การดำเนินงานใน คลังสินค้า และศูนย์กระจายสินค้า

สนใจและต้องการสอบถามเพิ่มเติม

ด้วยทีมงานมากประสบการณ์พร้อมให้คำปรึกษา ไว้วางใจให้เราเป็นส่วนหนึ่งของความสำเร็จ

99/9 Central Plaza Chaengwattana Office Tower, 19 Floor, Room no. 1907-9, Moo 2, Chaengwattana Road, Bangtarad, Nonthaburi 11120
Tel : 0-2835-3539 | Fax : 0-2835-3810 | Mobile : 080-063-0888 | E-mail : [email protected]

สนใจและต้องการสอบถามเพิ่มเติม

ด้วยทีมงานมากประสบการณ์พร้อมให้คำปรึกษา ไว้วางใจให้เราเป็นส่วนหนึ่งของความสำเร็จ

99/9 Central Plaza Chaengwattana Office Tower, 19 Floor, Room no. 1907-9, Moo 2, Chaengwattana Road, Bangtarad, Nonthaburi 11120
Tel : 0-2835-3539 | Fax : 0-2835-3810 | Mobile : 080-063-0888 | E-mail : [email protected]

สนใจและต้องการสอบถามเพิ่มเติม

ด้วยทีมงานมากประสบการณ์พร้อมให้คำปรึกษา ไว้วางใจให้เราเป็นส่วนหนึ่งของความสำเร็จ

99/9 Central Plaza Chaengwattana Office Tower, 19 Floor, Room no. 1907-9, Moo 2, Chaengwattana Road, Bangtarad, Nonthaburi 11120
Tel : 0-2835-3539 | Fax : 0-2835-3810 | Mobile : 080-063-0888 | E-mail : [email protected]

งานนำเสนอเรื่อง: "Chapter 1 บทนำ ของคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Chapter 1 บทนำ ของคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
Mr. Pattapong Promchai

2 วัตถุประสงค์ ทราบลักษณะคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
ทราบแนวทางการจัดการคลังและศูนย์กระจายสินค้า ทราบหน้าที่ของคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า ทราบความสัมพันธ์ระหว่างคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า ทราบความแตกต่างระหว่างคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า

3 บทนำคลังสินค้า (Warehouse Introduction)
คลังสินค้า หมายถึง พื้นที่ที่ได้วางแผนแล้วเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการใช้สอยและเคลื่อนย้ายสินค้าและวัตถุดิบคลังสินค้าจะทำหน้าที่ในการเก็บสินค้าระหว่างกระบวนการเคลื่อนย้ายเพื่อสนับสนุนการผลิตและการกระจายสินค้า ซึ่งสินค้าที่เก็บในคลังสินค้าสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ 1. วัตถุดิบ (Raw Material) หรือชิ้นส่วน/ส่วนประกอบ (Parts / components) 2. สินค้าสำเร็จรูป (Finished goods) รวมถึง งานระหว่างทำ (Work in process) สินค้าที่ต้องการทิ้ง (Disposed) หรือวัสดุที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle materials)

4

5 บทนำศูนย์กระจายสินค้า (Introduction of Distribution Center)
ศูนย์กระจายสินค้าเป็นชุดของคลังสินค้าที่มีหลายหลังรวมกัน เป็นอาคารหลังเดียวซึ่งเป็นอาคารขนาดใหญ่ จะมีบทบาทในการรับคำสั่งซื้อจากศูนย์ย่อยทั่วประเทศ ศูนย์กระจายสินค้าจะทำหน้าที่ในการรวบรวมสินค้าจากหลากหลายผู้ขาย แล้วส่งไปยังจุดจำหน่ายอีกจุดหนึ่ง

6 การจัดการคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
1. พัฒนาการการจัดการคลังสินค้า รักษาสินค้าไม่ให้เสียหาย เน่าเปื่อย ในครัวเรือน เก็บสินค้าเพื่อการค้าขาย เพื่อการผลิตและกระจายสินค้า เพื่อการผลิตและ กระจายสินค้า (เทคนิคการขาย , การลดต้นทุน , การพยากรณ์ , การขจัดความสูญเปล่า)

7 การจัดการคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
การจัดการคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้าหมายถึง กระบวนการบูรณาการทรัพยาการที่มีอยู่ให้เกิดประสิทธิผลและบรรลุวัตถุประสงค์ของคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้าแต่ละประเภทที่กำหนดไว้ ทรัพยากรในการจัดการคลังสินค้าได้แก่ 1. ทรัพยากรพื้นที่ 2. ทรัพยากรมนุษย์ 3. ทรัพยากรเครื่องมือ 4. ทรัพยากรทุน 5. ทรัพยากรเวลา

8 การจัดการคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
วัตถุประสงค์ของการปฏิบัติการ 1. การใช้พื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด คือ สินค้าจะต้องได้รับการจัดเก็บรักษาให้ได้ประโยชน์มากที่สุด พื้นที่ทั้งแนวตั้งและแนวนอน 2. การใช้เวลาและแรงงานให้เกิดประโยชน์สูงสุด ความสัมพันธ์ของกำลังคนกับเวลาจะคำนวณออกมาเป็นค่าใช้จ่าย ต้นทุนการปฏิบัติการ 3. เข้าถึงสินค้าที่จัดเก็บและจัดส่งออกให้ง่าย และสะดวกที่สุด 4. การป้องกันรักษาสินค้าในที่เก็บรักษาได้เป็นอย่างดีที่สุด

9 การจัดการคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
วัตถุประสงค์ในการก่อตั้ง เพื่อรักษาระดับสต็อค (Stock pilling) สนับสนุนการผลิต (Production support) เป็นแหล่งรวบรวมผลิตภัณฑ์หลากชนิด (Product mixing) เพื่อให้เต็มเที่ยวก่อนการจัดส่ง (Consolidation) เป็นศูนย์กระจายสินค้า (Distribution center) เพื่อสามารถให้บริการลูกค้าโดยทั่วไป (Customer service)

10 หน้าที่ของคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
1. หน้าที่การเคลื่อนย้าย 1.1 การรับ (Receiving) การรับสินค้าจำนวนมากเดินทางมาถึงคลังสินค้า 1.2 การโยกย้าย (Transfer) การโยกย้ายไปจัดเก็บ การผลิต และการจัดส่ง 1.3 การคัดเลือกเพื่อการจัดส่ง (Selection) การคัดเลือกสินค้านำเข้า วัตถุดิบ 1.4 การจัดส่ง (Shipping) การตรวจสอบ จัดส่งถึงลูกค้า

11 หน้าที่ของคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
2. หน้าที่การเก็บรักษา 2.1 การเก็บรักษาชั่วคราว (Temporary Storage) สินค้าจะถูกเก็บไว้เป็นระยะเวลาหนึ่ง เวลาการเก็บขึ้นอยู่กับวงจรการทดแทนจำนวนสินค้าที่ถูกจ่ายออกไป การเก็บรักษาชั่วคราวจะช่วยให้มีจำนวนสินค้าเพียงพอที่จะสนองความต้องการของลูกค้า ให้การผลิตราบรื่น และยังป้องกันสินค้าขาดแคลนอีกด้วย

12 หน้าที่ของคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
2. หน้าที่การเก็บรักษา 2.1 การเก็บรักษาถาวร (Permanent Storage) การเก็บรักษาสินค้าที่เกินกว่าความต้องการเพื่อใช้หมุนเวียนปกติ มักจะมาจากสาเหตุดังนี้ การผลิตตามฤดูกาล เช่น สินค้าเกษตร ความต้องการที่ไม่แน่นอน สินค้าที่มีการเปลี่ยนแปลงขึ้น ๆ ลง ๆ ไม่แน่นอน สินค้าที่ไม่สามารถจำหน่ายได้ทันที เช่น ผลไม้ดอง , สินค้าที่ต้องเก็บไว้ก่อนจำหน่าย เพื่อส่วนลดพิเศษ ซื้อมาเก็บไว้ในจำนวนมาก ๆ เพื่อส่วนลดในการซื้อ

13 ความสัมพันธ์ระหว่างคลังสินค้า ศูนย์กระจายสินค้า กับกิจกรรมโลจิสติกส์
ความสัมพันธ์ระหว่างคลังสินค้า ศูนย์กระจายสินค้า กับกิจกรรมโลจิสติกส์ 1. การผลิต การผลิตน้อย ส่งผลต่อจำนวนสินค้าคงคลังที่น้อยตามสัดส่วน ทำให้ต้องการพื้นที่จัดเก็บน้อย แต่ต้นทุนเครื่องจักรสูง ต้นทุนการเดินสายการผลิตสูงเพราะมีการลงทุนไปแล้วแต่ไม่มีการใช้งานได้อย่างเต็มที่ แต่ในขณะเดียวกันถ้าการผลิตมีปริมาณสูง ต้องมีสินค้าคงคลังสูง มีต้นทุนการจัดเก็บสูงแต่ ต้นทุนทางด้านเครื่องจักรต่ำเพราะมีการใช้งานได้อย่างเต็มที่ ผู้บริหารควรมีการเปรียบเทียบ และเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดสำหรับองค์กรเสมอ

14 ความสัมพันธ์ระหว่างคลังสินค้า ศูนย์กระจายสินค้า กับกิจกรรม โลจิสติกส์
ความสัมพันธ์ระหว่างคลังสินค้า ศูนย์กระจายสินค้า กับกิจกรรม โลจิสติกส์ 2. การขนส่ง คลังสินค้าจะรับสินค้าจากผู้ผลิตหลายราย เพื่อรวบรวมให้เป็นขนาดการขนส่งที่เต็มเที่ยวและป้อนเข้าสู่โรงงาน ทำให้ประหยัดการขนส่งที่สุด การขนส่งมีหลายรูปแบบ เช่น 1. การขนส่งจากผู้ส่งมอบ เข้าสู่คลังสินค้า 2. การขนส่งจากคลังสินค้า เข้าสายการผลิต 3. การขนส่งจากสายการผลิตเข้าสู่ศูนย์กระจายสินค้า 4. การขนส่งจากศูนย์กระจายสินค้าสู่ผู้บริโภค

15 ความสัมพันธ์ระหว่างคลังสินค้า ศูนย์กระจายสินค้า กับกิจกรรม โลจิสติกส์
ความสัมพันธ์ระหว่างคลังสินค้า ศูนย์กระจายสินค้า กับกิจกรรม โลจิสติกส์ 3. การให้บริการลูกค้า การให้บริการลูกค้าสัมพันธ์ เช่นนโยบายการให้บริการลูกค้า 24 ชั่วโมง ส่งผลทำให้สินค้าคงคลังที่มีจำนวนมาก ต้นทุนสูง เสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงของตลาด เพราะฉะนั้นควรมีการพยากรณ์ความต้องการของลูกค้าที่แม่นยำ

16 ความสัมพันธ์ระหว่างคลังสินค้า ศูนย์กระจายสินค้า กับกิจกรรม โลจิสติกส์
ความสัมพันธ์ระหว่างคลังสินค้า ศูนย์กระจายสินค้า กับกิจกรรม โลจิสติกส์ 4. การกระจายสินค้า ศูนย์กระจายสินค้าทำหน้าที่การจัดเก็บสินค้าและก่อให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างผู้ผลิต ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก และผู้บริโภค ซึ่งการจัดการศูนย์กระจายสินค้ามีส่วนช่วยให้ต้นทุนด้านโลจิสติกส์ต่ำลง

17 ความสัมพันธ์ระหว่างคลังสินค้ากับกิจกรรมโลจิสติกส์
Transportation Customer Service Warehouse & Logistics Activities Production Distribution International Logistics

18 ความแตกต่างระหว่างคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
เก็บสินค้าทุกประเภทของกิจการ เก็บสินค้าบางประเภทโดยเน้นเฉพาะสินค้าที่อยู่ในความต้องการของตลาด ใช้สนับสนุนการผลิตเป็นหลัก ใช้เฉพาะในบริษัท ใช้ในระดับกลุ่มบริษัทหรือซัพพลายเชน การดำเนินงานส่วนใหญ่ประกอบด้วย การรับสินค้า การจัดเก็บ การค้นหา การเลือกหยิบ และการจ่ายออก การดำเนินการส่วนใหญ่ประกอบด้วยการรับและการจัดส่ง เน้นการขนส่งตามที่ลูกค้าต้องการโดยให้ต้นทุนการดำเนินงานต่ำสุด เน้นการจัดส่งสินค้าให้ลูกค้าตามต้องการโดยเน้นกำไรสูงสุด

19 Chapter 2 ความสำคัญของคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
Mr. Pattapong Promchai

20 ความสำคัญของคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
เพื่อให้เกิดการประหยัดในการขนส่งและการผลิต (Economics) เพื่อต้องการส่วนลดจากการสั่งซื้อจำนวนมาก (Economics of scale and discount promotion) เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมวัตถุดิบ ส่วนประกอบ หรือชิ้นส่วน (Supply sources) เพื่อสนับสนุนการให้บริการลูกค้า (Supporting to customer services) ช่วยรองรับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ทางการตลาดได้ (Management of change) ช่วยลดรอบเวลาในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ (Lead time) ช่วยสนับสนุนกระบวนการผลิตแบบ Just – in – time ทำให้สามารถขนส่งสินค้าได้หลากหลายประเภท

21 ประโยชน์ของคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
สนับสนุนการผลิต (Manufacturing Support) เพื่อป้อนวัตถุดิบเข้าสู่สายการผลิต เป็นสถานที่ผสมผลิตภัณฑ์ (Product Mix) รวบรวมสินค้าก่อนส่งถึงมือลูกค้า เป็นสถานที่รวบรวมสินค้า (Product Considerate) ในกรณีที่ลูกค้าต้องการซื้อสินค้าในปริมาณมากๆ ต้องเก็บรวบรวมไว้ก่อนส่งสินค้า เป็นสถานที่ที่ใช้แบ่งแยกสินค้าให้มีขนาดเล็ก (Break Bulk) ในกรณีที่มีการขนส่งหีบห่อใหญ่ คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้าจะต้องมีการแยกเป็นชิ้นเล็ก ๆ ก่อนนำไปผลิตหรือส่งถึงมือลูกค้า

22 ความสำคัญเชิงกลยุทธ์ของคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
ช่วยประหยัดค่าขนส่ง 5 ตัน ผู้ขาย 1 15 ตัน ผู้ขาย 2 20 ตัน ผู้ขาย 3

23 ความสำคัญเชิงกลยุทธ์ของคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
ช่วยประหยัดค่าขนส่ง 5 ตัน ผู้ขาย 1 15 ตัน 40 ตัน ผู้ขาย 2 20 ตัน ผู้ขาย 3

24 ความสำคัญเชิงกลยุทธ์ของคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
ช่วยประหยัดค่าขนส่ง โรงงาน ก. ลูกค้า 1 โรงงาน ข. ลูกค้า 2 โรงงาน ค.

25 ความสำคัญเชิงกลยุทธ์ของคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
ช่วยประหยัดค่าขนส่ง โรงงาน ก. กขค ลูกค้า 1 โรงงาน ข. กขค ลูกค้า 2 โรงงาน ค.

26 ความสำคัญเชิงกลยุทธ์ของคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
ช่วยประหยัดต้นทุนการผลิต ช่วยให้ได้รับผลประโยชน์เมื่อซื้อสินค้าทีละมากๆ ช่วยป้องกันสินค้าขาดแคลน สนับสนุนนโยบายการให้บริการลูกค้าของกิจการ พร้อมเผชิญกับภาวการณ์ตลาดที่เปลี่ยนแปลง เพื่อลดรอบเวลาการผลิตของแต่ละกิจกรรม

27 เป้าหมายการจัดการของคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
เพื่อลดระยะทางในการปฏิบัติการเคลื่อนย้ายให้มากที่สุด เพื่อใช้พื้นที่และปริมาตรในการจัดเก็บให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อสร้างความมั่นใจเกี่ยวกับ แรงงาน เครื่องมือ อุปกรณ์ สาธารณูปโภคต่างๆ ว่ามีอยู่อย่างเพียงพอ เพื่อสร้างความพึงพอใจในการทำงานแต่ละวันแก่ผู้เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้ายสินค้าหรือวัตถุดิบ ทำให้สามารถวางแผนได้อย่างต่อเนื่อง สามารถควบคุมและรักษาระดับการใช้ทรัพยากรต่างๆ เพื่อรักษาระดับต้นทุนสินค้าคงคลังตามขนาดธุรกิจที่กำหนด

การดำเนินงาน คลังสินค้า มีอะไรบ้าง

ระบบจัดการคลังสินค้าประกอบไปด้วยอะไรบ้าง?.
ระบบสินค้าเข้า (Stock Entry).
ระบบจัดการและเอกสารต่างๆ (Documenting).
ระบบบริหารสินค้า (Inventory Management).
ระบบจัดการการขนส่ง (Transportation Management System).
ระบบโอนย้ายสินค้า (Inventory Transfers).
ระบบตั้งหน่วยนับสินค้า (Unit of measurement).
รายงานสรุปภาพรวมสินค้า (Report).

วัตถุประสงค์ ของการดำเนินงาน คลังสินค้า และศูนย์กระจายสินค้า คืออะไร

วัตถุประสงค์ของคลังสินค้า เพื่อทำหน้าที่รักษาระดับสินค้าคงคลังเพื่อสนับสนุนการผลิต (Manufacturing support) เพื่อทำหน้าที่ผสมสินค้า (Product-mixing) เพื่อทำหน้าที่รวบรวมสินค้าก่อนจัดส่ง (Consolidation) เพื่อทำหน้าที่แยกหีบห่อ (Break-bulk) หรือทำหน้าที่เป็นศูนย์กระจายสินค้า (Cross dock)

การดำเนินงานคลังสินค้าหมายถึงอะไร

การจัดการคลังสินค้า (Warehouse Management) เป็นการจัดการในการรับ การจัดเก็บ หมายถึง การจัดส่งสินค้าให้ผู้รับเพื่อกิจกรรมการขาย เป้าหมายหลักในการบริหาร ดำเนินธุรกิจ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับคลังสินค้าก็เพื่อให้เกิดการดำเนินการเป็นระบบให้คุ้มกับการ ลงทุน การควบคุมคุณภาพของการเก็บ การหยิบสินค้า การป้องกัน ลดการสูญเสียจากการ ...

คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้าเหมือนกันอย่างไร

หากไม่ได้เกี่ยวข้องในวงการจริงๆ อาจเข้าใจผิดว่า คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้าเป็นที่เดียวกัน แต่ความจริงนั้นแตกต่างอย่างสิ้นเชิง คลังสินค้าจะรวมสินค้าทุกชนิด และปริมาณมาก แต่ศูนย์กระจายสินค้า เน้นสินค้าหลายหลาก ปริมาณเพียงพอที่จะส่งตามคำสั่งซื้อ และเข้าเร็ว-ออกเร็ว ไม่เก็บนาน

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita