แผนการ สอน บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย

6.ครูปิดไฟและเปิดไฟฉาย เพื่อให้เด็กๆลองเล่นกับเงา โดยให้เด็กๆลองเลื่อนเงา ใกล้-ไกล ไฟฉายเพื่อดูขนาดของเงา และลองเลื่อนไฟฉาย ตามแบบดวงอาทิตย์เพื่อดูทิศทางของเงา ระหว่างการทำกิจกรรมครูสนทนากับเด็กไปด้วย (5 นาที) จบกิจกรรม ครูเปิดไฟ

7.ครูให้เด็กลองทายการฉายภาพเงาจากกล่องปริศนา

ขั้นสรุป

8.เด็กและครูร่วมกันสรุปผลการทดลองเรื่อง “การเกิดเงา”  ว่าเงาเกิดจากแสงที่ส่องผ่านวัตถุ ซึ่งเงาของวัตถุชนิดหนึ่งๆจะแสดงรูปทรงที่เหมือนวัตถุชนิดนั้น

3. ในวันถัดมา คอปเตอร์ ได้เรียนรู้เร่ืองแม่เหล็กอีกครังในชันเรียน คุณครูได้นาแม่เหล็กมาดูดกับแผ่นพลาสติก

ปรากฏว่า แม่เหล็กดูดแผ่นพลาสติกขึนมาได้ และเมื่อพลิกอีกด้านของแผ่นพลาสติกเจอแม่เหล็กอีกอันติดอยู่

ด้านหลัง คอปเตอร์จึงเกิดความสงสัย คุณครูจึงให้คอปเตอร์ทาการทดลองโดยนาแม่เหล็กมาดึงดูดกันและนาสมุด

มาเปน็ ตวั กันไม่ให้แมเ่ หลก็ ไมแ่ ตะกันโดยตรง ไดผ้ ลตามตารางดงั นี

จานวนสมดุ (เล่ม) การดึงดูดของแมเ่ หล็ก

1 ดงึ ดูดกัน

3 ดงึ ดูดกัน

5 ดงึ ดดู กัน

7 ผลกั กัน

10 ผลกั กัน

จากข้อมูลในตารางผลการทดลองข้างต้น นักเรียนคิดว่าจานวนของสมุดมีผลต่อการดึงดูดของแม่เหล็ก
อย่างไร เมอ่ื ระยะหา่ งระหว่างแมเ่ หลก็ มากขนึ แรงดึงดูของแม่เหล็กลดลง ถ้า ด.ช.ตอ้ งการใหแ้ ม่เหล็กดดู กนั จะต้อง
ทาอย่างไร จงอธบิ าย
ตอบ เพมิ่ ขนาดของแมเ่ หล็ก

โรงเรียนจุฬาภรณราชวทิ ยาลยั บรุ รี มั ย์ มุกดาหาร เลย

บทนำ เพ่ือทดลองการเกิดลม กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้
ทีมนักอุตุนิยมวิทยาน้อย มีภารกิจสาคัญ เรียนรู้เก่ียวกับการเกิดลม และทักษะการสังเกต
การวเิ คราะห์และการรายงานผลการศึกษาทดลอง
ในการสารวจสภาพอากาศในแต่ละวัน ซ่ึงต้องมี
ความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกับอากาศ ลม และกาเนิดลม แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 2 ใช้เวลาในการ
โดยทีมนักอุตุนิยมวิทยาน้อยร่วมกันทาการทดลอง จัดการเรียนรู้ 1 ช่ัวโมง ทีมนักอุตุนิยมวิทยาน้อย
เพ่ือศึกษาการเกิดลม ประโยชน์และโทษของลม ร่วมกันศึกษาค้นคว้าพลังงานลม และการเคล่ือนท่ี
แลว้ รายงานผลการทดลองให้กับเพอ่ื นๆ ทราบ ของอากาศ โดยร่วมกันประดิษฐ์อุปกรณ์การ
ทดลอง จากน้ันศึกษาปัจจัยที่เก่ียวข้องกับพลังงาน
แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ที่ 1 ใช้เวลาในการ ลม ในกิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการ
จัดการเรียนรู้ 2 ช่ัวโมง ทีมนักอุตุนิยมวิทยาน้อย เกดิ ลม และการนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจาวนั
ร่วมกันศึกษาการเกิดลมจากการทดลองง่ายๆ
จากขวดนา้ และแก้วน้าพลาสติก โดยเรมิ่ จากสังเกต ลมมาจากไหน
ปรากฏการณ์ในธรรมชาติ แล้วทากิจกรรมกลุ่ม
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3
หวั ข้อ
3 ชวั่ โมง
ระดบั ชัน้

เวลำ

แนวคิดหลกั
ลม คือ อากาศท่เี คลื่อนท่ี เกิดจากความแตกต่างกันของอุณหภมู อิ ากาศบริเวณที่อยู่ใกลก้ ัน โดยอากาศ

ที่มีอุณหภูมิสงู จะลอยตัวสูงข้ึน และอากาศบรเิ วณทม่ี ีอณุ หภูมิต่ากว่าจะเคล่ือนที่เขา้ ไปแทนท่ี

มำตรฐำนและตวั ชว้ี ัด
สำระที่ 3 วิทยำศำสตร์โลก และอวกำศ
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลงภายในโลก
และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมท้ังผลต่อส่ิงมีชวี ติ
และส่ิงแวดลอ้ ม
ตวั ชวี้ ัด ว 3.2 ป.3/1 ระบสุ ว่ นประกอบของอากาศ บรรยายความสาคัญของอากาศ และผลกระทบของมลพิษ
ทางอากาศต่อสงิ่ มีชวี ติ จากขอ้ มลู ทรี่ วบรวมได้

ว 3.2 ป.3/2 ตระหนกั ถึงความสาคัญของอากาศ โดยนาเสนอแนวทางการปฏิบัติตนในการลดการเกิด
มลพษิ ทางอากาศ

ว 3.2 ป.3/3 อธบิ ายการเกดิ ลมจากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์
ว 3.2 ป.3/4 บรรยายประโยชน์และโทษของลม จากขอ้ มลู ทรี่ วบรวมได้

1

ควำมเขำ้ ใจท่ีย่ังยืน
นักเรยี นเขา้ ใจว่า
1. อากาศบนโลกโดยทว่ั ไป ไม่มีสี ไมม่ ีกล่ิน ประกอบด้วย แกส๊ ไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน

แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ แกส๊ อื่นๆ รวมท้ังไอนา้ และฝ่นุ ละออง
2. ลมคอื อากาศทีเ่ คล่ือนท่ี เกิดจากความแตกต่างกนั ของอุณหภมู ิอากาศบริเวณทอ่ี ยู่ใกล้กัน

โดยอากาศท่ีมอี ุณหภมู สิ งู จะลอยตัวสูงขน้ึ และอากาศบรเิ วณต่ากว่าจะเคล่ือนทีเ่ ข้าไปแทนที่

คำถำมสำคญั
ลมมาจากไหน

ควำมรแู้ ละทักษะที่นกั เรียนไดร้ บั
ควำมรู้

คำสำคญั : ลม, อากาศ, อณุ หภมู ิ, ความรอ้ น, การขยายตวั , แรง
ทกั ษะ

การตัง้ คาถาม การสงั เกต การวางแผน
การสารวจตรวจสอบเกย่ี วกับลมและอทิ ธิพลของลม
การทางานกลุ่ม
เจตคติ
การให้ความร่วมมือในการทางานกลมุ่
เจตคตทิ ่ีดีต่อการเรยี นวทิ ยาศาสตร์
ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร์

หลกั ฐำนกำรเรียนรู้
ภำระงำน

นกั เรียนรายงานผลการทดลองเกีย่ วกบั การเกิดลมและพลงั งานลม
หลกั ฐำนกำรเรียนรู้อน่ื ๆ โดยคำนึงถงึ ควำมแตกต่ำงของผู้เรียน

1. การทางานเปน็ กลมุ่
2. สงั เกตการตอบคาถาม การทากิจกรรมของนักเรียน
กำรประเมินตนเอง
การประเมินตนเองจากการทากิจกรรมกลุ่ม

2

กิจกรรมกำรเรียนรู้

แผนกำรเรยี นร้ทู ี่ 1 : แรงลม

ข้ัน กิจกรรม เวลำ
5 นาที
ต้ังคำถำมเกยี่ วกบั - นักเรียนสังเกตผลของแรงลมที่กระทาต่อวัตถุ เช่น ลูกโป่ง
5 นาที
ปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติ ลูกปิงปอง ผ้าม่าน ที่อยู่ในห้องเคล่ือนไหว ต้นไม้ ใบไม้เคล่ือนไหว 20 นาที

แล้วต้ังคาถามว่าการเคลื่อนไหวของวัตถุเหล่าน้ันเกิดจากอะไร 10 นาที
10 นาที
(แรงลม). 10 นาที

- ครูตั้งคาถามต่อว่าแรงลมท่ีต่างกันมีผลต่อการเคล่ือนไหวของวัตถุ

อยา่ งไร

รวบรวมควำมคิด นักเรียนรวบรวมความคิด ตั้งข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับแรงลมมีผลต่อ

และข้อสันนิษฐำน การเคลื่อนท่ีของวัตถุอย่างไร และปัจจัยที่เก่ียวข้องกับขนาดของ

แรงลม

ทดสอบและปฏบิ ัติกำร นักเรียนศึกษาแรงลม จากกล่องกระดาษ โดยสังเกตการเคล่ือนท่ี

สบื เสำะ ของวัตถุที่เกิดจากแรงลมที่เคล่ือนท่ีออกมาจากกล่องกระดาษ

โดยเปรียบเทียบแรงลมที่มีขนาดต่างกัน มีผลทาให้วัตถุเคล่ือนที่

หรอื เปล่ียนตาแหนง่ ได้

กำรสงั เกตและบรรยำย นักเรียนบรรยายสิ่งที่ตนเองได้ทดลอง เกี่ยวกับปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องกับ

แรงลม และผลทเี่ กดิ ข้นึ ขณะทาการทดลอง

บันทกึ ข้อมูล นักเรียนบันทึกผลการทดลอง เกี่ยวกับแรงลมที่กระทาต่อวัตถุ เช่น

อิทธิพลของลมท่ีทาให้วัตถุเปล่ียนตาแหน่ง ความสัมพันธ์ระหว่าง

ทิศทางของลมและทศิ ทางการเคล่อื นท่ขี องวตั ถุ

อภปิ รำยผล นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลของแรงลมที่กระทาต่อวัตถุ

โดยแรงลมท่ีออกมาจากกล่องกระดาษจะมีผลทาให้วัตถุเปล่ียน

ตาแหน่งได้

3

แผนกำรเรยี นรู้ที่ 2 : ลมมาจากไหน

ข้นั กิจกรรม เวลำ
10 นาที
ต้ังคำถำมเกย่ี วกับ นักเรียนสังเกตทิศทางของก้อนสาลีที่แขวนไว้ริมหน้าต่าง ว่ามีการ 10 นาที
60 นาที
ปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติ เปลี่ยนแปลงอย่างไร ลมมาจากไหน ลมเกิดข้ึนได้อย่างไร.และลม 20 นาที

มีทศิ ทางการเคล่ือนทอ่ี ย่างไร 10 นาที
10 นาที
รวบรวมควำมคดิ นักเรียนรวบรวมความคิด ตั้งข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับทิศทางของลม

และข้อสนั นิษฐำน และการเกิดลม

ทดสอบและปฏิบัติกำร นักเรียนทาการทดลองเกี่ยวกับการเกิดลม โดยในการทดลองจะใช้

สืบเสำะ ควันธูปแทนอากาศ เพื่อให้สามารถสังเกต การเคลื่อนท่ีของอากาศ

เม่อื อุณหภมู ิของสองบรเิ วณไม่เท่ากนั

กำรสงั เกตและบรรยำย นักเรียนบรรยายส่ิงที่ตนเองได้ทดลอง (ประเด็นท่ีควรสังเกต ได้แก่

ทิศและลักษณะการเคลื่อนท่ีของควันธูป ก่อน-หลังทาการจุดเทียน

ซ่ึงควรสังเกตท้ังสองฝ่ัง หากเป็นไปได้ควรทาการวัดอุณหภูมิด้วย

เทอร์มอมิเตอร์ของอุณหภูมิอากาศภายในภาชนะท้ังสองฝั่ง ทั้งก่อน

ระหวา่ ง และหลังทาการจดุ เทียน )

บันทกึ ข้อมลู นักเรียนบันทึกผลการทดลอง เพ่ือแสดงใหเ้ หน็ ว่า อุณหภูมิที่แตกต่างกนั

ทาให้เกดิ การเคลอื่ นที่ของอากาศ หรอื ลม

อภปิ รำยผล นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายถึงผลของอุณหภูมิต่อการเคล่ือนที่

ของควันธูป และการเกิดลม

4

แรงลม

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 1 : แรงลม (ดัดแปลงจาก LSH เรือ่ ง อากาศ)

บทนา

ทีมนักอุตุนิยมวิทยาน้อย มีภารกิจสาคัญ จัดการเรียนรู้ 2.ช่ัวโมง ทีมนักอุตุนิยมวิทยาน้อย

ในการสารวจสภาพอากาศในแต่ละวัน ซึ่งต้องมี ร่วมกันศึกษาการเกิดลมจากการทดลองง่ายๆ

ความรู้พื้นฐานเก่ียวกับอากาศ ลม และกาเนิดลม จากขวดน้าและแก้วน้าพลาสติก โดยเริ่มจาก

โดยทีมนักอุตุนิยมวิทยาน้อยร่วมกันทาการทดลอง สังเกตปรากฏการณ์ในธรรมชาติ แล้วทากิจกรรม

เพ่ือศึกษาการเกิดลม ประโยชน์และโทษของลม กลุ่มเพ่ือทดลองการเกิดลม กิจกรรมนี้นักเรียนจะ 1

แล้วรายงานผลการทดลองใหก้ บั เพือ่ นๆ ทราบ ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการเกิดลม และทักษะการสังเกต

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1.ใช้เวลาในการ การวเิ คราะห์และการรายงานผลการศกึ ษาทดลอง

คาศพั ท์
ลม, แรงลม, การเคลื่อนท่ีของอากาศ

จุดประสงค์การเรยี นรู้
นกั เรยี นสามารถ 1. สงั เกตและอภิปรายผลของแรงลมท่กี ระทาต่อวัตถุได้
2. ทาการทดลองและนาเสนอผลของแรงลมทีก่ ระทาให้วตั ถเุ กดิ การเคลื่อนท่ีได้
3. ทางานรว่ มกับสมาชิกในกล่มุ ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

กจิ กรรมการเรียนรู้ 60 นาที

ขนั้ ท่ี 1 ตั้งคาถามเก่ยี วกบั ปรากฏการณ์ธรรมชาติ 5 นาที

นักเรียนสังเกตผลของแรงลมที่กระทาต่อวัตถุ เช่น ลูกโป่ง ลูกปิงปอง ผ้าม่าน ที่อยู่ในห้องเคล่ือนไหว ต้นไม้

ใบไม้เคล่ือนไหว แล้วต้ังคาถามว่าการเคล่ือนไหวของวัตถุเหล่านั้นเกิดจากอะไร (แรงลม).ครูต้ังคาถามต่อว่า

แรงลมทตี่ า่ งกนั มผี ลต่อการเคล่อื นไหวของวตั ถุอย่างไร

1. นักเรียนสังเกตผลของแรงลมที่กระทาต่อวัตถุ เช่น ลูกโป่ง ลูกปิงปอง ผ้าม่านท่ีอยู่ในห้องเรียน
ต้นไม้ ใบไมม้ ีการเคลอื่ นไหว แลว้ ต้ังประเด็นคาถามเกี่ยวกบั สาเหตทุ ่ีทาใหว้ ัตถเุ หล่านน้ั เคลือ่ นที่

2. กระตุ้นความสนใจของนักเรยี นดว้ ยการตั้งคาถามวา่ นักเรียนเคยสมั ผสั พลังของลมบ้างไหม
เคยสังเกตเวลาเกิดพายหุ รือไม่ ลมมกี ารเปล่ยี นแปลงอยา่ งไร

3. นักเรียนพับกระดาษ A4 ให้เป็นพัด เพ่ือใชเ้ ป็นเคร่อื งมือในการสร้างลมอ่อนๆ ในห้อง แล้วทดลอง
สร้างลมจากพัดท่ีนักเรียนสร้างข้ึน อาจทดสอบกับวัตถุชิ้นเล็กๆ ก็ได้ ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนด้วย
คาถามว่า “แรงลมทีต่ ่างกันมีผลต่อการเคล่ือนไหวของวัตถอุ ยา่ งไร”

1

ขนั้ ท่ี 2 รวบรวมความคิดและขอ้ สันนษิ ฐาน 5 นาที

นกั เรยี นรวบรวมความคดิ ตงั้ ข้อสันนิษฐานเก่ยี วกบั แรงลมมผี ลต่อการเคลอ่ื นที่ของวตั ถุอย่างไร และปัจจยั

ท่เี กยี่ วข้องกบั ขนาดของแรงลม

1. ครนู ากล่องกระดาษเจาะรูมาวางบนโต๊ะหน้าหอ้ งเรยี น พร้อมกบั วางลูกปงิ ปองไว้ดา้ นเดยี วกบั

ด้านท่ีเจาะรู แล้วกระตุ้นให้นักเรียนเกิดคาถามว่า จะทาอย่างไรให้ลูกปิงปองเคล่ือนที่ได้โดยไม่ต้องสัมผัสกับ

ลูกปิงปอง

2. ตัวแทนนกั เรียนมาทดลองใช้กล่องเปา่ ลูกปิงปอง โดยใช้มือทัง้ สองข้างบีบทข่ี ้างกลอ่ ง เพอ่ื ใหเ้ กิดลม

ออกมาทางรดู ้านข้างของกล่อง แลว้ เป่าไปทลี่ กู ปิงปองให้เคล่ือนที่

3. ครูกระตุ้นให้นักเรียนต้ังข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับปัจจัยท่ีเก่ียวข้องกับความแรงของลมท่ีได้จากกล่อง 1

และขอ้ สังเกตของการเกดิ ลมจากกลอ่ งได้อย่างไร

ขนั้ ท่ี 3 ทดสอบและปฏบิ ัตกิ ารสบื เสาะ 20 นาที

นักเรียนศึกษาแรงลมจากกล่องกระดาษ โดยสังเกตการเคลื่อนที่ของวัตถุที่เกิดจากแรงลมที่ออกมา

จากกลอ่ งกระดาษ โดยเปรียบเทยี บแรงลมท่ีมขี นาดตา่ งกนั มผี ลทาใหว้ ตั ถเุ คลอ่ื นที่หรือเปลี่ยนตาแหนง่ ได้

1. ครูแจกอุปกรณ์กล่องสร้างลม (รายการอุปกรณ์ตามใบกิจกรรม 1.1 เร่ือง กล่องลม ได้แก่

1. กล่องกระดาษขนาดมาตรฐาน อาจเป็นลังบรรจุกระดาษ A4 หรือลังเคร่อื งดืม่ 2. ธปู 1-2 กา้ น 3. กรรไกร

หรอื คตั เตอร์สาหรับเจาะกล่อง 4. กระดาษกาว 5. ไม้ขีด)

2. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มประดษิ ฐ์กล่องสรา้ งลม โดยการเจาะกลอ่ งให้เปน็ รู ตดั ธปู ให้มีขนาดสัน้ ลง

เพอื่ ไมใ่ ห้ไหมก้ ลอ่ ง จากนนั้ จดุ ธูปและนาไปปกั ไว้ภายในกลอ่ ง ปิดกลอ่ งทกุ ด้านยกเวน้ รูท่เี จาะไว้

3. สังเกตควันที่ออกมาจากกล่อง บรรยายลักษณะ จากนั้นออกแรงตีด้านข้างกล่องด้านใดด้านหน่ึง

หรือมากกวา่ นั้น (ตามทีน่ กั เรียนออกแบบ) แลว้ สังเกตการเปล่ียนแปลงของควันทีอ่ อกมาจากรู ทาซ้า

4. นักเรยี นออกแรงเพม่ิ ขน้ึ เพือ่ เปรียบเทยี บผลทเ่ี กดิ ข้นึ กับการออกแรงในคร้งั ก่อนหนา้

5. นกั เรียนออกแบบการทดลองเพื่อศึกษาว่า ขนาดของรูมีผลตอ่ การเคลอ่ื นที่ของควันธปู หรอื ไม่

โดยการเปล่ียนขนาดของรู ซง่ึ นกั เรียนสามารถปดิ รูทเ่ี คยเจาะไวเ้ ดิมได้ด้วย กระดาษกาว

6. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันอภปิ รายผล

ขอ้ ควรระวงั : ระวังอนั ตรายจากการใช้วสั ดุเจาะกล่อง อนั ตรายจากการถูกธปู จี้ หรอื ควันธปู

ข้นั ท่ี 4 การสังเกตและบรรยาย 10 นาที

นักเรียนบรรยายสง่ิ ท่ตี นเองได้ทดลองเก่ยี วกับปจั จยั ทเ่ี กี่ยวข้องกบั แรงลม และผลที่เกดิ ข้ึนขณะทาการทดลอง

1. ในระหว่างการทดลองนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสังเกตและบรรยายถึงปรากฏการณ์ที่ทาการ

ทดลองจากกล่องสรา้ งลม โดยครูอาจกระตุ้นด้วยการใชค้ าถามตอ่ ไปนี้

- ควนั ทอ่ี อกจากกล่องก่อนออกแรงมีการเคลือ่ นที่อย่างไร

- ควนั ทอี่ อกจากกล่องหลังออกแรงมีการเคลือ่ นท่ีอย่างไร

- ควนั ท่อี อกจากกลอ่ งหลังออกแรงมีการเคลอ่ื นที่อย่างไร เมือ่ ออกแรงมากข้ึน

- ขนาดของรมู ผี ลต่อการเคล่อื นทีข่ องควนั หรอื ไม่ อย่างไร

(ลักษณะของควันที่ออกจากกล่อง เมื่อออกแรงบีบกล่องมากขึ้นจะเป็นการเพิ่มความดันภายในกล่อง ทาให้

ควันท่ีออกจากกล่องจะพุ่งออกเป็นกลุ่มมากขึ้น หรือเกิดลมที่มีกาลังแรงข้ึนนั่นเอง และขนาดของรูข้างกล่อง

จะมีผลต่อความเร็วของควันหรือความเร็วของลม กล่าวคือ รูท่ีมีขนาดเล็กจะทาให้ควันหรือลมมีความเร็ว

มากขน้ึ เน่ืองจากมคี วามดันมากขึ้นน่นั เอง)

2

ข้ันท่ี 5 บนั ทึกข้อมูล 10 นาที

นกั เรยี นบันทึกผลการทดลอง เกย่ี วกบั แรงลมที่กระทาต่อวัตถุ เชน่ อิทธิพลของลมที่ทาให้วัตถุเปล่ยี นตาแหนง่

ความสัมพนั ธ์ระหว่างทิศทางของลมและทิศทางการเคล่ือนท่ขี องวตั ถุ

นักเรียนบันทึกผลการทดลองเกี่ยวกับลักษณะของควนั ธูปที่ออกมาจากกล่อง ระยะทางที่ควันธูปลอย

ออกมา ลกั ษณะของควนั ธูป โดยนกั เรยี นสามารถบนั ทกึ ข้อมลู ด้วยการวาดภาพ หรือเขียนตารางกไ็ ด้

ขนั้ ท่ี 6 อภิปรายผล 10 นาที

นกั เรยี นและครรู ่วมกนั อภปิ รายผลของแรงลมทีก่ ระทาต่อวัตถุ โดยแรงลมที่ออกมาจากกลอ่ งกระดาษจะมผี ล

ทาให้วัตถุเปลยี่ นตาแหน่งได้ 1

1. หลังจากทากิจกรรมการทดลอง นักเรยี นแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายถึงปัจจัยท่ีเก่ียวข้องกับแรงลม

จากกลอ่ งกระดาษ โดยครูอาจกระตุน้ ด้วยการใชค้ าถามตอ่ ไปน้ี

- ทาไมลมจงึ เคลือ่ นทอ่ี อกมา

- ความแรงของลมขน้ึ อยู่กบั อะไร

- ขนาดของรมู ีผลต่อการเคล่อื นทขี่ องลมหรือไม่

2. ตัวแทนนกั เรียนแตล่ ะกลุ่มเล่าใหเ้ พอ่ื นฟังเก่ียวกับปัจจัยท่เี ก่ยี วข้องกับความแรงของลม

3. นกั เรยี นและครูร่วมกนั อภิปรายเกย่ี วกบั แรงลมทเ่ี กิดจากกล่องกระดาษ เกดิ ข้ึนเนอื่ งจากอากาศ

ในกล่องจะถูกบีบอัดเข้าด้วยกัน แต่เน่ืองจากกล่องมีรู อากาศจึงเคล่ือนตัวผ่านรูเล็กๆ ออกไปด้วยความเร็วสูง

ขณะท่ีอากาศเคลอื่ นท่ีออกมาจากรูนั้น อากาศจะหมุนตัวและมีลกั ษณะเป็นเกลียว แต่เกลียวของอากาศจะถูก

ลดความแรงลง เนื่องจากเสียดสีกับอากาศในหอ้ งและสลายตัวไปในทส่ี ดุ

4. นักเรียนสามารถสรุปได้ว่า ลมเกิดจากการเคล่อื นท่ขี องอากาศ

การประเมนิ ผลโดยคานงึ ถงึ ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล
การประเมนิ ผลย่อย

ครสู ามารถประเมินความรขู้ องนักเรียนไดจ้ ากการทากจิ กรรมการสงั เกตลมจากกลอ่ งกระดาษ
การตอบคาถามของนกั เรยี น การเสนอแนวคิดและการแกป้ ญั หาระหวา่ งการทากจิ กรรม
ความแตกต่างระหว่างบุคคล

ในกิจกรรมกลุ่ม การแบ่งกลุ่มจะคละความสามารถของนักเรียน เพ่ือให้นักเรียนเก่งสามารถช่วย
นกั เรียนท่ีเรยี นอ่อนกวา่ ได้

การเตรยี มตัวสาหรับบทเรยี น

ส่อื การเรยี นการสอนท่ใี ช้
1. กลอ่ งกระดาษ
2. คตั เตอร์
3. ธูป
4. กระดาษกาว
5. ไม้ขดี ไฟ
6. ลกู ปิงปอง
7. ใบกจิ กรรม 1.1 กลอ่ งลม

3

เคร่อื งมือท่ีใช้ 1
ตั้งคาถามเก่ยี วกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ

- ลูกปงิ ปอง
รวบรวมความคิดและขอ้ สนั นิษฐาน

- กระดาษ A4
- ลูกปิงปอง
ทดสอบและปฏิบัตกิ ารสืบเสาะ
- รายการอปุ กรณใ์ นใบกิจกรรม 1.1 เรื่อง กล่องลม
การสังเกตและบรรยาย
- ไมม่ ี
บนั ทกึ ขอ้ มูล
- ไมม่ ี
อภิปรายผล
- ไมม่ ี

4

ชือ่ -สกุล__________________________________________ ช้นั _______________________ 1
ใบกจิ กรรม 1.1 เรื่อง แรงลม

จุดประสงค์
นกั เรยี นสามารถ
ทาการทดลองและนาเสนอผลของการออกแรงกระทา ตอ่ การเคลอ่ื นท่ีของอากาศได้

วสั ดุอุปกรณแ์ ละสอื่ การเรยี นรู้
1. กล่องบรรจกุ ระดาษขนาด A4
2. ธูป 1-2 ก้าน
3. กรรไกรหรือคตั เตอร์สาหรับเจาะกลอ่ ง
4. กระดาษกาว

12
tt tt

3
tt 4

tt

1

วธิ ีการประดษิ ฐ์ 1
นากล่องมาเจาะรูทดี่ า้ นขา้ งขนาดพอประมาณ

วธิ ีการทดลอง
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มประดิษฐ์กล่องสร้างลม โดยการเจาะกล่องให้เป็นรู ตัดธูปให้มีขนาดสั้นลง

เพ่อื ไมใ่ หไ้ หม้กลอ่ ง จากนน้ั จดุ ธูปและนาไปปกั ไว้ภายในกลอ่ ง ปิดกล่องทุกดา้ น ยกเวน้ รูทเ่ี จาะไว้
2. สังเกตควันท่ีออกมาจากกล่อง บรรยายลักษณะ จากน้ันออกแรงตีด้านข้างกล่องด้านใดด้านหน่ึง

หรอื มากกว่านั้น (ตามท่นี กั เรียนออกแบบ) แลว้ สังเกตการเปลี่ยนแปลงของควันทอ่ี อกมาจากรู ทาซา้
3. นกั เรียออกแรงเพ่มิ ขน้ึ เพอ่ื เปรียบเทยี บผลทเี่ กิดข้ึนกับการออกแรงในครง้ั กอ่ นหนา้
4. นักเรียนออกแบบการทดลองเพ่ือศึกษาว่า ขนาดของความดันภายในกล่องมีผลต่อการเคล่ือนท่ี

ของควนั ธปู หรือไม่ โดยการเปลย่ี นขนาดของรู ซงึ่ นักเรยี นสามารถปิดรูที่เคยเจาะไว้เดิมไดด้ ้วย กระดาษกาว
สรปุ ผลการทดลอง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2

ลมมาจากไหน จัดการเรียนรู้ 1.ชั่วโมง ทีมนักอุตุนิยมวิทยาน้อย 2
ร่วมกันศึกษาพลังงานลม และการเคลื่อนที่ของ
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2 : ลมมาจากไหน อากาศ โดยร่วมกันประดิษฐ์อุปกรณ์การทดลอง
จากนั้นศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพลังงานลม
บทนา ในกจิ กรรมนี้นักเรียนจะได้เรยี นร้เู กย่ี วกับการเกิดลม
ทีมนักอุตุนิยมวิทยาน้อย มีภารกิจสาคัญ และการนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจาวนั

ในการสารวจสภาพอากาศในแต่ละวัน ซึ่งต้องมี
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอากาศ ลม และกาเนิดลม
โดยทีมนักอุตุนิยมวิทยาน้อยร่วมกันทาการทดลอง
เพ่ือศึกษาการเกิดลม ประโยชน์และโทษของลม
แลว้ รายงานผลการทดลองใหก้ บั เพ่อื นๆ ทราบ

แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 2.ใช้เวลาในการ

คาศพั ท์
ลม, อณุ หภูมิ, ความรอ้ น

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
นักเรียนสามารถ 1. ทดลองและอธบิ ายการเกดิ ลมจากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ได้
2. อธบิ ายผลของอณุ หภมู ติ ่อการเคล่อื นท่ีของอากาศได้
3. ทางานร่วมกบั สมาชกิ ในกลมุ่ ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ

กจิ กรรมการเรียนรู้ 120 นาที

ขน้ั ที่ 1 ตั้งคาถามเกยี่ วกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ 10 นาที

นกั เรียนสังเกตทิศทางของก้อนสาลีท่ีแขวนไว้ริมหน้าต่างว่าก้อนสาลีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ลมมาจากไหน

ลมเกิดขึ้นได้อยา่ งไร และลมมีทศิ ทางการเคล่ือนที่อย่างไร

1. นกั เรยี นสงั เกตทิศทางของกอ้ นสาลที แ่ี ขวนไวร้ มิ หนา้ ต่างวา่ มีการเปลีย่ นแปลงอย่างไร ทิศทางของ

ลมเป็นอยา่ งไร ทาไมจึงเปน็ เช่นนนั้

2. กระตนุ้ ความสนใจของนักเรยี นดว้ ยการตง้ั คาถามว่า ลมมาจากไหน ลมเกิดขึน้ ได้อยา่ งไร

เราสามารถทาให้เกิดลมได้อย่างไร

3. นกั เรยี นเคยสงั เกตไหมว่า ในวันที่มีอากาศร้อนมากๆ หรือในช่วงฤดูร้อนมักเกิดมรสมุ ข้นึ อากาศร้อน

หรืออณุ หภมู ิมีผลทาใหเ้ กิดลมได้หรอื ไม่

ขั้นท่ี 2 รวบรวมความคดิ และข้อสันนษิ ฐาน 10 นาที

นักเรียนรวบรวมความคดิ ตงั้ ขอ้ สันนิษฐานเก่ยี วกบั ทิศทางของลม และการเกดิ ลม

1. หลังจากท่ีนักเรียนได้สังเกตลมที่พัดผ่านหน้าต่างด้วยการสังเกตก้อนสาลี นักเรียนจะสามารถบอก

ได้หรอื ไม่วา่ ลมพัดจากทิศไหนไปทางทิศไหน แล้วนักเรยี นต้ังขอ้ สมมติฐานเก่ียวกับอุณหภูมิมีผลต่อการเกิดลม

หรือไม่ อย่างไร

2. ครูกระตุ้นให้นักเรียนต้ังข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับการเกิดลมในธรรมชาติและทิศทางของลม โดยให้

นักเรยี นร่วมกนั ระดมความคดิ และนาเสนอแนวคิดในการตรวจสอบสมมตฐิ านน้นั

1

ขั้นที่ 3 ทดสอบและปฏิบัติการสืบเสาะ 60 นาที

นักเรียนทาการทดลองเก่ียวกับการเกิดลม โดยในการทดลองจะใช้ควันธูปแทนอากาศ เพ่ือให้สามารถสังเกต

การเคลอ่ื นท่ขี องอากาศเม่ืออุณหภูมขิ องสองบริเวณไม่เท่ากนั

1. ครูแจกอุปกรณ์การทดลอง เร่ือง ลมมาจากไหน (รายการอุปกรณ์ตามใบกิจกรรม 2.1 เรื่อง ลมมา

จากไหน ได้แก่ 1. ดนิ น้ามัน 2. ดินสอ 3. ขวดน้าดื่ม ขนาดกลาง 600 ml 1 ขวด 4. ธูป 1-2 ก้าน 5. เทียน

ไข 1 เล่ม 6. แก้วพลาสติกขนาดกลาง 1 ใบ พร้อมฝาปิดทมี่ ีรู 7. หลอดดูดนา้ 1 หลอด)

2. นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ เตรียมการทดลองโดย

- ตัดฐานขวดน้าดา้ นล่างออกประมาณ 1 cm

- เจาะรบู ริเวณด้านขา้ งของขวดนา้ และแก้วน้า ในระดับเดียวกนั โดยใหร้ สู งู ประมาณคร่ึงหนึง่ 2

ของความสูงของแก้วนา้

- ตัดธูปใหส้ ัน้ ลง ให้มีความสูงมากกวา่ รูประมาณ 2 - 3 cm แตไ่ ม่ทาใหธ้ ูปสูงจนไหมฝ้ าทใ่ี ช้ปิด

- นาฝาขวดนา้ ไปทาเปน็ ฐานรองเทยี น โดยตัดเทยี นให้มีความสงู ตา่ กว่ารูด้านขา้ งประมาณ 1-2 cm

- ต่อหลอดดดู น้าเข้าระหว่างขวดน้าและแกว้ น้าตรงรูทเ่ี จาะไว้ ไม่ควรใหป้ ลายหลอดอยูใ่ กล้

ปลายเทียนหรือธปู มากนักเพราะอาจเกดิ อนั ตรายได้ เมอ่ื ประดษิ ฐอ์ ปุ กรณเ์ สร็จจะมลี ักษณะดงั นี้

3. เมื่อนักเรยี นจดุ ธปู แต่ยังไม่จดุ เทยี น สังเกตควนั ที่ออกมาจากแกว้ และปลายหลอด รวมถึงลกั ษณะ
การเคลือ่ นทขี่ องควันในแกว้ ด้วย บรรยายลกั ษณะ

4. เมื่อนกั เรียนจุดเทียน จากนน้ั สงั เกตควนั ที่ออกมาจากแก้วและปลายหลอด รวมถงึ ลกั ษณะการเคลื่อนท่ี
ของควนั ในแกว้ ดว้ ย นักเรียนบรรยายลักษณะ

6. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายผล
ข้อควรระวงั : ระวงั อันตรายจากการใชว้ สั ดุเจาะกล่อง อันตรายจากการถกู ธปู จ้ีหรือควนั ธปู อันตราย
จากเปลวไฟเทียน นา้ ตาเทียน

2

ขน้ั ที่ 4 การสังเกตและบรรยาย 20 นาที

นักเรียนบรรยายสิ่งที่ตนเองได้ทดลอง (ประเด็นที่ควรสังเกต ได้แก่ ทิศทางและลักษณะการเคลื่อนที่ของควันธูป

ก่อน - หลังทาการจุดเทียน ซึ่งควรสังเกตทั้งสองฝ่ังหากเป็นไปได้ควรทาการวัดอุณหภูมิด้วยเทอร์มอมิเตอร์

ของอุณหภมู อิ ากาศภายในภาชนะทั้งสองฝ่งั ทง้ั กอ่ น ระหว่างและหลงั ทาการจุดเทยี น )

1. ในระหว่างการทดลองนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสังเกตและบรรยายถึงปรากฏการณ์ที่ทาการ 2
ทดลองจากกจิ กรรมเรอื่ ง ลมมาจากไหน โดยครูอาจกระตนุ้ ดว้ ยการใชค้ าถามตอ่ ไปน้ี

- ควันมีการเคล่ือนท่ีอย่างไรก่อนจุดเทียนไข (เน้นให้นักเรียนสังเกตบริเวณปลายหลอด
ท้งั สองข้าง)

- ควันมีการเคล่ือนท่ีอย่างไรหลังจุดเทียนไข (เน้นให้นักเรียนสังเกตบริเวณปลายหลอด
ทัง้ สองข้าง)

- ควันภายในแกว้ นา้ มีการเคลอ่ื นทีอ่ ย่างไร
- อุณหภูมิภายในภาชนะทั้งสองเป็นอย่างไร (หากสามารถนาเทอร์มอมิเตอร์มาให้นักเรียน
วดั อณุ หภมู ขิ องอากาศภายในภาชนะทง้ั สองไดจ้ ะดีมาก หรอื ให้นกั เรียนลองใช้มือสัมผสั ขวดท่คี รอบเทียน
แตอ่ ยา่ นานเพราะขวดร้อนมาก)

ขัน้ ที่ 5 บนั ทกึ ข้อมลู 10 นาที

นักเรียนรายงานผลการทดลอง เชน่ การเคลื่อนที่ของควันธูป อุณหภูมิ และการเกิดลม

1. นกั เรียนบันทกึ ผลการทดลองในใบกจิ กรรมท่ี 2.1 ลมมาจากไหน รวมทง้ั บันทกึ ผลการสังเกต

ปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึน เช่น การเคล่ือนที่ของควันธูป อุณหภูมิ และทิศทางการเกิดลม โดยนักเรียนสามารถ

บนั ทึกผลการทดลองด้วยการใช้แผนภาพ หรือการเขยี นบรรยายเพมิ่ เติมจากใบกจิ กรรมได้

2. ครูถามกระตุ้นให้นักเรียนสงั เกตและบันทึกผลการทดลอง เชน่ อุณหภมู ิ ณ จดุ ที่ลมเคลอ่ื นท่ี

เปน็ อย่างไร ใหน้ ักเรียนบันทกึ อณุ หภมู ิ ณ ตาแหน่งต่างๆ ท่ีลมเคลอื่ นที่ผ่าน แล้วสังเกตทิศการเคล่ือนที่ของลม

วา่ มกี ารเคลอ่ื นทจ่ี ากบรเิ วณทีม่ อี ุณหภูมิแตกตา่ งกันอย่างไร

ขั้นที่ 6 อภิปรายผล 10 นาที

นักเรยี นบนั ทกึ ผลการทดลอง เพ่ือแสดงให้เห็นว่าอุณหภมู ิท่ีแตกต่างกันทาให้เกิดการเคลื่อนทีข่ องอากาศหรือลม

1. หลังจากทากจิ กรรมการทดลอง นกั เรยี นแต่ละกล่มุ ร่วมกนั อภิปรายถึงปจั จัยที่เกยี่ วข้องกับการเกดิ ลม

และทิศทางของลม โดยครูอาจกระตนุ้ ดว้ ยการใช้คาถามตอ่ ไปนี้

- ควนั ธูปมีทิศทางการเคลอ่ื นที่อย่างไร

- ลมเกิดขึน้ ได้อย่างไร

- ปจั จยั ใดบา้ งที่เกยี่ วขอ้ งกับทิศทางของลม

2. ตวั แทนนกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มเล่าใหเ้ พอ่ื นฟังเกี่ยวกบั ปจั จยั ท่เี ก่ียวขอ้ งกบั การเกิดลมและทิศทางของลม

3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการเกิดลมในธรรมชาติ โดยลมคือ

อากาศท่ีเคลื่อนท่ี เกิดจากความแตกต่างกันของอุณหภูมิอากาศบริเวณท่ีอยู่ใกล้กัน โดยอากาศที่มีอุณหภูมิสูง

จะลอยตัวสงู ขึ้น และอากาศบริเวณตา่ กวา่ จะเคลือ่ นทเ่ี ขา้ ไปแทนที่

3

การประเมินผลโดยคานงึ ถงึ ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล
การประเมินผลย่อย

ครสู ามารถประเมนิ ความรขู้ องนักเรียนไดจ้ ากการทากิจกรรม การสังเกตการเกิดลมและทิศทางของลม
การตอบคาถามของนักเรยี น การเสนอแนวคิดและการแก้ปัญหาระหวา่ งการทากจิ กรรม และการสรุปแนวคดิ หลัก
ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล

ในกิจกรรมกลมุ่ การแบง่ กลมุ่ จะคละความสามารถของนกั เรียน เพ่อื ให้นักเรียนเก่งสามารถชว่ ย
นกั เรยี นทเี่ รยี นอ่อนกวา่ ได้

การเตรยี มตัวสาหรับบทเรยี น 2

สอื่ การเรียนการสอนท่ีใช้ 3. ขวดน้า
1. รายการอปุ กรณต์ ามใบกิจกรรมที่ 2.1 ได้แก่ 6. แก้วพลาสติก
1. ดนิ นา้ มนั 2. ดินสอ
4. ธปู 5. เทยี น
7. หลอดพลาสตกิ ใส
2. สาลกี อ้ น
3. ใบกจิ กรรม 2.1 ลมมาจากไหน

เคร่อื งมือท่ใี ช้
ต้ังคาถามเกยี่ วกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ

- สาลีก้อน
- ดา้ ย/เชอื ก สาหรับผกู ก้อนสาลี
รวบรวมความคิดและขอ้ สันนษิ ฐาน
- ไม่มี
ทดสอบและปฏบิ ตั ิการสบื เสาะ
- รายการอุปกรณ์ในใบกิจกรรม 2.1 เรอ่ื ง ลมมาจากไหน
การสังเกตและบรรยาย
- ไม่มี
บันทึกขอ้ มูล
- ไมม่ ี
อภิปรายผล
- ไมม่ ี

4

ชอ่ื -สกุล_________________________________________ ชน้ั _______________________

ใบกจิ กรรม 2.1 เรอ่ื ง ลมมาจากไหน
จุดประสงค์

นักเรียนสามารถทดลองและอธิบายการเกิดลมจากหลกั ฐานเชิงประจักษ์

วสั ดุอุปกรณ์และสือ่ การเรยี นรู้ 2
1. ดนิ นา้ มัน
2. ดนิ สอ 3 4 5
3. ขวดน้า w tt
4. ธปู 2
5. เทยี น tt
6. แกว้ พลาสตกิ
7. หลอดพลาสติกใส

1
tt

67
tt

1

วิธีการประดิษฐ์ 2 2
tt
1
tt 4
t
3
tt

5 B
tt tt

A
tt

2

บนั ทึกการทดลอง สงั เกตควนั
ให้ใสเ่ ครอ่ื งหมาย  ลงในตารางบนั ทกึ ผลการทดลอง
ด้าน B
การทดลอง

ดา้ น A

AB
tt tt

2

จดุ ธปู

AB
tt tt

จุดเทียน + จุดธปู

สรุปผลการทดลอง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3

บทนำ ประดิษฐ์เครื่องยิงกระสุนจากหนังยาง การทา
กิจกรรมน้ีนักเรียนจะได้เรียนรู้เก่ียวกับแรงผลัก
ทีมนักประดษิ ฐ์น้อยมีภารกิจสาคัญ แรงดึง และทักษะการคิดขั้นสูงในการแก้ปัญหา
ในการสร้างและประดิษฐ์ของเล่นให้กับเพื่อนๆ สาหรบั ใช้ในการแขง่ ขันยิงกระสุนวิถีไกล
ของเล่นที่ประดษิ ฐ์จากวัสดุทีห่ าง่ายในท้องถิ่น
โดยทีมนักประดิษฐ์น้อยรว่ มกันระดมความคิด แผนกำรจดั กำรเรียนร้ท่ี 2 ใช้เวลาในการ
ออกแบบของเล่นที่ทาจากหนังยาง เป็นเคร่ืองยิ่ง จัดการเรยี นรู้ 2 ช่ัวโมง ทมี นกั ประดิษฐ์น้อยรว่ มกนั
กระสนุ สาหรับใชใ้ นการจดั การแขง่ ขนั ระหวา่ ง ประดิษฐ์ม้าหมุนแสนกลจากหนังยางและแก้ว
กลุ่ม และประดิษฐ์ม้าหมนุ แสนกล เพื่อนๆ จะได้ พลาสติก การทากิจกรรมนี้นักเรียนรู้เกี่ยวกับแรง
เรียนรู้เก่ียวกับแรง และผลของแรง และผลของแรงต่อการเคล่ือนท่ี และทักษะการคิด
ขนั้ สงู สาหรบั ใชใ้ นการแขง่ ขันมา้ หมนุ แสนกล
แผนกำรจดั กำรเรยี นรท้ ี่ 1 ใชเ้ วลาในการ
จดั การเรยี นรู้ 3 ชัว่ โมง ทีมนักประดิษฐน์ ้อยร่วมกัน สนุกกบั แรง

หวั ข้อ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 3

ระดับช้ัน 5 ชั่วโมง

เวลำ

แนวคดิ หลัก
การออกแรงกระทาต่อวตั ถุมีผลทาใหว้ ัตถุเกิดการเคลื่อนท่ีหรอื ไมเ่ คล่อื นที่ วัตถเุ กดิ การเปล่ยี นรูปรา่ ง

หรือไมเ่ ปล่ียนแปลงรูปร่าง ข้นึ อยู่กับขนาดของแรงและชนดิ ของแรง

มำตรฐำนและตัวชี้วดั
สำระที่ 2 วทิ ยำศำสตรก์ ำยภำพ
มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุ ลักษณะการเคล่ือนท่ี
แบบต่างๆ ของวตั ถุ รวมท้ังนาความร้ไู ปใช้ประโยชน์
ตัวช้วี ดั ว 2.2 ป.3/1 ระบุผลของแรงทม่ี ตี อ่ การเปลีย่ นแปลงการเคลอื่ นทีข่ องวัตถจุ ากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์

ว 2.2 ป.3/2 เปรียบเทียบ และยกตวั อยา่ งแรงสมั ผัส และแรงไม่สัมผัสท่มี ีผลต่อการเคลือ่ นที่ของวตั ถุ
โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์

ควำมเขำ้ ใจทย่ี ัง่ ยนื
นกั เรียนเขา้ ใจว่า 1. ขนาดของแรงท่กี ระทาตอ่ วตั ถุมีผลทาให้วัตถุเกิดการเคลื่อนท่ี หรอื ไมเ่ คลื่อนที่

2. ขนาดของแรงที่กระทาต่อวัตถุมีผลทาให้วัตถุเกดิ การเปล่ียนแปลงรูปร่าง หรือไม่เปล่ียนแปลง
รูปรา่ ง

คำถำมสำคญั
วัตถุเคลือ่ นทไี่ ด้อยา่ งไร

ควำมรแ้ ละทักษะทน่ี ักเรียนไดร้ บั

1

ควำมร้
คำสำคญั : แรง, แรงผลกั , แรงดึง, การบีบ, การทุบ, การบดิ , การดดั , การเคลอื่ นที่, การเปล่ียนตาแหนง่

ทกั ษะ
การตง้ั คาถาม การสังเกต การวางแผน
การสารวจตรวจสอบเก่ียวกับแรงและผลของแรง
การทางานกลมุ่

เจตคติ
การให้ความรว่ มมือในการทางานกลมุ่
เจตคติท่ีดีตอ่ การเรยี นวทิ ยาศาสตร์

หลกั ฐำนกำรเรียนร้

ภำระงำน นักเรียนประดิษฐเ์ ครื่องยิงลูกกระสุน และมา้ หมุนแสนกล

หลักฐำนกำรเรยี นร้อืน่ ๆ โดยคำนงึ ถงึ ควำมแตกต่ำงของผเ้ รยี น
1. การทางานเป็นกลุม่
2. สงั เกตการตอบคาถาม การทากิจกรรมของนักเรียน
3. ชิ้นงานการประดิษฐ์เครอื่ งยงิ ลูกกระสนุ ของแตล่ ะคน

กำรประเมินตนเอง
การประเมนิ ตนเองจากการทากิจกรรมกลุ่ม
การประเมินชนิ้ งานของตนเอง

กจิ กรรมกำรเรียนร้
แผนกำรเรยี นรท้ ่ี 1 : ประดษิ ฐ์เครือ่ งยงิ กระสุน

ขน้ั กิจกรรม เวลำ
15 นาที
ตัง้ คำถำมเกี่ยวกับ ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับสงครามสมัยโบราณ
15 นาที
ปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติ ก่อนที่จะมีปืนใหญ่ จะใช้วิธีการใดในการขว้างก้อนหิน 90 นาที
30 นาที
เพ่ือทาลายกาแพงของศัตรู ปัจจัยใดบ้างท่ีทาให้สามารถยิงก้อน 15 นาที
15 นาที
หินไดไ้ กลทีส่ ดุ

รวบรวมควำมคิด นกั เรียนรวบรวมความคิด ตงั้ ข้อสนั นษิ ฐานเกี่ยวกบั แรงที่กระทา

และขอ้ สันนิษฐำน ต่อวัตถุ

ทดสอบและปฏบิ ตั กิ ำร นักเรียนศึกษาผลของแรง จากการประดิษฐ์และทดลอง

สบื เสำะ ใชเ้ คร่ืองยิงกระสนุ

กำรสังเกตและบรรยำย นักเรียนบรรยายส่ิงที่ตนเองได้ทดลอง ประดิษฐ์และใช้เครื่องยิง

กระสนุ เปรยี บเทยี บการยิงระยะใกล้และระยะไกล

บนั ทกึ ข้อมล นักเรยี นบันทึกผลการทดลอง เช่น ตอ้ งประดิษฐ์เครือ่ งยิงกระสุน

อยา่ งไรใหย้ งิ ไดไ้ กลทส่ี ดุ

อภปิ รำยผล นกั เรยี นและครูร่วมกันอภิปรายผลของแรงที่กระทาตอ่ วัตถุ

ทาให้วัตถุเกดิ การเคลอื่ นที่ ข้นึ อยกู่ ับขนาดของแรง

2

แผนกำรเรยี นร้ท่ี 2 : ม้าหมนุ แสนกล

ขนั้ กจิ กรรม เวลำ
10 นาที
ตัง้ คำถำมเกยี่ วกบั นักเรียนอภิปรายผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุ เช่น การเล่นม้าหมุน
10 นาที
ปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติ ในสนามเด็กเล่น นักเรียนต้องออกแรงกระทาอย่างไร ปัจจัยใด 60 นาที
20 นาที
บ้างทม่ี ผี ลต่อความเร็วของม้าหมุน
10 นาที
รวบรวมควำมคิด นกั เรียนรวบรวมความคดิ ตง้ั ข้อสันนิษฐานเก่ียวกับแรงที่กระทา 10 นาที

และข้อสนั นิษฐำน ต่อวัตถชุ นิดตา่ งๆ

ทดสอบและปฏบิ ัติกำร นักเรียนศึกษาผลของแรง จากการประดิษฐ์และทดลอง

สบื เสำะ เร่ืองมา้ หมนุ แสนกล

กำรสังเกตและบรรยำย นักเรียนบรรยายส่ิงที่ตนเองได้ทดลอง ประดิษฐ์ม้าหมุนแสนกล

เกย่ี วกบั ปัจจัยทเ่ี กีย่ วข้องกับความสมารถในการหมนุ ของม้าหมุน

แสนกล

บันทึกขอ้ มล นักเรียนบันทึกผลการทดลอง เช่น ปัจจัยท่ีเก่ียวข้อง

กั บ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ห มุ น ข อ ง ม้ า ห มุ น แ ส น ก ล

อภิปรำยผล นกั เรียนและครูร่วมกันอภปิ รายถึงแรงชนดิ อน่ื ๆ ที่กระทาต่อวัตถุ

เชน่ แรงกด แรงบิด เป็นตน้

3

สนกุ กับแรง

แผนการจััดการเรัยนรัูทั่ 1ั:ัประดิษฐ์เคร่ืองยิงกระสุน

บทนา

ทีมนักประดิษฐ์น้อย มีภารกิจสาคัญ แผนการจัดการเรยนรูท่ั1 ใช้เวลาใน

ในการสร้าง และประดิษฐ์ของเล่นให้กับเพื่อนๆ การจัดการเรียนรู้ 3 ชั่วโมง ทีมนักประดิษฐ์น้อย
ของเล่นท่ีประดิษฐ์จากวัสดุที่หาง่ายในท้องถ่ิน รว่ มกันประดษิ ฐเ์ คร่ืองยงิ กระสนุ จากหนงั ยาง การ

โดยทีมนักประดิษฐ์น้อยร่วมกันระดมความคิด ทากิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้เก่ียวกับแรง
ออกแบบของเล่นท่ีทาจากหนังยาง เป็นเคร่ืองย่ิง ผลัก แรงดึง และทักษะการคิดข้ันสูงในการ

กระสุนสาหรบั ใช้ในการจัดการแขง่ ขนั ระหว่างกลุ่ม แก้ปัญหา สาหรับใช้ในการแข่งขันยิงกระสุนวิถี
เพอ่ื นๆ จะได้เรยี นรูเ้ กี่ยวกับแรงและผลของแรง ไกล

คาศพั ท์ 1
แรง, แรงผลกั , แรงดึง

จดุ ประสงค์การเรยนรู
นักเรียนสามารถ

1. สงั เกตและอภปิ รายผลของแรงทกี่ ระทาตอ่ วัตถุได้
2. ทาการทดลอง และนาเสนอผลของการออกแรงดึงหรือผลกั วัตถุได้
3. ทางานรว่ มกับสมาชกิ ในกล่มุ ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

กิจกรรมการเรยนรู ัััััััััั180 นาท

ตั้งคาถามเก่ยวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ ัั15 นาท

ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับสงครามสมัยโบราณ ก่อนท่ีจะมีปืนใหญ่จะใช้วิธีการใดในการขว้าง

กอ้ นหินเพือ่ ทาลายกาแพงของศัตรู ปจั จยั ใดบ้างที่ทาให้สามารถยิงก้อนหนิ ไดไ้ กลท่สี ุด

1. แบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ 4 - 5 คน โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล และให้นักเรียน

ช่วยกันจัดโต๊ะเป็นกลุ่มด้วยการยกโต๊ะและเก้าอ้ชี ่วยกันภายในกลุ่มของตัวเอง หลังจากการจัดโต๊ะเรียบร้อย

แลว้ นกั เรยี นร่วมกนั อภปิ รายเกี่ยวกับความสามารถในการยกโตะ๊ และเก้าอีข้ องนักเรียน

2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับสงครามสมัยโบราณ ก่อนที่จะมีปืนใหญ่ จะใช้วิธีการใด

ในการขว้างก้อนหินเพ่อื ทาลายกาแพงของศัตรู ปจั จัยใดบ้างท่ที าใหส้ ามารถยิงก้อนหนิ ไดไ้ กลทสี่ ดุ

1

รวบรวมความคิดและขอสนั นิษฐาน ั15 นาท

นกั เรียนรวบรวมความคิด ตั้งขอ้ สันนิษฐานเกีย่ วกบั แรงท่กี ระทาตอ่ วัตถุ

1. ครูนาเครื่องยิงลูกกระสุนมาวางหน้าห้องเรียน แล้วให้ตัวแทนนักเรียนมาทดลองยิงกระสุน

จากเครอื่ งยิงกระสุน

2. นกั เรียนสงั เกตการเคลอ่ี นทขี่ องลูกกระสนุ และการทางานของเคร่ืองยงิ กระสนุ

3. ครูกระตุน้ ใหน้ ักเรยี นต้ังขอ้ สันนิษฐานเกี่ยวกับปัจจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับความสามารถในการยงิ กระสุน

ของเครื่องยงิ ลูกกระสุนใหไ้ ด้ระยะทางไกลทส่ี ุด

ทดสอบและปฏิบัตกิ ารสบื เสาะ ั90ัันาท

นักเรียนศึกษาผลของแรงจากการประดิษฐ์ และทดลองใช้เครื่องยงิ กระสนุ

1. ครูแจกอปุ กรณ์การประดิษฐ์เครอ่ื งยงิ กระสุนให้นักเรียนแตล่ ะคน (รายการอปุ กรณ์ตามใบกิจกรรม 1.1)

2. นักเรียนแต่ละคนประดิษฐ์เคร่ืองยิงกระสุนพร้อมกับทดสอบการทางาน โดยให้เคร่ืองยิงกระสุน

สามารถยิงกระสุนไกลทส่ี ุด

3. นักเรยี นร่วมกนั ระดมความคดิ ในการพฒั นาเครื่องยิงกระสุนใหส้ ามารถยงิ กระสนุ ได้ระยะไกลทส่ี ุด 1

4. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันออกแบบเครื่องยิงกระสุนตามกิจกรรม 1.2 เพื่อเพิ่มความสามารถ

ในการยิงกระสุนใหไ้ ด้ระยะไกลทส่ี ุด สาหรับการแขง่ ขนั ยิงกระสนุ ระยะไกล

5. ครูและนักเรียนร่วมกันจัดการแข่งขันยิงกระสุน โดยใช้เครื่องยิงกระสุนท่ีนักเรียนแต่ละกลุ่ม

รว่ มกนั ประดิษฐข์ ึ้น

กตกิ าการแข่งขัน : นกั เรยี นกลมุ่ ไหนสามารถยิงกระสนุ ไดไ้ กลทส่ี ุดเปน็ ผู้ชนะ

การสงั เกตและบรรยาย ั30ัันาท

นักเรียนบรรยายสิ่งที่ตนเองได้ทดลอง ประดิษฐ์และใช้เครื่องยิงกระสุน เปรียบเทียบการยิงระยะใกล้

และระยะไกล

1. ในระหว่างการทดลองนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสังเกต และอภิปรายถึงปัจจัยที่มีผล

ตอ่ ความสามารถในการยิงกระสนุ ของเครื่องยงิ กระสุน โดยครอู าจกระตุ้นด้วยการใช้คาถามตอ่ ไปนี้

- เครือ่ งยงิ กระสุนสามารถยิงกระสุนไดอ้ ย่างไร

- เครอื่ งยิงกระสุนสามารถยงิ กระสนุ ไดไ้ กลเทา่ ไหร่

- ทาอย่างไรจึงจะทาใหเ้ ครือ่ งยงิ กระสุนยงิ กระสนุ ได้ไกลขนึ้

- เครื่องยิงกระสุนออกแรงกระทาตอ่ ลกู กระสุนอย่างไร

2. ในระหว่างการแข่งขันนักเรยี นสงั เกตทีมท่ีชนะ หรอื ทมี ท่สี ามารถยงิ กระสนุ ไดไ้ กล ลกั ษณะพิเศษ

ของเคร่ืองยงิ กระสุนมอี ะไรบ้าง ถ้านกั เรียนจะพัฒนาเครอื่ งยงิ กระสนุ ของนกั เรยี นจะต้องทาอยา่ งไรบ้าง

บันทกึ ขอมูล 15ัันาท

นกั เรียนบันทกึ ผลการทดลอง เชน่ ต้องประดิษฐ์เคร่ืองยิงกระสุนอย่างไรให้ยงิ ไดไ้ กลทีส่ ดุ

นักเรียนบันทึกผลการทดลองในการประดิษฐ์เคร่ืองยิงกระสุนในใบกิจกรรม 1.1 โดยบันทึกระยะ

ตกไกลของกระสุน โดยให้ออกแรงดึง 2 ระดับ (ดงึ น้อย/ ดงึ มาก)

2

อภิปรายผล ััััััััั 15ัันาท

นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลของแรงท่ีกระทาต่อวัตถุ ทาให้วัตถุเกิดการเคลื่อนท่ี ข้ึนอยู่กับขนาดของ

แรง

1. หลังจากทากิจกรรมการทดลอง นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายถึงปัจจัยท่ีเก่ียวข้อง

กับความสามารถในการยงิ กระสนุ ของเคร่ืองยงิ กระสนุ โดยครอู าจกระตุ้นดว้ ยการใช้คาถามตอ่ ไปน้ี

- เคร่อื งยงิ กระสนุ แบบไหนท่ีสามารถยิงกระสุนไดไ้ กล

- เครือ่ งยิงกระสุนออกแรงกระทาต่อลูกกระสุนหรือไม่ อย่างไร

- ขนาดของเคร่อื งยิงกระสนุ มผี ลต่อแรงผลกั ลกู กระสนุ อย่างไร

2. ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มเล่าให้เพ่ือนฟังเก่ียวกับปัจจัยท่ีเก่ียวข้องกับความสามารถในการยิง

กระสุนของเครื่องยิงกระสุน

3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับแรงท่ีเกี่ยวข้องในการทางานของเคร่ืองยิงกระสุน

เช่น แรงผลัก แรงดึงมีผลอยา่ งไร เกิดขึน้ ในขั้นตอนไหน เปน็ ตน้

การประเมินผลโดยคานึงถงึ ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล ััััััััั 1

การประเมนิ ผลย่อย

ครูสามารถประเมินความรู้ของนักเรียนได้จากการประดิษฐ์เคร่ืองยิงกระสุนของนักเรียนแต่ละคน

และการตอบคาถามเกี่ยวกับการทางานและการเพิ่มประสิทธิภาพการทางานของเคร่ืองยิงกระสุน และการ

อภปิ รายผลของแรงทกี่ ระทาตอ่ วตั ถุ

ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล

ในกิจกรรมกลุ่ม การแบ่งกลุ่มจะคละความสามารถของนักเรียน เพ่ือให้นักเรียนเก่งสามารถช่วย

นกั เรียนทเ่ี รยี นออ่ นกวา่ ได้

การเตรยมตัวสาหรบั บทเรยน

สื่อการเรยนการสอนท่ใช
1. ลูกบอล
2. เครอ่ื งยงิ กระสุน

3. ใบกิจกรรม 1.1 การประดษิ ฐ์เคร่ืองยงิ กระสนุ
4. ใบกิจกรรม 1.2 เครอื่ งยงิ กระสนุ ระยะไกล

เคร่ืองมอื ท่ใช
ตั้งคาถามเก่ยวกบั ปรากฎการณธ์ รรมชาติ

- ลูกบอล
- โตะ๊ เรียน เกา้ อี้

รวบรวมความคิดและขอสนั นิษฐาน
- เครอื่ งยงิ กระสุน

ทดสอบและปฏิบัติการสบื เสาะ

- เครื่องยิงกระสุน

3

- ใบกจิ กรรม 1.1 การประดษิ ฐเ์ ครอื่ งยิงกระสนุ 1
- ใบกิจกรรม 1.2 เครอ่ื งยิงกระสุนระยะไกล
การสังเกตและบรรยาย
- ไม่มี
บนั ทึกขอมูล
- ใบกจิ กรรม 1.1 การประดษิ ฐเ์ ครอ่ื งยงิ กระสุน
อภิปรายผล
- ไมม่ ี

4

ชอ่ื -สกลุ _____________________________________ ช้ัน ______________________ 1
ใบกิจกรรม 1.1 เรือ่ ง ประดิษฐ์เครื่องยงิ กระสนุ

จุดประสงค์
นักเรียนสามารถ
1. สงั เกตและอภิปรายผลของแรงท่ีกระทาตอ่ วัตถุได้
2. ทาการทดลองและนาเสนอผลของการออกแรงดงึ หรอื ผลักวัตถุได้

วสั ดุอปุ กรณ์และส่ือการเรยี นรู้
1. ฐาน
2. ไม้ไอศกรมี
3. ดินสอ
4. ยางวงใหญ่
5. ฝาขวดนาอัดลม
6. ดนิ นามัน
7. เทปกาว

7

1

วธิ ีการประดษิ ฐ์

12

1

34

บันทกึ การทดลอง ระยะตก
ใหใ้ ส่เครอ่ื งหมาย  ลงในตารางบนั ทกึ ผลการทดลอง
แรงดงึ ใกล้ ไกล

นอ้ ย
มาก

2

ชอื่ -สกลุ ________________________________________ ชน้ั _______________________ 1
ใบกจิ กรรม 1.2 เร่อื ง เครื่องยิงกระสุนระยะไกล

จดุ ประสงค์
นักเรยี นสามารถ
1. สงั เกตและอภิปรายผลของแรงทีก่ ระทาต่อวตั ถุได้
2. ทาการทดลองและนาเสนอผลของการออกแรงดึงหรอื ผลกั วตั ถุได้

วัสดุอุปกรณ์และสื่อการเรียนรู้
1. ไมต้ ะเกียบ
2. ยางวงเล็ก
3. ชอ้ นพลาสตกิ

12

3

3

วิธีการประดษิ ฐ์

1 2

34

1

5

4

สนุกกบั แรง แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 ใช้เวลาในการ
จดั การเรียนรู้ 2 ชว่ั โมง ทมี นกั ประดษิ ฐ์นอ้ ยรว่ มกนั
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 : ม้าหมนุ แสนกล ประดิษฐ์ม้าหมุนแสนกล จากหนังยางและแก้ว

บทนา พลาสติก การทากิจกรรมนี้นักเรียนรู้เกี่ยวกับแรง
ผลของแรงต่อการเคลอื่ นที่ และทกั ษะการคดิ ข้ันสงู
ทีมนักประดิษฐ์น้อย มีภารกิจสาคัญ
ในการสร้างและประดษิ ฐ์ของเล่นให้กับเพือ่ นๆ สาหรับใช้ในการแข่งขันม้าหมุนแสนกล
ของเล่นที่ประดิษฐ์จากวสั ดุที่หาง่ายในท้องถิน่
โดยทีมนักประดิษฐ์น้อยร่วมกันระดมความคิด
ออกแบบของเล่นที่ทาจากหนงั ยาง เป็นเครื่อง
ยิ่งกระสุนสาหรบั ใช้ในการจัดการแข่งขันระหว่าง
กลมุ่ เพือ่ นๆ จะไดเ้ รยี นรู้เก่ยี วกบั แรงและผลของแรง

คาศพั ท์ 2
แรง , แรงทก่ี ระทาต่อวตั ถุ , แรงบิด , แรงกด
120 นาที
จุดประสงค์การเรียนรู้
นกั เรียนสามารถ :

1. ทดลองเก่ยี วกบั แรงทก่ี ระทาตอ่ วัตถุ
2. บนั ทึกผลการทดลองเกย่ี วกบั แรงทีก่ ระทาต่อวตั ถุ
3. อธิบายผลของแรงท่ีกระทาต่อวตั ถุ

กจิ กรรมการเรียนรู้

ขนั้ ที่ 1 ตง้ั คาถามเกี่ยวกบั ปรากฏการณธ์ รรมชาติ 15 นาที

นกั เรียนอภิปรายผลของแรงทกี่ ระทาตอ่ วตั ถุ เชน่ การเล่นมา้ หมนุ ในสนามเดก็ เล่น นกั เรียนต้องออกแรง

กระทาอย่างไร ปัจจัยใดบา้ งทม่ี ีผลต่อความเร็วของมา้ หมุน

1. ครูนานักเรียนเข้าสู่บทบาทนักประดิษฐ์น้อย ท่ีมีภารกิจในการประดิษฐ์ของเล่นให้กับเพ่ือนๆ
แต่ก่อนท่ีจะปฏิบัติภารกิจ ให้ทีมนักประดิษฐ์น้อยทาความเข้าใจเกี่ยวกับแรง โดยทาการการทดลอง
ตามอุปกรณ์ท่ีครูไดจ้ ดั เตรียมไวใ้ ห้ ดงั นี้

- การบบี ฟองนา้
- การกดดนิ นา้ มนั

- การดัดเสน้ ลวด
- การดงึ หนังยาง
2. ครถู ามนกั เรียนวา่ เมื่อนักเรียนทาการทดลองตามหัวข้อดังกลา่ ว วัตถเุ กิดการเปลี่ยนแปลงอยา่ งไร

3. นักเรียนอภิปรายผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุ เช่น การเล่นม้าหมุน ในสนามเด็กเล่น นักเรียนต้อง
ออกแรงกระทาอย่างไร ปัจจัยใดบา้ งทม่ี ีผลต่อความเร็วของม้าหมนุ

1

ขั้นที่ 2 รวบรวมความคดิ และข้อสนั นษิ ฐาน 10 นาที

นกั เรียนศึกษาผลของแรงท่ีกระทาตอ่ วตั ถตุ า่ งๆ

1. ครูนาม้าหมนุ แสนกลมาวางหนา้ หอ้ งเรยี น ให้ตัวแทนนักเรยี นมาทาการหมนุ มา้ หมุนแสนกล จากนน้ั
ใหน้ ักเรยี นสงั เกตการหมนุ ของมา้ หมุนแสนกล

2. นักเรียนตอบคาถาม ดงั น้ี
- เม่อื ทาหมุนม้าหมนุ แสนกล นักเรียนสงั เกตเหน็ อะไรบา้ ง
- นกั เรียนคดิ วา่ มีปัจจยั ใดบ้างท่ีมผี ลต่อการหมุนของม้าหมุนแสนกล
- นักเรียนจะมวี ิธกี ารใดบ้างที่ทาใหม้ ้าหมุนแสนกล หมุนไดเ้ รว็ ท่สี ดุ

3. ครูกระตุ้นใหน้ กั เรียนตงั้ ข้อสันนษิ ฐานเกย่ี วกบั ปจั จยั ทม่ี ีผลตอ่ การหมุนของม้าหมุนแสนกล

ขั้นท่ี 3 ทดสอบและปฏบิ ตั กิ ารสบื เสาะ 60 นาที

นักเรียนในฐานะนกั ประดิษฐ์น้อย ประดิษฐแ์ ละทดลองมา้ หมนุ แสนกล

1. ครเู ตรียมอปุ กรณ์ให้นกั เรยี น ดงั น้ี 2

- ถว้ ยกระดาษเจาะรู 1 ใบ

- หนงั ยาง 5 เส้น

- ลวดเสียบกระดาษ เบอร์ 3 2 อัน

- ฝาขวดนา้ 1 ฝา

- คลิปหนบี กระดาษ ขนาดตา่ งกนั 3 อัน

2. นกั เรียนแต่ละกลุ่มประกอบอุปกรณต์ า่ งๆตามใบกจิ กรรมที่ 2.1

3. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ทดสอบการทางานของม้าหมุนแสนกล โดยใหม้ ้าหมนุ แสนกลหมนุ ได้นานที่สดุ

4. นกั เรียนรว่ มกันระดมความคิดในการพัฒนามา้ หมนุ แสนกลของตนเองให้สามารถหมนุ ได้นานท่สี ดุ

5. นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ ร่วมกันออกแบบมา้ หมุนแสนกลตามกจิ กรรมท่ี 2.1 เพอื่ เพ่ิมความสามารถในการ

หมุนให้นานทสี่ ุด

6. ครูและนักเรียนร่วมกันจัดการแข่งขันการหมุนม้าหมุนแสนกล โดยใช้ม้าหมุนที่นักเรียนแต่ละกลุ่ม

ประดิษฐ์ข้นึ

กติกาการแขง่ ขนั : นกั เรียนกลุ่มไหนสามารถทาให้มา้ หมุนแสนกลหมุนได้นานท่สี ดุ เปน็ ผชู้ นะ

ข้ันท่ี 4 การสังเกตและบรรยาย 20 นาที

นักเรยี นบรรยายส่งิ ทีส่ ังเกตได้จากการประดิษฐ์ และทดสอบการใชง้ านของมา้ หมุนแสนกล

ในระหวา่ งการทดลอง นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ ร่วมกนั สังเกตและอภปิ รายถงึ ปจั จัยทมี่ ีผลต่อความสามารถ

ในการหมุนของมา้ หมุนแสนกล โดยครใู ช้คาถามสาหรบั กระตุ้นการสงั เกตของนักเรยี น ดงั นี้
- มา้ หมุนแสนกลสามารถหมุนไดอ้ ย่างไร
- ทาอย่างไรจึงจะทาใหม้ ้าหมุนแสนกลหมุนได้นานขึน้
- มีอะไรบ้างที่สง่ ผลต่อการหมนุ ของม้าหมุนแสนกล

2

ขน้ั ท่ี 5 บันทกึ ข้อมูล 10 นาที

นักเรยี นบนั ทึกผลการทดลอง การประดษิ ฐ์ม้าหมุนใหห้ มุนได้นานทสี่ ุด

นักเรียนบันทึกผลการทดลองในการประดิษฐ์ม้าหมุนแสนกลในใบกิจกรรมท่ี 2.1 โดยบันทึกความเร็ว
ในการหมนุ และระยะเวลาในการหมุนของม้าหมนุ โดยออกแรงหมุนม้าหมนุ แสนกลจานวน 10 และ 30 รอบ

ข้ันท่ี 6 อภปิ รายผล 10 นาที

นกั เรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลของแรงทก่ี ระทาต่อวัตถุ ทาให้วตั ถเุ กดิ การเคล่ือนท่ี ข้นึ อยูก่ ับขนาดของแรง

1. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการหมุนของม้าหมุนแสนกล 2

โดยครูอาจกระตุ้นด้วยคาถาม ดงั น้ี
- มา้ หมุนแบบใดท่ีสามารถหมนุ ได้เร็วและนานทีส่ ุด

- ปัจจัยอะไรบา้ งทีม่ ผี ลต่อความเร็วและจานวนรอบของการหมุนของมา้ หมุนแสนแกล
2. ครแู ละนักเรียนรว่ มกันอภปิ รายเก่ยี วกับแรงทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับการหมนุ ของมา้ หมุนแสนกล เกดิ ขึน้
ในขั้นตอนใด

การประเมินผลและจาแนกความแตกต่างระหวา่ งผเู้ รยี น

การประเมนิ ผลระหวา่ งเรียน
ถือโอกาสประเมินผลนักเรียนจากการตอบคาถามในระหว่างการจัดการเรียนการสอน การสังเกต

เมอ่ื นักเรยี นทากจิ กรรมกลุม่ โดยครูอาจจะประเมนิ ผลงานของนักเรยี นในใบกจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ 2.1
การจาแนกความแตกต่างระหวา่ งผเู้ รียน

นักเรียนบางกลุ่มอาจจะต้องการความช่วยเหลือหรือสนับสนุนเพ่ิมเติมในทากิจกรรมการทดลอง
ใบกิจกรรมท่ี 2.1 อาจจะต้องการความช่วยเหลือเพ่ิมหรือต้องการการอธิบายเพิ่มในข้ันสังเกตและบรรยาย
และขัน้ อภปิ รายผล

การเตรียมบทเรียน

แหล่งเรยี นรทู้ ตี่ ้องใช้

-
เคร่อื งมอื ทต่ี ้องใช้

ขนั้ ตั้งคาถามเกี่ยวกบั ปรากฏการณ์ธรรมชาติ

- ฟองน้า - ดินน้ามนั - การดดั เสน้ ลวด - หนงั ยาง

ขัน้ รวบรวมความคิดและข้อสันนษิ ฐาน

-

ขนั้ ทดสอบและปฏิบัตกิ ารสบื เสาะ

สาหรบั นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ

- ถ้วยกระดาษเจาะรู 1 ใบ

- หนังยาง 5 เส้น

- ลวดเสียบกระดาษ เบอร์ 3 2 อัน

- ฝาขวดน้า 1 ฝา

3

- คลิปหนีบกระดาษ ขนาดต่างกนั 3 อัน 2
ขั้นสงั เกตและบรรยาย

ไมม่ ี
ขน้ั บันทกึ ข้อมลู

ไมม่ ี
ขัน้ อภปิ รายผล
สาหรบั กลุ่มนกั เรียน 4 – 5 คน : ใบกิจกรรมการเรยี นรู้ท่ี 2.1

4

ชอื่ -สกุล______________________________________ ชัน้ _____________________

ใบกจิ กรรม 2.1 เร่อื ง ม้าหมุนแสนกล

จุดประสงค์

นกั เรยี นสามารถ

1. ประดิษฐ์มา้ หมุนแสนกลได้

2. ทาการทดลองและอธิบายการทางานของมา้ หมนุ แสนกลได้

3. บอกปจั จัยทีม่ ีผลต่อความสามารถในการหมุนของม้าหมุนแสนกลได้

วัสดอุ ุปกรณ์และสื่อการเรียนรู้

1. ถว้ ยกระดาษ 1 ใบ

2. หนงั ยาง 5 เสน้

3. ลวดเสยี บกระดาษ 2 อนั

4. ฝาขวดนา 1 อนั

5. คลปิ หนบี กระดาษขนาดต่างกนั 3 อัน

2

12 3

4
5

วิธีการประดิษฐ์

1. เรมิ่ จากการตดั ถว้ ยกระดาษ ดา้ นขา้ งดังภาพข้างบน สาหรับใช้ในการประกอบกลไกในการหมุน 2
ของม้าหมุนแสนกล
2. เจาะรูตรงกลางฝาขวดและที่ก้นถว้ ยกระดาษสาหรบั ใส่ลวดเสยี บกระดาษ เป็นแขนของม้าหมุนแสนกล
3. ประกอบม้าหมนุ แสนกลดงั ภาพขา้ งบน
4. ทดสอบการทางาน โดยใช้มือหมุนแขนของม้าหมุนแสนกล แล้วปล่อยให้หมุนได้โดยรอบ (ถ้าม้าหมุนไม่หมุน
อาจมสี าเหตมุ าจากขนาดของรฝู าขวด หรือการบิดงอของลวดท่ีใช้ทาแขนมา้ หมนุ )
5. ในการทดสอบการทางาน นกั เรยี นใชม้ อื จับฐานม้าหมนุ แสนกล เพอ่ื ปอ้ งกันไม่ให้ม้าหมนุ ล้ม แลว้ สังเกตการหมุน
ของม้าหมุน

บันทกึ การทดลอง
ให้ใส่เคร่ืองหมาย  ลงในตารางบันทึกผลการทดลอง
จานวนรอบทหี่ มุนมา้ หมุน (รอบ) ระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการหมุนหลงั ปล่อย

ไม่นาน นาน

10

30

จานวนรอบทห่ี มุนมา้ หมุน (รอบ) ความเรว็ ในการหมุน
ชา้ เรว็
10
30

บทนำ ข้อมูลการข้ึน – ตก ของดวงจันทร์การโคจร
รอบโลกของดวงจันทร์ ทากิจกรรมการทดลอง
นั ก เ รี ย น แ ส ด ง บ ท บ า ท ส ม ม ติ เป็ น ที ม เพื่อศึกษาการเปลี่ยน รูปร่างของดวงจันทร์
นักดาราศาสตร์สมัครเล่น ได้รับมอบหมายภารกิจ ในแต่ละวัน และสร้างแบบจาลองพยากรณ์รูปร่าง
ในการศึกษาดวงจันทร์และระบบสุริยะ นักเรียน ของดวงจนั ทร์ นาเสนอตอ่ เพอ่ื นๆ ในช้นั เรยี น
จะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการขึ้น – ตก ของดวงจันทร์
นักเรียนทากิจกรรมศึกษาการเปล่ียนแปลงรูปร่าง แผนกำรจัดกำรเรียนร้ทู ่ี 2 ใช้เวลาในการ
ของดวงจันทร์ และสร้างแบบจาลองท่ีสามารถ จัดการเรียนรู้ 20ช่ัวโมง ทีมนักดาราศาสตร์
พยากรณ์รปู รา่ งของดวงจันทรใ์ นแตล่ ะวัน นกั เรยี น สมัครเล่น มีภารกิจในการศึกษาระบบสุริยะ
ร่วมกันทากิจกรรมสารวจระบบสุริยะ เรียนรู้ โดยทากิจกรรมเพ่ือเรียนรู้เกี่ยวกับคาบการโคจร
เกยี่ วกับคาบการเคลื่อนท่ขี องดาวเคราะห์ในระบบ ของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ แล้วเขียนรายงาน
สรุ ิยะ นาเสนอต่อเพื่อนๆ ในชั้นเรียน กิจกรรมนี้นักเรียน
จะได้เรียนรู้เก่ียวกับองค์ประกอบของระบบสุริยะ
แผน กำรจัดกำรเรียนรู้ท่ี 1 ใช้เวลา และคาบการโคจรของดาวเคราะหใ์ นระบบสุรยิ ะ
ในการจัดการเรียนรู้ 20ชั่วโมง ทีมนักดาราศาสตร์
สมัครเล่นมีภารกิจต้องศึกษาดวงจันทร์ โดยศึกษา เทห์ฟากฟา้

หัวข้อ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4

ระดับชัน้ 4 ช่ัวโมง

เวลำ

แนวคดิ หลกั

ดวงจันทร์เป็นบริวารของโลก โดยดวงจันทร์หมุนรอบตัวเองขณะโคจรรอบโลก การหมุนรอบตัวเอง
ของโลกในทิศทวนเข็มนาฬิกาเมื่อมองจากขั้วโลกเหนือ ทาให้คนบนโลกมองเห็นดวงจันทร์ขึ้นด้านทิศ
ตะวันออกและตกด้านทิศตะวันตกเป็นรูปแบบซ้าๆ และคนยังเห็นรูปร่างของดวงจันทร์เปล่ียนไปเนื่องจาก
ตาแหน่งของดวงจันทร์ในแต่ละวันขณะโคจรรอบโลกเปลี่ยนไป โดยโลกของเราอยู่ในระบบสุริยะที่มี
องคป์ ระกอบ ดาวเคราะห์ ดาวเคราะหน์ อ้ ย ดาวหาง และวัตถเุ ลก็ อืน่ ๆ ทีโ่ คจรรอบดวงอาทติ ย์

มำตรฐำนและตัวช้วี ัด

สำระท่ี 3 วทิ ยำศำสตรโ์ ลก และอวกำศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เขา้ ใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และววิ ฒั นาการของเอกภพ กาแล็กซี
ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยอี วกาศ
ตวั ชว้ี ัด ว 3.1 ป.4/1 อธบิ ายรูปแบบเส้นทางการข้ึนและตก ของดวงจันทร์ โดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์

ว.3.1 ป.4/2 สรา้ งแบบจาลองทอี่ ธิบายรูปแบบ การเปลย่ี นแปลงรูปรา่ งปรากฏของดวงจนั ทร์ และ
พยากรณ์รปู รา่ งปรากฏของดวงจนั ทร์

ว.3.1 ป.4/3 สร้างแบบจาลองแสดงองค์ประกอบของระบบสรุ ิยะ และอธบิ ายเปรียบเทยี บคาบ
การโคจรของดาวเคราะห์ต่างๆ จากแบบจาลอง

1

ควำมเข้ำใจทีย่ ่งั ยนื
นักเรียนเข้าใจว่า
1. ดวงจันทร์หมุนรอบตัวเองขณะโคจรรอบโลก การหมุนรอบตัวเองของโลกในทิศทวนเข็มนาฬิกา

เมอื่ มองจากขวั้ โลกเหนือ ทาใหค้ นบนโลกมองเหน็ ดวงจนั ทร์ขนึ้ ดา้ นทศิ ตะวันออกและตกด้านทิศตะวันตก
2. รูปร่างของดวงจันทร์เปลี่ยนไปเนื่องจากตาแหน่งของดวงจันทร์ในแต่ละวันขณะโคจรรอบโลก

เปลยี่ นไป ทาให้คนบนโลกมองเห็นแสงสะทอ้ นทีผ่ ิวดวงจนั ทร์เปลยี่ นไป
3. บริวารของระบบสุริยะจะมีคาบการโคจรรอบดวงอาทิตย์แตกต่างกัน เน่ืองจากมีระยะห่างจาก

ดวงอาทิตยไ์ มเ่ ท่ากัน

คำสำคญั
ดวงจันทร์, การหมนุ , การโคจร, ดีถดี วงจันทร์, ระบบสุริยะ, คาบ

ควำมรู้และทักษะท่นี ักเรียนได้รับ
ควำมรู้

คำสำคญั : ดวงจนั ทร์, การหมุน, การโคจร, ดีถดี วงจนั ทร์, ระบบสรุ ยิ ะ, คาบ
ทักษะ

การตงั้ คาถาม การสังเกต การวางแผน
การสารวจตรวจสอบเกย่ี วกับลมและอทิ ธิพลของลม
การทางานกลุม่
เจตคติ
ความเขา้ ใจธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร์
การใหค้ วามรว่ มมือในการทางานกลุม่
เจตคติท่ดี ีต่อการเรียนวิทยาศาสตร์

หลกั ฐำนกำรเรยี นรู้
ภำระงำน

ภาพยนตรด์ วงจันทร์
หลักฐำนกำรเรียนรู้อื่น ๆ โดยคำนึงถงึ ควำมแตกต่ำงของผู้เรยี น

1. การทางานเปน็ กลมุ่
2. สังเกตการตอบคาถาม การทากจิ กรรมของนกั เรียน
3. การบันทกึ ผลในใบกิจกรรม
กำรประเมนิ ตนเอง
การประเมินตนเองจากการทากจิ กรรมกลุ่ม

2

กิจกรรมกำรเรียนรู้

แผนกำรเรยี นรู้ท่ี 1 : ภาพยนตรด์ วงจนั ทร์

ขนั้ กิจกรรม เวลำ
10 นาที
ตัง้ คำถำมเกย่ี วกบั ตั้งคาถามว่า นักเรียนเคยสังเกตรูปร่างดวงจันทร์หรือไม่
15 นาที
ปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติ ณ เวลาเดิม ในแต่ละวันนักเรียนจะสังเกตเห็นดวงจันทร์ใน 40 นาที

ตาแหน่งเดิมหรือไม่ แล้วการเปล่ียนไปน้ันมีรูปแบบหรือไม่ 30 นาที
10 นาที
อยา่ งไร 15 นาที

รวบรวมควำมคิดและ นักเรียนรวบรวมความคิด ต้ังข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับการเห็น เวลำ
10 นาที
ข้อสนั นษิ ฐำน รูปร่างท่ีเปล่ียนไปของดวงจัน ทร์ ตาแหน่งและเวลา 10 นาที
60 นาที
ทสี่ งั เกตเหน็ ดวงจันทรใ์ นแตล่ ะวัน

ทดสอบและปฏบิ ัติกำร นักเรียนสังเกตรูปร่างดวงจันทร์ในแต่ละวัน รูปร่างของดวง

สบื เสำะ จันทรเ์ ปล่ียนไป เร่ิมจากดวงจันทร์เตม็ ดวงและหายไปทั้งดวง

เราจะสามารถนาภาพปรากฏการณ์เหลา่ น้ีมาร้อยเรียงให้เห็น

เป็นภาพเคลื่อนไหว เพ่ืออธิบายการเปลี่ยนรูปร่างของ

ดวงจันทร์

กำรสงั เกตและบรรยำย นกั เรยี นสังเกตและบรรยายรูปร่างดวงจันทร์อันเกดิ จากการที่

ดวงจันทร์โคจรรอบโลก รวมไปถึงตาแหน่งและเวลาที่

สังเกตเหน็ ดวงจันทรใ์ นแต่ละวนั

บันทึกขอ้ มูล นักเรียนบันทึกผลการสังเกตรูปร่างของดวงจันทร์โดยวาดรูป

ส่วนมืดส่วนสว่าง รวมไปถึงตาแหน่งและเวลาท่ีสังเกตเห็น

ดวงจันทร์ในแต่ละวัน

อภปิ รำยผล นกั เรียนและครรู ่วมกนั อภปิ รายปรากฏการณ์ การมองเห็นวิถี

ของดวงจันทรท์ ่ีเปลยี่ นไปอนั เนื่องมาจากการเปลย่ี นตาแหน่ง

ดวงจันทร์ในรอบการโคจร

แผนกำรเรียนรู้ที่ 2 : มาราธอนดาวเคราะห์

ข้ัน กิจกรรม

ต้ังคำถำมเกี่ยวกบั นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับตาแหน่งของ

ปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติ ดาวเคราะห์บนท้องฟ้า การเปล่ียนตาแหน่งมีความสัมพันธ์

กับเวลาอย่างไร

รวบรวมควำมคิดและ นักเรียนรวบรวมความคิด ต้ังข้อสันนิษฐานเก่ียวกับตาแหน่ง

ข้อสนั นษิ ฐำน ของดาวเคราะห์ คาบการโคจรของดาวเคราะห์ ในการโคจร

รอบดวงอาทติ ย์

ทดสอบและปฏบิ ัตกิ ำร นักเรียนศึกษาคาบการโคจรของดาวเคราะห์ โดยศึกษา

สืบเสำะ เป รี ย บ เที ย บ ร ะ ห ว่ าง ร ะ ย ะ ท า ง กั บ เว ล าที่ ใช้ ใน ก า ร โ ค จ ร

รอบดวงอาทิตย์ดว้ ยกจิ กรรมมาราธอนดาวเคราะห์

3

ขัน้ กิจกรรม เวลำ
กำรสังเกตและบรรยำย นักเรียนบรรยายสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกิจกรรมมาราธอน 20 นาที
ด า ว เค ร า ะ ห์ ใน ป ร ะ เด็ น เกี่ ย ว กั บ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ า ง
บนั ทึกขอ้ มูล ระ ยะท างกั บ เวลาที่ ใช้ใน ก ารโคจรรอ บ ดวงอ าทิต ย์ 10 นาที
อภิปรำยผล ดาวเคราะห์แต่ละดวงใช้เวลาในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ 10 นาที
อยา่ งไร
นักเรียนบันทึกผลการทดลอง เช่น คาบการโคจรของ
ดาวเคราะห์แต่ละดวง ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ของ
ดาวเคราะห์

นั ก เรี ย น แ ล ะ ค รู ร่ ว ม กั น อ ภิ ป ร า ย ถึ ง ค าบ ก า ร โค จ ร ข อ ง
ดาวเคราะหท์ งั้ 8 ดวง ในระบบสุรยิ ะ

4

เทห่ ฟ์ ากฟ้า

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 : ภาพยนตรด์ วงจนั ทร์

บทนา แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ใช้เวลาในการจัดการ
นักเรียนมีบทบาทสมมติเป็นทีมนักดารา- เรียนรู้ 2 ช่ัวโมง ทีมนักดาราศาสตร์สมัครเล่น
มีภารกิจต้องศึกษาดวงจันทร์ โดยศึกษาข้อมูล
ศาสต ร์สมั ครเล่น ได้รับ ม อบ ห มายภ ารกิจ การข้ึน – ตก ของดวงจันทร์ การโคจรรอบโลก
ในการศึกษาดวงจนั ทร์และระบบสุริยะ นกั เรยี นจะ ของดวงจันทร์ ทากิจกรรมการทดลองเพ่ือศึกษา
ได้เรียนรู้เก่ียวกับการขึ้น – ตก ของดวงจันทร์ การเปล่ียนรูปร่างของดวงจันทร์ในแต่ละวัน และ
นักเรียนทากิจกรรมศึกษาการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง สร้างแบบจาลองพยากรณ์รูปร่างของดวงจันทร์
ของดวงจันทร์ และสร้างแบบจาลองท่ีสามารถ โดยท าเป็ น ภ าพ ยน ต ร์ดวงจัน ท ร์ น าเสน อ
พยากรณร์ ปู รา่ งของดวงจนั ทร์ในแตล่ ะวนั นักเรยี น ต่อเพือ่ นๆ ในช้ันเรยี น
ร่วมกันทากิจกรรมสารวจระบบสุริยะ เรียนรู้
เก่ียวกับคาบการเคล่ือนที่ของดาวเคราะห์ในระบบ
สรุ ิยะ

คาศพั ท์ 1
ดวงจนั ทร์, การหมุน, การโคจร, ดีถดี วงจนั ทร์

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
นกั เรยี นสามารถ
1. สรา้ งแบบจาลองการเกดิ ดิถดี วงจันทร์ได้
2. อธิบายการเปล่ยี นแปลงของดิถดี วงจนั ทรจ์ ากแบบจาลองได้
3. ทางานรว่ มกบั สมาชกิ ในกลุม่ ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ

กจิ กรรมการเรียนรู้ 120 นาที

ตงั้ คาถามเก่ียวกบั ปรากฏการณ์ธรรมชาติ 10 นาที

ตง้ั คาถามว่า นักเรียนเคยสังเกตรปู ร่างดวงจนั ทร์หรือไม่ ณ เวลาเดิมในแต่ละวนั นักเรียนจะสังเกตเห็นดวงจันทร์

ในตาแหน่งเดมิ หรือไม่ แล้วการเปลย่ี นไปนน้ั มรี ูปแบบหรือไม่ อย่างไร

1. ครูถามถึงประสบการณ์การพบเหน็ ดวงจนั ทร์ของนักเรยี น นักเรียนเคยสงั เกตรูปรา่ งดวงจันทร์

ในแตล่ ะวันหรอื ไม่ (แนวคาตอบ เคยเห็น บางวนั ก็มืดไมเ่ ห็นดวงจนั ทร์)

2. ณ เวลาเดิมในแต่ละวนั นกั เรยี นจะสังเกตเห็นดวงจันทรใ์ นตาแหน่งเดิมหรือไม่ และดวงจันทร์

มีรปู ร่างเหมือนเดิมหรือไม่

1

รวบรวมความคดิ และข้อสันนษิ ฐาน 15 นาที

นักเรียนรวบรวมความคดิ ต้ังขอ้ สันนษิ ฐานเกีย่ วกับการเห็นรปู รา่ งทเ่ี ปลย่ี นไปของดวงจนั ทร์ ตาแหน่งและเวลา

ทส่ี ังเกตเหน็ ดวงจันทร์ในแตล่ ะวนั

1. กระตุ้นความสนใจของนกั เรียน ดว้ ยประเด็นคาถามเกย่ี วกับสาเหตุท่ที าให้การเปล่ยี นไปรูปร่างและ

ตาแหนง่ ของดวงจันทร์ในแตล่ ะวนั นักเรียนร่วมกนั อภปิ ราย

- นักเรยี นเคยสังเกตเห็นรูปรา่ งของดวงจนั ทร์ ในแตล่ ะวันหรือไม่

- ช่วงเวลาเดิมของแตล่ ะวัน นักเรยี นจะเห็นดวงจนั ทร์ในตาแหน่งเดิมหรอื ไม่

2. ครูแจกลูกโฟมกลมขนาดประมาณลูกบอลขนาดเล็กและไฟฉาย เพ่ือให้นักเรียนใช้ร่วมกัน

ในการอภปิ ราย

3. ครูกระตุ้นให้นักเรียนต้ังข้อสันนิษฐานเพิ่มเติมเก่ียวกับปัจจัยท่ีส่งผลต่อการมองเห็นดวงจันทร์

เพื่อให้ได้ประเด็นการศึกษาว่าการเคล่ือนที่ของดวงจันทร์หรือการโคจรรอบโลกของดวงจันทร์ ส่งผลต่อการ

มองเหน็ ดิถดี วงจันทร์ (เช่น ตาแหน่งของโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทรโ์ คจรรอบโลก เมฆบังดวงจันทร์

ฝนตกชุก ดวงจันทร์โคจรรอบโลกทาให้ไดร้ ับแสงจากดวงอาทิตยไ์ มเ่ ท่ากันในแตล่ ะวนั )

ทดสอบและปฏิบตั กิ ารสบื เสาะ 40 นาที

นักเรียนสังเกตรูปร่างดวงจันทร์ในแต่ละวัน รูปร่างของดวงจันทร์เปล่ียนไป เร่ิมจากดวงจันทร์เต็มดวงและ

หายไปทั้งดวง เราจะสามารถนาภาพปรากฏการณ์เหล่านี้มาร้อยเรียงให้เห็นเป็นภาพเคล่ือนไหว เพ่ืออธิบาย 1

การเปลย่ี นรูปร่างของดวงจนั ทร์

1. ครูแจกอุปกรณ์การศึกษาแบบจาลองการโคจรรอบโลกของดวงจันทร์ (รายการอุปกรณ์ตาม

ใบกิจกรรม 1.1 เรอ่ื ง ดวงจนั ทรเ์ ปลย่ี นไป ไดแ้ ก่ 1. ลกู โฟมขนาดเสน้ ผา่ นศนู ย์กลางประมาณ 10 cm

2. ไฟฉาย 3. ไมเ้ รยี วยาวประมาณ 1 เมตร)

2. นักเรียนแต่ละกลุ่มประดิษฐ์แบบจาลองการโคจรรอบโลกของดวงจันทร์ โดยการเสียบไม้เรียว

กบั ลูกโฟม วาดเสน้ ทางโคจรของดวงจันทร์เป็นวงกลม โดยใหม้ รี ศั มปี ระมาณ 1 เมตร

ทม่ี า : //scimath.org/ebook
3. ใหส้ งั เกตลูกโฟมในตาแหน่งต่างๆ
4. แต่ละกลุ่มเปลี่ยนตัวนกั เรียนที่ถอื ไม้ เพือ่ ใหท้ ุกคนได้สังเกต

2

5. ครูและนักเรียนรว่ มกนั อภิปรายผล
ขอ้ ควรระวงั : ระวังอนั ตรายจากแสงสวา่ ง ถา้ แสงทีค่ รูใช้สวา่ งมากเกนิ ไป ควรเตรียมแว่นกันแดดไว้ให้
นกั เรียนและเตือนนักเรียนเรอ่ื งการมองไปทีห่ ลอดไฟ
6. ให้เด็กๆ ตัดกระดาษเป็นสีเ่ หลยี่ มมขี นาดเทา่ กัน (10 x 5 cm) จานวน 10 แผน่ โดยวดั ขนาด
และวาดก่อนล่วงหน้า (ครูให้เด็กๆ ไดใ้ ชไ้ ม้บรรทัดและดนิ สอ) สาหรับเดก็ ท่ยี ังทาไม่ได้ใหค้ รูช่วยเตรียมอปุ กรณ์
ไวใ้ หก้ อ่ น ใช้กระดาษอกี 1 แผน่ เปน็ แผน่ ปกทเี่ ด็กๆ สามารถตกแตง่ ไดต้ ามชอบใจ
7. นกั เรยี นสังเกตและวาดรปู ดวงจนั ทรล์ ักษณะต่างๆ ทมี่ องเห็นจากการทดลอง เรยี งลงบนกระดาษ
ทลี ะหน้า รูปละหน้า เทา่ กับจานวนมมุ ทีเ่ ปล่ยี นไป
8. สาหรบั การประกอบใหเ้ จาะรู 2 รู ทด่ี ้านขวาของกระดาษ รอ้ ยรูรดั ด้วยเชอื กใหแ้ น่น ประกบ
ด้วยกระดาษแข็งติดเทปกาวเป็นท่ีจับ จะได้เป็นรูปเล่มคล้ายหนังสือท่ีจับด้วยมือซ้าย แล้วเปิดดูได้ด้วยมือขวา
กรีดผ่านด้วยน้ิวโป้ง การกรีดนิ้วลงบนกระดาษท่ีวาดรูปไว้ผ่านไปอย่างรวดเร็วทาให้เกิดภาพท่ีเคลื่อนไหว
เป็นการแสดงการเกิดปรากฏการณ์ขา้ งขึ้น – ข้างแรมของดวงจันทร์

1

การสงั เกตและบรรยาย 30 นาที

นกั เรียนสังเกตและบรรยายรูปรา่ งดวงจนั ทร์อนั เกดิ จากการท่ีดวงจนั ทรโ์ คจรรอบโลก รวมไปถึงตาแหน่ง

และเวลาท่สี งั เกตเหน็ ดวงจนั ทร์ในแตล่ ะวนั

4. ในระหว่างการทดลองนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสังเกตและบรรยายถึงส่วนมืดและส่วนสว่าง

ท่ีปรากฏในแตล่ ะตาแหนง่ โดยครูอาจกระต้นุ ดว้ ยการใชค้ าถามต่อไปน้ี

- ส่วนมดื ส่วนสว่างเกิดข้ึนได้อย่างไร

- แตล่ ะตาแหน่งบนโลกจะเกิดส่วนมดื และสว่ นสว่างเหมอื นกนั หรอื ไม่ อย่างไร

บันทกึ ขอ้ มูล 10 นาที

นักเรียนบันทกึ ผลการสังเกตรูปรา่ งของดวงจนั ทรโ์ ดยวาดรูปส่วนมดื ส่วนสวา่ ง รวมไปถงึ ตาแหนง่ และเวลา

ทีส่ ังเกตเห็นดวงจันทร์ในแต่ละวนั

นกั เรียนบันทกึ ผลการสังเกตเกีย่ วกับดิถดี วงจนั ทร์ และตาแหนง่ ของดวงจนั ทร์ ในแบบบนั ทกึ กิจกรรมที่ 1.1

อภิปรายผล 15 นาที

นกั เรียนและครูรว่ มกันอภิปรายปรากฏการณ์ การมองเหน็ ดถิ ีดวงจนั ทร์ท่เี ปลย่ี นไปอนั เนื่องมาจากการเปลยี่ น

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita