใหบ้ ุคคลกระทาหนา้ ท่ีต่าง ๆ ของตนใหด้ ีท่ีสุดโดยไม่คานึงถึงตนเองจะไดร้ ับผลตอบแทนอยา่ งไร เป็นการทางานเพ่อื งาน ปฏิบตั ิหนา้ ที่เพื่อหนา้ ที่ (2) ชญาณโยคะ แปลว่า โดยความรู้ ความรู้ในที่น้ีเป็ นความรู้โดยปัญญาระดบั สูง คือ รู้ความจริงว่ามนุษย์ สัตว์ และพืช และสรรพสิ่งน้นั เป็ นการปรากฏตวั ของพรหมนั ใน

253รูปต่าง ๆ กนั ต่างก็มาจากพรหมนั ถา้ ในการดาเนินชีวิต สามารถสละความเห็นแก่ตวั ไม่คิดถึงตนเอง และมอบกายถวายชีวิตแด่พระผูเ้ ป็ นเจ้า มนุษย์จะเป็ นอิสระจากกิเลสตัณหา และพบความจริงสูงสุดวา่ ทุกสิ่งท้งั ปวงต่างมาจากพรหมนั ท้งั สิ้น ไม่แยกวา่ ส่ิงน้นั เป็นของเรา (3) ภกั ติโยคะ แปลว่า ความภกั ดี หนทางไปสู่พระผเู้ ป็ นเจา้ น้ัน มนุษย์จะตอ้ งรักและภกั ดีศรัทธาต่อพระผเู้ ป็นเจา้ ภาพที่ 7.8 พระพรหมคือผสู้ ร้างมนุษย์ ที่มา : //www.oknation.net สืบคน้ เม่ือวนั ที่ 9 มีนาคม พ.ศ.2559 5) หลกั คาสอนเกี่ยวกบั ทรรศนะท้งั 6 ของฮินดู ทรรศนะท้งั 6 ของฮินดูน้ีเกิดจากการนาเอาหลกั ธรรมและขอ้ ปฏิบตั ิของศาสนาพราหมณ์มาพฒั นาเป็นทรรศนะของศาสนาฮินดู มีรายละเอียดดงั น้ี (1) สางขยะ มีทรรศนะเป็ นทวินิยม กล่าวถึงท่ีเป็ นความจริงสูงสุด 2ประการ คือ ยอมรับวา่ ชีวิตประกอบดว้ ยปุรุษะ (จิตใจ) และประกฤติ (ร่างกาย) (2) โยคะ เป็ นภาคปฏิบัติ มีลักษณะเป็ นเทวนิยม คือ เพ่ิมเติมเร่ืองพระผเู้ ป็นเจา้ เขา้ ไปโดยการอธิบายวา่ การท่ีจะบรรลุความหลุดพน้ น้นั จะตอ้ งมีความภกั ดีต่อเทพเจา้ซ่ึงจัดเป็ นวิธีหน่ึงในหลาย ๆ วิธี ในการบาเพ็ญสมาธิจะต้องมีการเพ่งสารวมจิตใจให้ระลึกพระอิศวร มีการบริกรรม คาว่า โอม อนั เป็ นคาศกั ด์ิสิทธ์ิในลทั ธิโยคะ ผปู้ ฏิบตั ิตามโยคะ เรียกว่าโยคี (3) นยานะ เป็ นทรรศนะเกี่ยวกบั ทฤษฎีแห่งความรู้ ลทั ธิน้ีจะใชว้ ิธีการแสวงหาความรู้แจ้งในสัจธรรมไปสู่การหลุดพน้ จากความทุกข์ คือบรรลุโมกษะ เป็ นจุดหมายปลายทาง

254 (4) ไวเศษิกะ แปลว่า วิเศษ ไวเศษิกับนยานะ โดยอธิบายนยานะให้ละเอียด ย่ิงข้ึน จุดหมายปลายทางของไวเศษิกะ คือ โมกษะ หรือ การหลุดพน้ เช่นเดียวกนั และวิธีการใหถ้ ึงโมกษะ คือ ตอ้ งแสวงหาความรู้อนั เป็นสจั ธรรมเพอ่ื เขา้ ถึงจุดหมายปลายทางดงั กล่าว (5) มีมางสา เน้นให้เห็นว่าคมั ภีร์พระเวท เป็ นสิ่งมีเหตุผลไม่บกพร่องเป็ นของแท้และด้ังเดิม และยกย่องพิธีกรรมการบูชาตามที่บัญญัติไวใ้ นคมั ภีร์พระเวท เช่ือว่าถา้ มนุษยป์ ฏิบตั ิตามพิธีกรรม ในคมั ภีร์พระเวทอยา่ งสมบูรณ์แลว้ สิ่งที่กระทาน้ีจะมีอานุภาพส่งผลใหผ้ นู้ ้นั หลุดพน้ จากความทุกขแ์ ละมีชีวิตเป็นนิรันดรในสรวงสวรรค์ (6) เวทานตะ เป็ นคมั ภีร์ล่าสุดในยคุ พระเวท เวทานตะ แปลว่า สุดทา้ ยมนุษยจ์ ะตอ้ งขจดั อวิชชา (ความไม่รู้) ไปสู่ความจริง มนุษยเ์ อาชนะมายาไดแ้ ละจะบรรลุโมกษะหรือความหลุดพน้ อนั เป็นจุดหมายปลายทาง ภาพที่ 7.9 พระอิศวร คือเทพเจา้ ที่เคารพสูงสุด ที่มา : //www.maameu.com สืบคน้ เมื่อวนั ท่ี 9 มีนาคม พ.ศ.2559 สรุปหลกั สันติธรรมที่สาคญั ของศาสนาพทุ ธ ไดแ้ ก่ หลกั ธรรม สงั คหวตั ถุ 4 และสาราณียธรรม 6 หลกั ธรรมที่สาคญั ของศาสนาคริสตไ์ ดแ้ ก่ หลกั ธรรมเร่ืองความรัก หลกั บญั ญตั ิ 10ประการ หลกั ธรรมเรื่องตรีเอกานุภาพ หลกั ธรรมท่ีสาคญั ของศาสนาอิสลาม ไดแ้ ก่ หลกั ศรัทธา 6ประการ หลกั ปฏิบตั ิ 5 ประการ หลกั คุณธรรมทวั่ ไป หลกั ธรรมท่ีสาคญั ของศาสนาพราหมณ์ –ฮินดู ได้แก่ หลกั อาศรม 4 หลกั ปุรุษรถะ หลกั ปรมาตมนั และโมกษะ หลกั คาสอนของคมั ภีร์ภควทั คีตา หลกั คาสอนเกี่ยวกบั ทรรศนะท้งั 6 ของฮินดู

255 4.5 ความสอดคลอ้ งของหลกั ธรรมในศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู ศาสนาทุกศาสนามีลกั ษณะเหมือนกนั คือ คาสอนของทุกศาสนาเป็ นระบบทางศีลธรรม เป็นแนวทางในการดาเนินชีวิตท่ีดีเป็นที่พ่ึงหรือที่ยดึ เหนี่ยวทางจิตใจ และเป็นหลกั ปฏิบตั ิท่ีนาไปสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์ สังคมมนุษยแ์ ต่ละสังคมมีความแตกต่างท้งั ส่ิงแวดลอ้ ม ชีวิตความเป็ นอยู่สังคม และ วฒั นธรรม การท่ีสังคมมนุษยม์ ีหลายศาสนานบั เป็ นสิ่งท่ีถูกตอ้ งและเหมาะสม การมีศาสนาจึงมิใช่จุดท่ีบ่งบอกถึงความแตกต่างหรือแตกแยก เท่ากบั เปิ ดโอกาสใหแ้ ต่ละสงั คมแต่ละคนเป็ นผูเ้ ลือกศาสนาท่ีเหมาะสมกบั ตนเอง เป็ นการเปิ ดให้แต่ละคนเขา้ ถึงความสุขที่แทจ้ ริง มีที่ยึดเหน่ียวทาง จิตใจดว้ ยวิถีทางที่ตนคิดว่าเหมาะสมท่ีสุด การศึกษาถึงความสอดคลอ้ งของศาสนาท่ีสาคญั จะทาใหเ้ รามีเจตคติ (หรือความรู้สึก) ท่ีมีวา่ ไม่วา่ ศาสนาใดลว้ นสอนใหค้ นละการกระทาชวั่ทาแต่สิ่ง ดีงาม ซ่ึงผลสุดท้ายก็ก่อให้เกิดสันติสุขแก่ตนเองและสังคมโดนส่วนรวม ความสอดคลอ้ งของ หลกั ธรรมในศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ สาสนาอิสลาม และศาสนาพราหมณ์ –ฮินดูท่ีสาคญั ที่จะไดน้ ามาอธิบายในบทเรียนน้ีคือ ในเรื่องการทาดีละเวน้ กระทาชวั่ ความรักและความเมตตา ความอดทนและความเสียสละ ความอุตสาหะพยายาม การพ่ึงตนเอง การพฒั นาตนเอง จุดมุ่งหมาย สูงสุดของชีวติ

256 ภาพที่ 7.10 ทุกศาสนาสอนใหม้ นุษยเ์ ป็นคนดี ไม่ทาชวั่ ที่มา : พศิ ศิลป์ เลิศรัตนากลุ . ถ่ายเมื่อวนั ท่ี 7 กรกฎาคม พ.ศ.2560 5. อปุ สรรคการสร้างสันตวิ ฒั นธรรมในสังคม การสร้างสันติวฒั นธรรมข้ึนในสังคมไม่ประสบความสาเร็จหรือเป็ นไปอย่างไม่ต่อเน่ืองล้วนเกิดข้ึนมาจากคนในสังคมท่ียงั ยึดติดกับความคิด ความเช่ือ ขนบธรรมเนียมประเพณีวฒั นธรรม ลทั ธิ อุดมการณ์ และความเป็ นชาติพนั ธุ์ของตนเองอย่างเหนียวแน่น ไม่ยอมปรับหรือยอมการมีอยขู่ องสายความคิดหรือแนวปฏิบตั ิท่ีแตกต่างจากกลุ่มตน ในทศั นะของพระพุทธศาสนากล่าวถึงอุปสรรคหรือสาเหตุท่ีส่งผลใหก้ ารพฒั นา การคิดริเร่ิม การทาสร้างสรรคส์ งั คม ไม่ประสบความสาเร็จ เพราะมนุษยม์ ีอุปนิสัยหรือแนวทางการประพฤติปฏิบตั ิ ตรงกบั หลกั ธรรม 2 ประการคือ อคติ 4 และมจั ฉริยะ 5 5.1 อคติ 4 อคติ ไดแ้ ก่ ความลาเอียง ความไม่เที่ยงธรรม ทางความประพฤติท่ีผดิ มี 4 ประการ คือ

257 5.1.1. ฉันทาคติ ไดแ้ ก่ ลาเอียงเพราะรัก เพราะชอบไม่ว่าจะเป็ นความรักความชอบเฉพาะบุคคลกลุ่มบุคคล พรรคพวกของตน ญาติมิตรของตน รวมถึงสามี ภรรยา บุตรธิดาของตน อนั เป็ นเหตุใหท้ าการช่วยเหลือในทางท่ีผดิ ไม่ถกู ตอ้ งตามทานองคลองธรรม 5.1.2โทสาคติ ไดแ้ ก่ ลาเอียงเพราะชงั ไม่ชอบโกรธ เกลียดเป็นเหตุใหก้ ระทาหรือไม่กระทาอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงอนั เป็นโทษหรือตดั ผลประโยชนข์ องบุคคลอื่น 5.1.3 โมโหคติ ไดแ้ ก่ ลาเอียดเพราะหลง เพราะไม่รู้ความจริงเป็ นเหตุให้กระทาผิดพลาดเสียหายแก่สงั คมส่วนรวม 5.1.4 ภยาคติ ไดแ้ ก่ ลาเอียงเพราะกลวั เป็นเหตุใหย้ อมทาตามอานาจเหล่าน้นั ท้งั เรื่องดีและไม่ดีเพียงเพราะกลวั อนั ตรายท่ีจะเกิดข้ึนกบั ตนเอง 5.2 มจั ฉริยะ 5 มจั ฉริยะ ไดแ้ ก่ ความตระหนี่ ความหวงแหน กีดกนั ในหม่มู นุษย์ ซ่ึงตอ้ งแกไ้ ขใหไ้ ด้ เพราะถา้ แกไ้ ม่ได้ คนกย็ งั มีใจคบั แคบ สามคั คีที่แทจ้ ริงกม็ ีไม่ได้ โลกกไ็ ม่มีทางสงบ 5.2.1 อาวาสมจั ฉริยะ ความหวงแหนในเร่ืองที่อย่อู าศยั เช่น ประเทศน้ี ดินแดนน้ี เป็นของขา้ แกเขา้ มาไม่ได้ อนั น้ีเป็นขอ้ หน่ึง เร่ืองน้ียาก ไม่ใช่ง่าย แต่มนั เป็นความจริงวา่ ถา้ มนุษยย์ งั หวงแหนกีดกนั อยเู่ ผอ่ื แผก่ นั ไม่ได้ กไ็ ม่ทางพบสนั ติสุข 5.2.2 กลุ มจั ฉริยะ ความหวงแหนกีดกนั ในเร่ืองพงศเ์ ผา่ เหล่ากอ ชาติพนั ธุ์ หมู่พวก ว่าเป็ นคนกลุ่มน้ีเผ่าน้ัน ชาติพนั ธุ์โน้น เร่ืองเผ่าพนั ธุ์น้ีก็เป็ นเร่ืองใหญ่ ในหลายหมู่หลาย พวกแมจ้ ะแต่งงานกนั กท็ าไม่ได้ 5.2.3 ลาภมจั ฉริยะ ความหวงแหนกีดกนั กนั ในเร่ืองผลประโยชน์ น่ีก็เป็ นเร่ืองยุ่ง ใหญ่เหมือนกันปัจจุบันคนทะเลาะกัน จนถึงทาสงครามกันก็เพราะเรื่องผลประโยชน์ นาหนา้ จนกลายเป็นภาวะไร้สนั ติภาพอยา่ งยง่ั ยนื 5.2.4 วรรณมจั ฉริยะ ความหวงแหนกีดกนั ดว้ ยเรื่องวรรณะ คือ แบ่งช้ัน แบ่ง วรรณะ แบ่งแยกวา่ สีผวิ ทาใหเ้ กิดความวนุ่ วาย 5.2.5 ธรรมมัจฉริยะ ความหวงแหนกีดกันด้วยเร่ืองภูมิธรรมภูมิปัญญา และ ความสาเร็จต่างๆ เช่น ในทางวิชาการ ความหวงแหนในเร่ืองสิทธิ เรื่องสินทรัพยท์ าง ปัญญากเ็ กี่ยวกบั ขอ้ น้ีดว้ ย สรุปอุปสรรคในการสร้างสันติวฒั นธรรมในสังคมลว้ นเกิดจากคนในสังคมที่ยงั ยึดติดกบั ความคิด ความเช่ือ ขนบธรรมเนียมประเพณี วฒั นธรรม ลทั ธิ อุดมการณ์ และ ความเป็ นชาติพนั ธุ์ของตนเองอย่างเหนียวแน่น ไม่ยอมปรับหรือยอมการมีอยู่ของสาย ความคิดหรือแนวปฏิบตั ิที่แตกต่างจากกลุ่มตน ในทางพุทธศาสนาไดก้ ล่าวถึงหลกั ธรรม ไดแ้ ก่ อคติ 4 คือความลาเอียง ลาเอียงเพราะรัก ลาเอียงเพราะชงั ลาเอียงเพราะหลง และ

258 ลาเอียงเพราะกลวั และมจั ฉริยะ 5 ไดแ้ ก่ ความตระหน่ี ความหวงแหน กีดกนั ในหมู่มนุษย์ หากมีพฤติกรรมเตม็ ไปดว้ ยอคติ 4 และมีความตระหน่ี ท้งั สองอยา่ งรวมกนั จะทาใหส้ ังคม พบแต่ความวนุ่ วายไม่รู้จบ สนั ติวฒั นธรรมมีองคป์ ระกอบท้งั ภายในและภายนอก ภายในไดแ้ ก่ทศั นคติความคิดความเช่ือ และภายนอกไดแ้ ก่แบบแผนการใชพ้ ฤติกรรมไปปฏิสมั พนั ธ์กนัสนั ติวฒั นธรรมเป็นภูมิคุม้ กนั ไม่ใหใ้ ชค้ วามรุนแรง ดว้ ยการ - ย อ ม รั บ คุ ณ ค่ า ค ว า ม เป็ น ม นุ ษ ย์ เส ม อ กั น ไ ม่ ม อ ง ค น อ่ื น เป็ น ศั ต รูจึงไม่ทาร้าย ไม่ใชค้ วามรุนแรง - ใ ห้ ค ว า ม รู้ ค ว า ม เข้ า ใ จ ท่ี ถู ก ต้ อ ง เก่ี ย ว กั บ ค ว า ม รุ น แ ร ง แ ล ะ ผ ล ก ร ะ ท บของความรุนแรงต่อสงั คม - คุม้ ครองและดูแลสิทธิของเหยอื่ หรือผไู้ ดร้ ับผลกระทบจากความรุนแรง - ปกป้ องผบู้ ริสุทธ์ิใหพ้ น้ จากความรุนแรง สันติวฒั นธรรมในยุคปัจจุบนั จึงตอ้ งเป็ นวฒั นธรรมที่ช่วยให้องคป์ ระกอบของสรรพส่ิงสมดุล คนอยไู่ ดอ้ ยา่ งมีความสุขจากอิสรภาพ เอ้ือเฟ้ื อเผอื่ แผเ่ ก้ือกลู และกตญั ญูต่อสรรพสิ่งที่เอ้ือต่อชีวิต กระบวนการสร้างสันติวฒั นธรรม จึงตอ้ งสร้างการยอมรับในคุณค่าความเป็ นมนุษยเ์ สมอกนัไม่มองคนอ่ืนเป็ นศตั รู ใหค้ วามรู้ความเขา้ ใจท่ีถูกตอ้ งเก่ียวกบั ความรุนแรงและผลกระทบที่จะเกิดข้ึนกบั สังคมจากการใชค้ วามรุนแรง มีการคุม้ ครองและดูแลสิทธิของเหยอื่ หรือผไู้ ดร้ ับผลกระทบจากความรุนแรง และการปกป้ องผบู้ ริสุทธ์ิ การสร้างสันติวฒั นธรรมหรือการแปลงเปลี่ยนความรุนแรงมาเป็ นความสงบสุขดว้ ยสันติวิธีจึงข้ึนอย่กู บั ตวั เราเองเป็ นสาคญั ทุกคนสามารถทาไดด้ ว้ ยตวั เองทนั ทีไม่ตอ้ งรอให้ใครมาช่วยหรือร้องขอ สันติวฒั นธรรมเริ่มข้ึนจากภายในของตน ดว้ ยการสะสมความดี บุญบารมี คน้ หาพลงัอานาจในตวั เอง ในครอบครัว ในชุมชน และขยายผลเป็นสนั ติวฒั นธรรมของสงั คมทุกระดบั ช้นั

259 แบบฝึ กหัดท้ายหน่วยท่ี 7ตอนที่ 1 จงเตมิ คาหรือข้อความลงในช่องว่าง (ข้อละ 2 คะแนน)1. ความหมายของสนั ติวฒั นธรรมคือ..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................2. สนั ติวฒั นธรรมมีความสาคญั คือ..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................3. แนวทางสร้างสนั ติวฒั นธรรมในสงั คมไทยบนพ้ืนฐานศาสนามีความจาเป็นเพราะ..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................4. สงั คหวตั ถุ 4 ช่วยสร้างสนั ติธรรมอยา่ งไร..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................5. การใหท้ าน ตามหลกั พรหมวหิ าร 4 คือ..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................6. อคติ 4 ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................7. ใจความสาคญั ของหลกั พระธรรมศาสตร์ ขอ้ ใดสอดคลอ้ งกบั ศีล 5 ในพทุ ธศาสนา..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................8. หลกั ปฏิบตั ิ 5 ในศาสนาอิสลาม ไดแ้ ก่..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................9. การบริจาคซะกาต หมายถึงอะไร..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

26010. ศาสนาต่าง ๆ ในโลกมีความสอดคลอ้ งกนั ในเร่ือง..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ตอนท่ี 2 จงเลอื กคาตอบทถี่ ูกต้องทส่ี ุดเพยี งคาตอบเดยี ว (1 คะแนน)1. ขอ้ ใดกล่าวถูกตอ้ งเกี่ยวกบั ความหมายของสงั คมท่ีมีสนั ติวฒั นธรรมก. การสร้างภูมิคุม้ กนั ไม่ใหใ้ ชค้ วามรุนแรง ข. การสร้างหลกั ธรรมาภิบาลในสงั คมค. การวางหลกั การปกครองที่ยงั่ ยนื ง. วฒั นธรรมการอยรู่ ่วมกนั ดว้ ยความเมตตา2 ขอ้ ใดเป็นเกณฑใ์ นการวดั สงั คมท่ีมีสันติวฒั นธรรมก. ใชห้ ลกั ธรรมาภิบาลในการปกครองข. มีระบบการศึกษาที่เปิ ดโอกาสอยา่ งเท่าเทียมกนัค. มีการปฏิบตั ิตามหลกั สิทธิมนุษยชนอยา่ งเท่าเทียมกนัง. ทุกขอ้ ถูกหมด3 ประโยชน์และความสาคญั สูงสุดของสนั ติวฒั นธรรม ไดแ้ ก่ขอ้ ใดก. ช่วยใหค้ นในสงั คมรักกนัข. ช่วยใหเ้ ศรษฐกิจเจริญค. ช่วยแกป้ ัญหาความขดั แยง้ง. ช่วยใหค้ นรักและปฏิบตั ิตามวฒั นธรรม ประเพณีมากข้ึน4 ขอ้ ใดคือหลกั ธรรมที่สาคญั ท่ีสุดของศาสนาคริสต์ก. ความรัก ข. ความเสียสละค. ความอดทน ง. ความอ่อนโยน5. การซะกาตในศาสนาอิสลาม สอดคลอ้ งกบั หลกั ธรรมใดในศาสนาพทุ ธก. ทาน ข. ฉนั ทะค. วริ ิยะ ง. สมานตั ตา6. ขอ้ ใดไม่ใช่หลกั ธรรมที่สอดคลอ้ งกนั ของแต่ละศาสนาก. หลกั ความดีพ้นื ฐาน ข. หลกั การสงั คมสงเคราะห์ค. หลกั การพฒั นางาน ง. หลกั การพฒั นาคน7 ขอ้ ใดไม่ใช่แนวการสร้างสังคมใหเ้ ป็นสงั คมสนั ติวฒั นธรรมก. ใชเ้ หตุและผล ข. เคารพในความแตกต่างค. ยอมรับผมู้ ีอานาจ ง. เชื่อในความเท่าเทียมของมนุษย์

2618. ขอ้ ใดไม่ใช่อุปสรรคในการสร้างสนั ติวฒั นธรรมในสงั คมก. การยดึ ติดความเช่ือ ข. การยดึ มนั่ ในชาติพนั ธุ์ค. การไม่ยอมปรับความคิด ง. การยดึ มน่ั คาสอนของศาสนา9.. ขอ้ ใดคือหลกั ธรรมท่ีวา่ พระบิดา พระบุตร และพระจิต คือ พระเจา้ องคเ์ ดียวกนัก. หลกั แห่งความรัก ข. บญั ญตั ิ 10 ประการค. หลกั ตรีเอกานุภาพ ง. หลกั ศรัทธาและหลกั ปฏิบตั ิ. 10. ปัจจุบนั พบปัญหาความรุนแรงต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนในสังคมท้งั ภายในและภายนอกประเทศเพ่ิมมากข้ึน พบวา่ มาจากสาเหตุใดก. ปัญหาเศรษฐกิจ ข. ปัญหาครอบครัวค. ปัญหาการเมือง ง. ทุกขอ้ ถกู หมด

262 แบบประเมินตนเองช่ือ – สกลุ ......................................................................... รหสั ประจาตวั ...........................................ระดบั ช้นั .............................. กลุ่ม .......................... แผนกวิชา .................... คณะวิชา......................คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนตอบคาถามจากแบบประเมินผลการเรียนรู้ แลว้ นาผลรวมที่ไดจ้ ากท้งั 2 ตอนมารวมกนั หารดว้ ย 3 จะทราบผลสรุปท้งั หมด เนือ้ หา คะแนนทไี่ ด้ ตอนที่ 1(ข้อละ2 คะแนน) ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรุง ตอนท่ี 2 (18 – 20) (ตา่ กว่า 10)(ข้อละ 1 คะแนน) ดีมาก (15 –17) (11 – 14) ปรับปรุง (9 – 10) (ตา่ กว่า 5) ดี พอใช้ (7 – 8) (5 – 6) สรุปผลท้งั 2 ตอน = ……………………………………..  ดีมาก (9 – 10 คะแนน)  ดี (7 – 8 คะแนน)  พอใช้ (5 – 6 คะแนน)  ปรับปรุง (ต่ากวา่ 5 คะแนน)

263 ใบงานท่ี 7.1 เรื่อง แนวทางการสร้างสนั ติวฒั นธรรมในสงั คมสมรรถนะ 1. แสดงความรู้เกี่ยวกบั สังคม ศิลปวฒั นธรรมและภมู ิปัญญาไทย หลกั ธรรมาภิบาล หลกั ธรรมในการพฒั นางาน คน และสงั คม สนั ติวฒั นธรรม ความร่วมมือกบั ประเทศต่างๆ และหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง2. วเิ คราะห์และประะเมินสถานการณ์ การเปลี่ยนแปลงของสังคมและวฒั นธรรมไทยกบั สงั คมโลกบนพ้นื ฐานของศาสนธรรม4. ปฏิบตั ิตนเป็นพลเมืองดีในสังคมระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุขคาชี้แจง ใหน้ กั ศึกษาเขียนแนวทางการสร้างสันติวฒั นธรรมบนพ้นื ฐานของศาสนาต่างๆ ศาสนา คาอธิบายพราหมณ์-ฮินดู ..................................................................................................... ..................................................................................................... พทุ ธ ..................................................................................................... คริสต์ ..................................................................................................... อิสลาม ..................................................................................................... ..................................................................................................... ..................................................................................................... ..................................................................................................... ..................................................................................................... ..................................................................................................... ..................................................................................................... .....................................................................................................

264 ใบงานท่ี 7.1เรื่อง แนวทางการสร้างสนั ติวฒั นธรรมในสงั คมสมรรถนะ 1. แสดงความรู้เก่ียวกบั สงั คม ศิลปวฒั นธรรมและภมู ิปัญญาไทย หลกั ธรรมาภิบาล หลกั ธรรมในการพฒั นางาน คน และสังคม สันติวฒั นธรรม ความร่วมมือกบั ประเทศตา่ งๆ และหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง2. วเิ คราะห์และประะเมินสถานการณ์ การเปล่ียนแปลงของสังคมและวฒั นธรรมไทยกบั สงั คมโลกบนพ้นื ฐานของศาสนธรรม4. ปฏิบตั ิตนเป็นพลเมืองดีในสังคมระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุขคาชี้แจง ใหเ้ ขียนแนวทางการสร้างสันติวฒั นธรรมในพทุ ธศาสนา

265 ใบงานที่ 7.2 เร่ือง แนวทางการสร้างสนั ติวฒั นธรรมในสงั คมสมรรถนะ 1. แสดงความรู้เก่ียวกบั สงั คม ศิลปวฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย หลกั ธรรมาภิบาล หลกั ธรรมในการพฒั นางาน คน และสังคม สนั ติวฒั นธรรม ความร่วมมือกบั ประเทศตา่ งๆ และหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง2. วเิ คราะห์และประะเมินสถานการณ์ การเปล่ียนแปลงของสังคมและวฒั นธรรมไทยกบั สงั คมโลกบนพ้ืนฐานของศาสนธรรม4. ปฏิบตั ิตนเป็นพลเมืองดีในสงั คมระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุขคาชี้แจง ใหเ้ ขียนแนวทางการสร้างสนั ติวฒั นธรรมในพทุ ธศาสนา

266 กจื กรรมการเรียนรู้หน่วยที่ 7กจิ กรรมที่มอบหมายตอนท่ี 1 ใหน้ กั ศึกษาปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ดงั น้ีคาช้ีแจง ให้นกั ศึกษาจบั กลุ่มกนั 3-4 คน เลือกหลกั ธรรมมาสองหลกั ธรรม เป็ นหลกั ธรรมในการสร้างสันติธรรม และหลกั ธรรมที่เป็ นอุปสรรคต่อการสร้างสันติธรรม มาอภิปรายว่าสามารถสร้างสันติวฒั นธรรมในสงั คม และเป็นอุปสรรคต์ ่อการสร้างสนั ติวฒั นธรรมอยา่ งไร สงั คหวตั ถุ 4 สาราณียธรรม 6 อคติ มจั ฉริยะ 5

267 แบบประเมินการรายงานหน้าช้ันเรียน หน่วยท่ี............................ เร่ือง .............................................................................................แผนก/ปี .............................................. ภาคเรียนท่ี / ปี การศึกษา.........................................................คาชี้แจง : โปรดทาเครื่องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกบั พฤติกรรมของกลุ่มตามความเป็นจริง( ) ประเมินโดยตวั แทนกลุ่มที่ .................... ( ) ประเมินโดยครูผสู้ อนรายการ ความพร้อม การใช้ภาษา การนาเสนอ เนือ้ หา ส่ือ รวม 012 012 012 012 012กลุ่ม.....กลุ่ม.....กลุ่ม.....กลุ่ม.....กลุ่ม.....กลุ่ม.....กลุ่ม.....กลุ่ม.....กลุ่ม.....กลุ่ม.....ขอ้ สังเกต...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... O ลงช่ือผปู้ ระเมิน .......................................................... 1. (....................................................) เกณฑก์ ารประเมิน O ลงชื่อผปู้ ระเมิน .......................................................... คะแนนเตม็ 10 คะแนน 2. (....................................................) ไดค้ ะแนน 9 – 10 = ดีมาก ต่ากวา่ 5 ควรปรับปรุง 7 – 8 = ดี 5 – 6 = พอใช้

268 เอกสารอ้างองิธรรมปิ ฎก, พระ (ป .อ. ประยุตโต). ทศวรรษธรรมทัศน์พระธรรมปิ ฎก. กรุงเทพฯ : ธรรมสภา, 2542------------------------------- ธรรมกบั ไทยในสถานการณ์ปัจจุบนั . กรุงเทพฯ : ธรรมสภา, 2542พรทิพา นิโรจน์. หลักมนุษย์วิทยา. จนั ทบุรี : คณะมนุษยศ์ าสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ราไพพรรณี, 2548.พสิ มยั ผลพฤกษไ์ พร. พนื้ ฐานวฒั นธรรมไทย. สงขลา : มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา, 2542.พทุ ธทาสภิกข.ุ พระ. (ม.ป.ป.) คู่มอื มนุษย์. กรุงเทพฯ : ธรรมสภา, 2549มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ. มนุษย์กบั การเปลยี่ นแปลง. เอกสารประกอบการสอน วิชาการพฒั นาชุมชน, 2542.ราชบณั ฑิตยสถาน. พจนานุกรม ศัพท์สังคมวทิ ยา. กรุงเทพมหานคร : รุ่งศิลป์ การพมิ พ,์ 2524.ราชบณั ฑิตสถาน. พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ สถาน. กรุงเทพฯ : นานมี บุคส์พบั ลิเคชน่ั , 2546ศศิรัศม์ วีระไวทยะ. การนาเสนอยุทธศาสตร์การสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพ่ือเสริมสร้างสันติ วฒั นธรรมโดยใช้สถานศึกษาเป็ นฐาน. ม.ป.ท., 2554.สุพตั รา สุภาพ. สังคมและวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพมหานคร : ไทยวฒั นาพานิช, 2531.เสฐียรโกเศศ (พระยาอนุมานราชธน). ศาสนาเปรียบเทียบ. กรุงเทพมหานคร : สยามบรรณาการ, 2515.อมรวิชช์ นาครทรรพและจิรัฐกาล พงศ์ภคเธียร. สันติวัฒนธรรม สันติในตน : แนวคิดและแนว ทางการเสริมสร้างสุขภาวะและการเรียนรู้เรื่องสันตภิ าพ. กรุงเทพมหานคร : สถาบนั ราม จิตติ, 2549.รูปประกอบเอกสาร//www.aksorn.com สืบคน้ เมื่อวนั ท่ี 9 มีนาคม พ.ศ.2559//www.thaimuslim.com สืบคน้ เม่ือวนั ท่ี 9 มีนาคม พ.ศ.2559//www.khonkhuan.com สืบคน้ เมื่อวนั ที่ 9 มีนาคม พ.ศ.2559//www.oknation.net สืบคน้ เมื่อวนั ท่ี 9 มีนาคม พ.ศ.2559//www.maameu.com สืบคน้ เม่ือวนั ท่ี 9 มีนาคม พ.ศ.2559

269ภาคผนวกหน่วยท่ี 7

270 เฉลยแบบฝึ กหัดท้าย หน่วยท่ี 8 ตอนที่ 1 จงเติมคาหรือขอ้ ความลงในช่องวา่ ง (ขอ้ ละ 2 คะแนน) 1. ความหมายของสนั ติวฒั นธรรมคือ สันติธรรม หมายถึงสภาวะที่บุคคลสามารถดาเนินชีวิตและทากิจกรรมต่าง ๆ ที่ แสดงถึงอัตลักษณ์ เอกลักษณ์ที่ทุกคนยอมรับ ภายใต้ความสมดุลระหว่างมนุษยก์ ับ ธรรมชาติท่ีสามารถดารงอยรู่ ่วมกนั ไดอ้ ยา่ งสนั ติ 2. สันติวฒั นธรรมมีความสาคญั คือ สนั ติวฒั นธรรมมีความสาคญั คือ เป็นแนวทางในการดาเนินชีวติ โดยนาหลกั ธรรม ทางศาสนามาใช้ ทาใหส้ ามารถลดและแกไ้ ขปัญหาในสงั คม สร้างความเจริญใหต้ นเองและ สงั คม เกิดการเรียนรู้ในวิถีคนดี และรวมสร้างระบบสงั คมท่ีเหมาะสม 3. แนวทางสร้างสนั ติวฒั นธรรมในสงั คมไทยบนพ้ืนฐานศาสนามีความจาเป็นเพราะ แนวทางสร้างสันติวฒั นธรรมในสังคมไทยบนพ้ืนฐานศาสนามีความจาเป็นเพราะ แต่ละศาสนาจะมีหลกั ธรรมพ้ืนฐานในการวางแนวทางในการดาเนินชีวิต มีท้งั ขอ้ หา้ มและ ขอ้ ปฏิบตั ิ เพ่ือเตรียมคนใหเ้ ป็นพลเมืองท่ีดีของสงั คม 4. สังคหวตั ถุ 4 ช่วยสร้างสนั ติธรรมอยา่ งไร สังคหวตั ถุ 4 ช่วยสร้างสันติธรรม เพราะเป็ นธรรมหลกั การสงเคราะห์ ยดึ เหน่ียว จิตใจของคนและประสานหมู่คณะไวใ้ นสามคั คี มีน้าใจต่อกนั ระหว่างเพ่ือนร่วมสังคม ทา ใหส้ ังคมสงบและมีความสุข 5. การใหท้ าน ตามหลกั พรหมวิหาร 4 คือ. การใหท้ าน ตามหลกั พรหมวหิ าร 4 คือ 1. ใหด้ ว้ ยความเมตตา 2. ใหด้ ว้ ยความ กรุณา 3. ใหด้ ว้ ยมุทิตา

2716. อคติ 4 ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง อคติ 4 ประกอบดว้ ย 1.ฉันทาคติ ลาเอียงเพราะรัก 2.โทสาคติ ลาเอียงเพราะชงั 3. โมหาคติ ลาเอียงเพราะหลง 4. ภยาคติ ลาเอียงเพราะกลวั7. ใจความสาคญั ของหลกั พระธรรมศาสตร์ ขอ้ ใดสอดคลอ้ งกบั ศีล 5 ในพระพทุ ธศาสนา ใจความสาคัญ ของหลักพระธรรมศาสตร์ ข้อ ที่ สอดคล้องกับศีล 5 ใน พระพทุ ธศาสนา คือ อยา่ ฆ่าคน อยา่ ล่วงประเวณีผวั เมียเขา และอยา่ ลกั ทรัพย์8. หลกั ปฏิบตั ิ 5 ในศาสนาอิสลาม คือ หลกั ปฏิบตั ิ 5 ในศาสนาอิสลาม หรือหลกั บญั ญตั ิ 5 ประการ คือการที่ชาวมุสลิม ตอ้ งกล่าวปฏิญาณตนทุกคร้ังท่ีทาการแสดงความเคารพต่อพระเจา้ พร้อม ๆ กนั การทา ละหมาด แสดงความเคารพนบนอ้ ม และการขอขมาพระเจา้ ปฏิบตั ิวนั ละ 5 คร้ัง9. การบริจาคซะกาต หมายถึงอะไร การบริจาคซะกาต หมายถึง การบริจาคทรัพยส์ ินส่วนหน่ึงท่ีได้มาโดยสุจริต ใหแ้ ก่คนยากจน คนที่ขดั สน กิจการสาธารณะกศุ ล ในอตั ราร้อยละ 2.5 ของเงินที่หมุนเวยี น10. ศาสนาต่าง ๆ ในโลกมีความสอดคลอ้ งกนั ในเรื่อง ศาสนาต่าง ๆ ในโลกมีความสอดคลอ้ งกนั ในเร่ือง คาสอนพ้ืนฐานในการควบคุม พฤติกรรมการแสดงออกทางกาย วาจา ใจ เพื่อไม่ใหเ้ กิดความเดือดร้อนและสร้างความ เสียหายต่อตนเอง และบุคคลอื่น การสร้างความสามคั คี สงเคราะห์ซ่ึงกนั และกนั และมี แนวทางการพฒั นาตนใหเ้ จริญกา้ วหนา้เฉลยแบบฝึกหดั ตอนที่ 21. ค2. ง.3. ค.4. ก5. ก6. ค7. ค

2728. ง9. ค10. งเฉลยใบงานท่ี 7.1

273เฉลยใบงานท่ี 7.2

274 แบบทดสอบก่อน – หลงั เรียน หน่วยที่ 7 สันติวฒั นธรรม1. ขอ้ ใดกล่าวถูกตอ้ งเก่ียวกบั ความหมายของสงั คมท่ีมีสนั ติวฒั นธรรม ก. การสร้างภูมิคุม้ กนั ไม่ใหใ้ ชค้ วามรุนแรง ข. การสร้างหลกั ธรรมาภิบาลในสงั คม ค. การวางหลกั การปกครองที่ยง่ั ยนื ง. วฒั นธรรมการอยรู่ ่วมกนั ดว้ ยความเมตตา2. ลกั ษณะทวั่ ไปของสงั คมท่ีมีสนั ติวฒั นธรรมขอ้ ใดถูกตอ้ งที่สุด ก. มีการปฏิบตั ิตามหลกั สิทธิมนุษยชนอยา่ งเท่าเทียมกนั ข. มีความหลากหลายของภาษาเพ่มิ มากข้ึน ค. เป็นสงั คมท่ีไม่มีความขดั แยง้ ง. มีประชากรอพยพยา้ ยถ่ินมากข้ึน3 ขอ้ ใดไม่ใช่ความสาคญั ของสนั ติวฒั นธรรม ก. เกิดความเขา้ ใจวถิ ีการดารงขีวติ ดว้ ยความเอ้ือเฟ้ื อ ข. เกิดการต่อสูท้ ี่เรียกวา่ อหิงสาเพิ่มข้นึ ค. เกิดความสุขที่เกิดจากการให้ ง. เกิดความช่วยเหลือเพอื่ นมนุษยท์ ี่กาลงั ตกทุกขไ์ ดย้ าก4. หลกั ในสงั คหวตั ถุ 4 ขอ้ ใดเป็นการลดปัญหาผชู้ อบใชค้ วามรุนแรง

275 ก. ทาน ข. ปิ ยวาจา ค. อตั ถจริยา ง. สมานตั ตา5 ขอ้ ใดคือหลกั ธรรมที่สาคญั ที่สุดของศาสนาคริสต์ ก. ความเสียสละ ข. ความรัก ค. ความอดทน ง. ความอ่อนโยน6. หลกั ธรรมในพระธรรมศาสตร์ขอ้ ใดตรงกบั เบญจศีลขอ้ ที่ 2 ของศาสนาพทุ ธ ก. เศาจะ ข. กษมา ค. ธฤติ ง. อสเตยยะ7. การซากาตในศาสนาอิสลาม สอดคลอ้ งกบั หลกั ธรรมใดในศาสนาพทุ ธ ก. ทาน ข. ฉนั ทะ ค. วริ ิยะ ง. สมานตั ตา

2768. ขอ้ ใดไม่ใช่หลกั ธรรมท่ีสอดคลอ้ งกนั ของแต่ละศาสนา ก. หลกั ความดีพ้นื ฐาน ข. หลกั การสงั คมสงเคราะห์ ค. หลกั การพฒั นางาน ง. หลกั การพฒั นาคน9. ขอ้ ใดไม่ใช่อุปสรรคในการสร้างสนั ติวฒั นธรรมในสงั คม ก. การยดึ ติดความเชื่อ ข. การยดึ มน่ั ในชาติพนั ธุ์ ค. การไม่ยอมปรับความคิด ง. การยดึ มนั่ คาสอนของศาสนา10. ปัจจุบนั พบปัญหาความรุนแรงต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนในสงั คมท้งั ภายในและภายนอกประเทศเพิม่ มากข้ึน พบวา่ มาจากสาเหตุใด ก. ปัญหาเศรษฐกิจ ข. ปัญหาครอบครัว ค. ปัญหาการเมือง ง. ทุกขอ้ ถูกหมด

277 เฉลยแบบทดสอบก่อน – หลงั เรียนหน่วยท่ี 7 สันติวฒั นธรรม1. ค.2. ก.3. ข.4. ข.5. ข.6. ง.7. ก.8. ค9. ง.10. ง

สันติวัฒนธรรม หมายถึงอะไร

เพิ่มศักดิ์ มกราภิรมย์ (2555) ได้อธิบายเกี่ยวกับสันติวัฒนธรรมว่า สันติวัฒนธรรม คือ วัฒนธรรมการด ารงชีวิตร่วมกันด้วยความเมตตากรุณา บนหลักการพื้นฐานการด ารงชีวิตอยู่ รวมกันอย่างสันติสุข โดยมีขนบธรรมเนียม ประเพณีวัฒนธรรมอันดีงาม ที่ช่วยให้สังคมมนุษย์มี ประพฤติ ปฏิบัติตามหน้าที่ต่อกันและกัน โดยปราศจากความรุนแรง แล้วน าไป ...

แนวคิดการสร้างสันติวัฒนธรรม มีอะไรบ้าง

รศ.ดร.วรากรณ์ กล่าวถึงการจะเป็นสังคมสันติวัฒนธรรม (cuture of peace) นั้นต้องประกอบด้วย 6 ปัจจัย ได้แก่ 1.การยอมรับความแตกต่างที่เกิดขึ้น 2.เคารพในความแตกต่าง 3.อดทนอดกลั้นในความแตกต่าง 4.เชื่อในความเท่าเทียมของมนุษย์ 5.เคารพสิทธิของผู้อื่น และ 6.ใช้เหตุและผล โดยมีกติกาสังคมเป็นฉันทามติร่วมกัน โดยสังคมสันติวัฒนธรรม จะ ...

ลักษณะของสันติวัฒนธรรมมีอะไรบ้าง

ลักษณะของสันติวัฒนธรรม แนวคิดหลักของสันติวัฒนธรรมของมนุษย์ที่เป็นสากล คือ ความรัก ความร่วมมือ การอยู่ร่วมกัน อย่างสันติในทุกระดับ การยอมรับและเคารพผู้อื่น การกระจายคุณค่าแห่งความยุติธรรม ความเท่าเทียมกันใน ... .
Veridian E-Journal, Silpakorn University. ISSN 1906 - 3431. Humanities, Social Sciences and arts. ... .

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita