รายงานผลการอ่านออกเขียนได้ doc

การประเมินคุณภาพผู้เรียนด้านการอ่านการเขียนภาษาไทย ชั้นป.1 ปี2563

หนังสือแจ้งโรงเรียนนำร่อง (ครั้งที่ 1) คลิกที่นี่

หนังสือแจ้งแบบบันทึกคะแนน โรงเรียนนำร่อง (ครั้งที่ 1) คลิกที่นี่

แบบบันทึกคะแนนการอ่านการเขียนภาษาไทย ชั้นป.1 คลิกที่นี่

แบบนิเทศการอ่านการเขียนภาษาไทย ชั้นป. 1 คลิกที่นี่.doc        คลิกที่นี่.pdf 

แบบประเมินการอ่านการเขียนภาษาไทย ชั้นป.1 คลิกที่นี่.doc      คลิกที่นี่.pdf

คำสั่งคณะกรรมการการประเมิน ฯ (ครั้งที่ 1) คลิกที่นี่

แบบประเมินความพึงพอใจ ฯ (ครั้งที่1) คลิกที่นี่

ดาวน์โหลดแบบทดสอบฉบับนักเรียน  (ครั้งที่1)

แบบทดสอบการอ่านออกเสียง คลิกที่นี่

แบบทดสอบการอ่านรู้เรื่อง คลิกที่นี่

แบบทดสอบการเขียน คลิกที่นี่


1

คำนำ

โรงเรียนประตูชัย ได้เห็นความสาคัญในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพและให้ความสาคัญกับ
การบริหารจดั การศึกษาอยา่ งจรงิ จงั ทัง้ ระบบและเปน็ ไปตามท่ีรัฐบาลมีนโยบายปฏริ ูปประเทศไทย ได้ประกาศ
ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) จึงได้กาหนดนโยบายมาตรการที่มุ่งเน้นให้ความสาคัญกับ
การอ่านการเขียนภาษาไทยของนักเรยี นในปีการศึกษา ๒๕๖๔ นี้ เพื่อเป็นการขับเคลื่อนการพัฒนาการอ่าน
ออกเขียนไดใ้ ห้เปน็ ไปอย่างเขม้ แขง็ และเป็นรูปธรรมย่งิ ขนึ้ ดังนั้น โรงเรียนประตชู ัย ไดด้ าเนนิ การตามนโยบาย
นาไปสู่การปฏิบัติเพ่ือยกระดับการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์กาหนดให้มีการปฏิรูป
กระบวนการเรยี นรู้เพือ่ ศตวรรษที่ ๒๑ ซึ่งการอ่านออก เขียนได้ นับเป็นทักษะที่มีความจาเป็นอย่างย่ิงเพราะ
เป็นทักษะการสื่อสาร เพ่ือสร้างความเข้าใจและความสัมพันธ์อันดีต่อกัน และเป็นเครื่องมือในการแสวงหา
ความรู้ ประสบการณ์จากแหลง่ ข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆในการพฒั นาความรู้ กระบวนการคิดวเิ คราะห์ วิจารณ์
และสร้างสรรค์เพ่ือพัฒนาตนเองและสังคม เพื่อให้ประกาศนโยบาย ปี 2564 “เด็กไทยวิถีใหม่
อ่านออกเขียนได้ทุกคน” มีการดาเนินงานจากนโยบายไปสู่การปฏิบัติท่ีเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน จึงได้ประสาน
ความร่วมมือระหว่างโรงเรียน ครู ผู้ปกครอง และนักเรียน ทาให้เกิดความร่วมมือในการนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 ทุกคนอ่านออกเขียนได้ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 อ่านคล่องเขียนคล่อง
และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 - 3 มีสมรรถนะการอ่านขั้นสูง รวมท้ังแก้ไขปัญหานักเรียนด้านการอ่าน
ไม่ออก เขียนไม่ได้ อ่านไม่คล่อง เขียนไม่คล่องอย่างต่อเนื่อง ทาให้นาไปสู่การปฏิบัติในการพัฒนานักเรียน
ทุกระดับช้นั ให้มสี ามารถด้านการอา่ นการเขียนอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

กลมุ่ งานบริหารงานวิชาการ
โรงเรียนประตูชัย

สำรบญั ข

คานา หน้ำ
สารบญั ก
๑. ความเปน็ มา ข
๒. วตั ถปุ ระสงค์ ๑
๓. กล่มุ เป้าหมาย ๑
๔. การดาเนินงาน ๒

๔.๑ แนวทางการดาเนินการพฒั นา“เด็กไทยวิถีใหม่ อ่านออกเขียนไดท้ กุ คน” ๒
ระดบั โรงเรยี น

๔.๒ แนวทางการดาเนนิ การพัฒนา“เดก็ ไทยวิถใี หม่ อ่านออกเขียนได้ทกุ คน”
ระดบั ห้องเรยี น ๗

๕. ผลการดาเนนิ งาน ๑๐
๖. ปญั หา อุปสรรค ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพัฒนา ๑๑
ภาคผนวก ๑๙

๑. โครงการพฒั นาการเรยี นร้กู ลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ๒๓
๒. ผลการคัดกรองความสามารถในการอา่ นออกเขียนได้นกั เรยี น

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑-ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓
๓. ภาพกจิ กรรม

กำรดำเนนิ งำนกำรพฒั นำคณุ ภำพกำรเรียนกำรสอนภำษำไทยตำมนโยบำย
“เดก็ ไทยวิถใี หม่ อ่ำนออกเขียนไดท้ กุ คน”

๑. ควำมเป็นมำ
ตามทรี่ ัฐบาลมนี โยบายปฏริ ูปประเทศไทย ไดป้ ระกาศยทุ ธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐)

ซ่ึงต้องนาไปสู่การปฏิบัติเพื่อยกระดับการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์กาหนดให้มีการปฏิรูป
กระบวนการเรียนรู้เพอ่ื ศตวรรษที่ ๒๑ โดยปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้เพื่อเตรียมประชากรสู่การเปล่ียนแปลง
ในศตวรรษที่ ๒๑ รวมทงั้ ตระหนกั ถึงพหปุ ัญญาของมนุษยท์ หี่ ลากหลาย มีเปา้ หมายให้ผู้เรยี นได้รับการศึกษาท่ี
มคี ุณภาพตามมาตรฐาน มีทกั ษะทจ่ี าเป็นของโลกอนาคต สามารถแก้ปญั หา รู้เทา่ ทันส่ือ ปรับตวั สื่อสาร และ
ทางานรว่ มกบั ผอู้ ่ืนได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ มวี ินัย ใฝเ่ รยี นรู้อยา่ งตอ่ เนอื่ งตลอดชีวิต รวมทัง้ เป็นพลเมืองดีรู้สิทธิ
หน้าที่ มีความรบั ผิดชอบและมีจิตสาธารณะ ซึง่ เปน็ กลไกสาคัญของการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน การสรา้ งการเรียนรู้
แห่งศตวรรษที่ ๒๑ นั้น เพ่ือให้ประกาศนโยบาย ปี 2564 “เด็กไทยวิถีใหม่ อ่านออกเขียนได้ทุกคน”
มกี ารดาเนนิ งานจากนโยบายไปสู่การปฏิบัติทเ่ี ป็นรูปธรรมท่ีชดั เจนตามนโยบาย ในการส่งเสริมพัฒนาโรงเรียน
ในสังกดั ดาเนินงานอย่างเปน็ ระบบและเกิดความร่วมมือในการนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 - 3 ทกุ คนอ่าน
ออกเขยี นได้ นกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 อา่ นคลอ่ งเขียนคล่อง และนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 - 3
มีสมรรถนะการอ่านข้ันสูง รวมทั้งแก้ไขปัญหานักเรียนด้านการอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ อ่านไม่คล่องเขียนไม่
คล่องอย่างต่อเน่ืองของทุกภาคส่วน อีกท้ังเป็นแนวทางให้ผู้มีส่วนเก่ียวข้องสามารถนาไปสู่การปฏิบัติใน
การพัฒนานกั เรยี นทกุ ระดบั ชน้ั ใหม้ ีสามารถดา้ นการอา่ นการเขียนอย่างมี ประสิทธิภาพต่อไป

จากความสาคัญดังกล่าว โรงเรียนประตูชัย ได้ดาเนินการตามนโยบาย “เด็กไทยวิถีใหม่ อ่านออก
เขียนได้ทุกคน” อย่างเปน็ ระบบ มขี ้อมลู การพัฒนาผ้เู รยี นท่ีเปน็ สารสนเทศ สาหรบั ครูผ้สู อนทุกคน ผู้ปกครอง
นกั เรียน ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ศึกษานเิ ทศก์ สานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพระนครศรีอยุธยา เขต ๑
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ตลอดจนผู้เก่ียวข้องทุกภาคส่วนที่จะนาข้อมูลไปใช้ใน
การพัฒนาการอา่ นการเขยี นของนกั เรียนต่อไป

๒. วตั ถปุ ระสงค์
1. เพื่อพัฒนากรอบการปฏิบัติงานพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ อ่านคล่องเขียนคล่องและส่ือสารได้

มสี มรรถนะการอา่ นข้ันสงู เดก็ ไทยวถิ ใี หม่ อา่ นออกเขียนได้ทกุ คน
2. เพื่อให้มีการวางแผนการทางานอย่างเป็นระบบและเกิดความร่วมมือในการแก้ไขปัญหานักเรียน

ด้านการอา่ นไมอ่ อก เขียนไมไ่ ด้ อา่ นไม่คลอ่ งเขียนไม่คลอ่ งอยา่ งจริงจงั และตอ่ เน่อื ง
3. เพอื่ สร้างและพฒั นานวัตกรรม การวจิ ยั ในการแก้ไขปญั หานกั เรียนด้านการอ่านไม่ออก เขยี นไม่ได้

อา่ นไม่คล่องเขยี นไมค่ ลอ่ งและส่ือสารได้ทีเ่ หมาะสมกบั สภาพบริบทและความแตกต่างของผู้เรียน
4. เพ่ือสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติงานและแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทย

และพฒั นานกั เรยี นท่ีอ่านไมอ่ อกเขียนไม่ได้ให้แก่ครผู ู้สอนทกุ คนทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรแู้ ละผู้ทีเ่ กย่ี วข้อง
5. เพือ่ ตดิ ตามความก้าวหนา้ ผลของการปฏิบัตงิ านอย่างต่อเนื่อง

๓. กล่มุ เปา้ หมาย
๓.๑ นกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๑-๓ ทกุ คนอ่านออกเขยี นได้
๓.๒ นักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๔-๖ อ่านคลอ่ งเขยี นคล่อง
๓.๓ นักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑-๓ มสี มรรถนะการอ่านขัน้ สูง

๔. การดาเนนิ งาน

โรงเรียนประตชู ยั ได้ดาเนินงานตามตามนโยบาย “เดก็ ไทยวิถีใหม่ อ่านออก เขียนได้ทุกคน” ดังน้ี

๔.๑ แนวทำงกำรดำเนินกำรพฒั นำ“เด็กไทยวิถีใหม่ อ่ำนออกเขียนได้ทุกคน” ระดับโรงเรยี น

๑. จัดประชุมช้ีแจงคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา และคณะกรรมการสถานศึกษาให้ทราบถึง
นโยบาย “เด็กไทยวิถีใหม่ อ่านออกเขียนได้ทุกคน” ให้รับทราบนโยบายและประสานความร่วมมือระหว่าง
คณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และคณะครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ บุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง
และชมุ ชน

๒. โรงเรียนมีแผนคุณพัฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.๒๕๖๔-๒๕๖๘) และแผนพัฒนาคุณภาพและ
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา ๒๕๖๔ เน้นพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ทั้งระยะส้ัน
และระยะยาว โดยเน้นคุณภาพผู้เรียน คุณภาพผู้สอน และมีการบริหารจัดการท่ีดีและสอดคล้องกบั การประกัน
คุณภาพของโรงเรยี นด้วย

๓. นาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับความรู้ความสามารถของครูภาษาไทยและคัดเลือกครูภาษาไทยท่ีมี
คุณภาพ มคี วามพร้อมเข้าใจพฒั นาการเรียนรู้ของนกั เรียนใหส้ อนในระดบั ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 และระดับช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี 2 และจดั การเรียนการสอนภาษาไทยให้นกั เรียนไดฝ้ ึกทักษะท้งั ฟัง พูด อา่ น เขียนภาษาไทย
และฝึกคิดด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้เทคนิคการสอนและสื่อเหมาะสมทันสมัยและสอดคล้องกับการพัฒนา
นักเรยี น แต่ละกลุ่ม เชน่ แนวทางการจัดการเรยี นรูเ้ ชงิ รกุ (active learning)

๔. ปรับการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม โดยให้แบ่งหน้าที่รับผิดชอบกับครูผู้สอนทุกคน ทุกกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ มีครูผู้รับผิดชอบโดยตรงและมีผู้มีส่วนเก่ียวข้องร่วมกันในการแก้ปัญหานักเรียนอ่านไมอ่ อก
เขยี นไม่ได้

๕. โรงเรียนจดั ทาเคร่ืองมือการประเมนิ การอา่ นการเขยี นของนักเรียนและดาเนินการประเมินการอา่ น
ของนักเรียน ทุกระดับชั้น วิเคราะห์สภาพปัญหาสาเหตุ เพื่อเป็นข้อมูลนักเรียนท่ีมีปัญหาการอ่าน การเขียน
ภาษาไทย ทุกระดับช้ัน เป็นรายบุคคล และจัดทาแผนพัฒนาซ่อมเสริม/สอนเสริมท่ีเหมาะสมกับนักเรยี นเป็น
รายบุคคล

๕.๑ นักเรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๑-๓ ทุกคนอ่านออกเขียนได้

๕.๒ นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔-๖ อ่านคลอ่ งเขียนคล่อง

๕.๓ นักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑-๓ มีสมรรถนะการอ่านขั้นสูง

๖. ประสานความร่วมมอื กบั ครูกลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทยและครูทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ รวมทั้ง
ประสานความรว่ มมือกับผู้ปกครองใหม้ ีสว่ นร่วมแกไ้ ขปญั หาอยา่ งจริงจงั

๗. พัฒนา จัดหาจดั ทาสื่อ นวตั กรรมที่ใชใ้ นการแก้ปญั หาการอ่าน การเขียน เช่น แนวทางการจัดการ
เรียนรู้เชงิ รุก active learning และพฒั นางานวจิ ยั ในชัน้ เรยี นทเ่ี กี่ยวกบั การพัฒนาการอา่ นและการเขยี น

๘. สง่ เสรมิ ให้คณะครูและบุคลากรทางการศกึ ษาเขา้ ร่วมอบรม สมั มนา ประชมุ เชิงปฏบิ ตั ิ ศึกษาดงู าน
เพอื่ นามาพฒั นาตนเองและใช้ในการจดั การเรียนการสอนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ให้นักเรียนได้ฝึกทักษะท้ังฟัง
พูด อ่าน เขยี น ภาษาไทย และฝึกคดิ โดยปฏบิ ัตอิ ยา่ งจรงิ จังท่วั ถึงและเพียงพอด้วยวธิ เี รียน เทคนิควิธสี อน และ
ส่ือที่เหมาะสม ทันสมัย และสอดคลอ้ งกบั การพัฒนานักเรียนแต่ละกลุ่ม

๙. ส่งเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษาเข้าร่วมประกวดกิจกรรมต่างๆ เช่น การประกวดส่ือและ
นวัตกรรมทางการศกึ ษา การจัดการเรยี นการสอน เป็นต้น

๑๐. โรงเรียนได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย “ซ่อมเด็กอ่อน เสริมเด็กเก่ง กระตุ้นเด็ก
ปานกลาง” ให้นักเรียนได้แสดงออกและได้ผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานหลักสูตร ส่งเสริมนักเรียนท่ีมีความรู้
ความสามารถพิเศษด้านภาษาไทยทัง้ เปน็ กล่มุ และรายบุคคลให้พฒั นาในระดับท่ีสงู ขึ้น มโี อกาสศึกษาต่อ และ
ประกอบอาชีพตามความถนดั และความสนใจ

๑๑. โรงเรียนได้จัดให้มีการเสริมสร้างนิสัยรักการอ่าน การเขียน การคัดลายมือ และการแสวงหา
ความรู้อย่างสม่าเสมอ พัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนให้เอื้อต่อการอ่านการเขียน ห้องสมุดโรงเรียน
จดั ป้ายนิเทศ จัดมุมรักการอ่านในหอ้ งเรียน โดยใหน้ กั เรยี นเลอื กอา่ นหนังสอื ท่มี ีคณุ ค่าตามความสนใจ ฝกึ อ่าน
สรุปความ ย่อความ เรียงความ และเขียนบันทึก โดยบูรณาการและเช่ือมโยงภาษาไทยกับทุกกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ เพื่อพัฒนาสติปัญญาและคุณธรรมที่สอดคล้องกับสภาพปัจจุบัน พื้นฐานวัฒนธรรมไทย โดย
แสดงผลการอ่านการเขียนที่ชดั เจน

๑๒. โรงเรียนได้จัดทากิจกรรมที่เน้นการพัฒนาประสิทธิภาพของระบบการจัดการเรียนรู้ และ
กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน กิจกรรมแขง่ ขนั ทกั ษะวิชาการ กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่านออกเขียนได้ของนกั เรยี น

๑๓. ประชุมผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้าสายชั้น และครูวิชาการเพ่ือรายงานความก้าวหน้าใน
การดาเนินการเปน็ รายชนั้ เรยี น และจดั ทารายงานรูปแบบ PTC LINE

๑๔. โรงเรียนดาเนินการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผลการดาเนินงานตามนโยบาย “เด็กไทยวิถี

ใหม่ อ่านออกเขยี นไดท้ ุกคน”

๑๔. ครูรายงานผลความก้าวหน้าการพัฒนาการอ่านการเขียนของนักเรียนต่อผู้บริหารสถานศึกษา
คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ผ้ปู กครอง และสานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาในลาดับต่อไป

ปฏิทินกำรดำเนนิ งำนตำมแนวทำงกำรดำเนนิ กำรพัฒนำ
“เด็กไทยวิถีใหม่ อ่ำนออกเขียนได้ทุกคน” ระดับโรงเรียน

กำรดำเนนิ กำร/งำนที่ควรปฏิบตั ิ ระยะเวลำ จำนวนครั้ง/ปี
๑ ครงั้
๑. จัดประชุมช้ีแจงคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา และ มิถนุ ายน 2564
2 คร้ัง
คณะกรรมการสถานศึกษาให้ทราบถึงนโยบาย “เด็กไทยวิถีใหม่ อ่าน
ตลอด
ออกเขยี นไดท้ กุ คน” ใหร้ บั ทราบนโยบาย ปีการศกึ ษา

๒. จัดทาเครื่องมือการประเมินการอ่านการเขียนของนักเรียนและ ภาคเรยี นที่ 1 ก.ค. 2564 ตลอด
ปีการศกึ ษา
ดาเนินการประเมนิ การอา่ นของนกั เรยี น ทุกระดับช้นั วเิ คราะห์สภาพ ภาคเรยี นที่ 2 ธ.ค. 2564
ตลอด
ปัญหาสาเหตุ เพ่ือเป็นข้อมูลนักเรียนที่มีปัญหาการอ่าน การเขียน ปีการศกึ ษา

ภาษาไทย ทุกระดับชั้น เป็นรายบุคคล และจัดทาแผนพัฒนาซ่อม ตลอด
ปีการศึกษา
เสรมิ /สอนเสรมิ ทเี่ หมาะสมกับนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล
ตลอด
 นักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๑-๓ ทกุ คนอา่ นออกเขยี นได้ ปกี ารศึกษา

 นักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔-๖ อ่านคล่องเขียนคล่อง ตลอด
ปกี ารศกึ ษา
 นกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑-๓ มสี มรรถนะการอา่ นขัน้ สูง
ตลอด
๓. พัฒนา จัดหาจัดทาสื่อ นวัตกรรมที่ใช้ในการแก้ปัญหาการอ่าน กรกฎาคม 2564 – ปกี ารศกึ ษา
การเขียน เชน่ แนวทางการจดั การเรยี นรูเ้ ชิงรุก active learning และ เมษายน 2565 ทุกเดอื น
พัฒนางานวิจัยในชนั้ เรยี นท่ีเกยี่ วกบั การพฒั นาการอ่านและการเขียน
กรกฎาคม 2564 –
๔. ส่งเสริมให้คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาเข้าร่วมอบรม เมษายน 2565
สมั มนา ประชมุ เชิงปฏิบตั ิ ศึกษาดูงาน
กรกฎาคม 2564 –
๕. ส่งเสริมให้คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาเข้าร่วมประกวด เมษายน 2565
กิจกรรมต่างๆ เช่น การประกวดส่ือและนวัตกรรมทางการศึกษา
การจดั การเรียนการสอน เป็นต้น กรกฎาคม 2564 –
เมษายน 2565
๖. จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย “ซ่อมเดก็ ออ่ น เสรมิ เด็ก
เก่ง กระตุ้นเด็กปานกลาง” ให้นักเรียนได้แสดงออกและได้ผล กรกฎาคม 2564 –
การเรียนรู้ตามมาตรฐานหลกั สูตร เมษายน 2565

๗. เสริมสร้างนิสัยรักการอ่าน การเขียน การคัดลายมือ และ กรกฎาคม 2564 –
การแสวงหาความรู้อย่างสมา่ เสมอ เมษายน 2565

๘. จัดทากิจกรรมที่เน้นการพัฒนาประสิทธภิ าพของระบบการจัดการ กรกฎาคม 2564 –
เรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแข่งขันทักษะวิชาการ เมษายน 2565
กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านออกเขียนไดข้ องนกั เรียน
ตลอดปกี ารศกึ ษา
๙. ประชุมผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้าสายชั้น และครูวิชาการเพื่อ
รายงานความก้าวหน้าในการดาเนินการเป็นรายชั้นเรียน และจัดทา
รายงานรูปแบบ PTC LINE

๑๐. โรงเรียนดาเนินการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผล
การดาเนินงานตามนโยบาย “เดก็ ไทยวถิ ีใหม่ อา่ นออก เขยี นไดท้ ุกคน”

ปฏทิ นิ กำรดำเนนิ งำนตำมแนวทำงกำรดำเนนิ กำรพฒั นำ
“เดก็ ไทยวิถีใหม่ อ่ำนออกเขียนได้ทุกคน” ระดับโรงเรียน

กำรดำเนนิ กำร/งำนที่ควรปฏิบัติ ระยะเวลำ จำนวนครั้ง/ปี
2 ครงั้
๑๑. ครูรายงานผลความก้าวหน้าการพัฒนาการอ่านการเขียนของ ภาคเรียนที่ 1 ก.ค. 2564

นกั เรยี นตอ่ ผบู้ ริหารสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ภาคเรยี นที่ 2 ธ.ค. 2564

ผปู้ กครอง และสานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาในลาดบั ตอ่ ไป

๔.๒ แนวทำงกำรดำเนนิ กำรพฒั นำ“เด็กไทยวิถีใหม่ อำ่ นออกเขียนได้ทุกคน” ระดับหอ้ งเรียน

กิจกรรมที่ ๑ นกั เรียนอ่ำนออก เขียนได้
แนวทำงกำรดำเนินกำรพฒั นำ

๑. ประชมุ เพ่อื รับทราบนโยบาย สร้างความตระหนกั และประชุมชีแ้ จงผู้รับผิดชอบ
๒. จัดทาเครื่องมือการประเมินการอ่านการเขียนของนักเรียนและดาเนินการประเมินการอ่านของ
นักเรียน ทุกระดับชั้น วิเคราะห์สภาพปัญหาสาเหตุ เพ่ือเป็นข้อมูลนักเรียนท่ีมีปัญหาการอ่าน การเขียน
ภาษาไทย ทุกระดับชั้น เป็นรายบุคคล และจัดทาแผนพัฒนาซ่อมเสริม/สอนเสรมิ ท่ีเหมาะสมกับนักเรยี นเปน็
รายบคุ คล
๓. แจ้งครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 - 3 และประสานความร่วมมอื กับ
ครูทุกกลุม่ สาระการเรยี นรู้ เพ่ือคดั กรองความสามารถในการอา่ นและการเขยี นของนักเรียน ผลการคดั กรอง คอื
ปรับปรงุ พอใช้ ดี และ ดมี าก
๔. จัดทาขอ้ มูลสารสนเทศนกั เรียน ตามระดบั ผลการคัดกรอง คือ ปรบั ปรุง พอใช้ ดี และ ดมี าก และ
วางแผนแก้ปญั หานักเรียนกลุ่ม

 ปรับปรุงแก้ไขเป็นการเร่งด่วน สาหรับนักเรียนที่มีผลการคัดกรองระดับปรับปรุงและ
พอใช้

 พฒั นานักเรยี นทีม่ ีผลการคัดกรองระดับดี ใหอ้ ยูใ่ นระดับดมี ากต่อไป
๕. ครูผู้สอนออกแบบจัดทาคมู่ ือการอ่านออกเขียนได้ โดยการนาบัญชีคาพ้ืนฐานตามกระทรวงกาหนดมา
ประยุกตใ์ ชใ้ หส้ อดคลอ้ งกับนักเรียน
๖. ออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย “ซ่อมเด็กอ่อน เสริมเด็กเก่ง กระตุ้นเด็ก
ปานกลาง” โดยยึกหลักซ่อมเสริมให้กับกลุ่มนักเรียนที่มีปัญหาด้านการอ่านการเขียน และสอนเสริมพัฒนา
นักเรียนที่มีผลการคัดกรองระดับดี ใหอ้ ย่ใู นระดบั ดมี ากต่อไป
๗. จดั กิจกรรมการเรยี นรูท้ ี่หลากหลาย เช่น ภาษาพาเพลิน กิจกรรมฝกึ การอ่านแจกลูกคา เกม เพลง
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านการเขียน การนาเสนอภาษาไทยวันละคา การคัดลายมือ การเขียนเรื่องจากภาพ
กจิ กรรมอา่ นทานองเสนาะ การอ่านจับใจความ จัดมมุ รักการอ่านในห้องเรียน การอ่านบูรณาการทกุ กลุ่มสาระ
การเรยี นรู้ กจิ กรรมวางทกุ งานอ่านทุกวนั กิจกรรมคา่ ยวชิ าการ เปน็ ตน้
๘. ประชุมผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้าสายชั้น และครูวิชาการเพ่ือรายงานความก้าวหน้าใน
การดาเนนิ การเปน็ รายชั้นเรยี น และจดั ทารายงานรูปแบบ PTC LINE
๙. ผูบ้ ริหารสถานศึกษามกี ารนิเทศ กากบั ตดิ ตาม ประเมินผลความก้าวหนา้ ในการพฒั นานกั เรยี น

๑๐. รายงานผลความก้าวหน้าการพฒั นาการอ่านการเขยี นของนกั เรียนตอ่ ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา
คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ผู้ปกครอง และสานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาในลาดบั ตอ่ ไป

กิจกรรมท่ี ๒ นกั เรียนอา่ นคลอ่ งเขยี นคล่อง

แนวทำงกำรดำเนนิ กำรพฒั นำ
๑. ประชุมเพอ่ื รับทราบนโยบาย สร้างความตระหนัก และประชมุ ชแ้ี จงผรู้ บั ผิดชอบ
๒. จัดทาเครื่องมือการประเมินการอ่านการเขียนของนักเรียนและดาเนินการประเมินการอ่านของ

นักเรียน ทุกระดับช้ัน วิเคราะห์สภาพปัญหาสาเหตุ เพื่อเป็นข้อมูลนักเรียนที่มีปัญหาการอ่าน การเขียน
ภาษาไทย ทุกระดับช้ัน เป็นรายบุคคล และจัดทาแผนพัฒนาซ่อมเสริม/สอนเสริมที่เหมาะสมกับนักเรยี นเป็น
รายบุคคล

๓. แจ้งครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔-๖ และประสาน
ความรว่ มมือกับครูทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ เพือ่ คัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักเรยี น ผล
การคัดกรอง คอื ปรับปรงุ พอใช้ ดี และ ดีมาก

๔. จัดทาขอ้ มูลสารสนเทศนกั เรียน ตามระดับผลการคัดกรอง คือ ปรบั ปรุง พอใช้ ดี และ ดีมาก และ
วางแผนแก้ปญั หานกั เรยี นกลุม่ เปา้ หมาย

 ปรับปรุงแก้ไขเป็นการเร่งด่วน สาหรับนักเรียนท่ีมีผลการคัดกรองระดับปรับปรุงและ
พอใช้

 พฒั นานักเรยี นทมี่ ผี ลการคดั กรองระดับดี ให้อยูใ่ นระดบั ดมี ากต่อไป
๕. ครูผูส้ อนออกแบบจดั ทาคู่มือการอ่านออกเขียนได้ โดยการนาบัญชีคาพ้ืนฐานตามกระทรวงกาหนดมา
ประยุกตใ์ ชใ้ หส้ อดคล้องกับนกั เรียน และแบบฝึกการอ่านคลอ่ งเขียนคล่อง
๖. ออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย “ซ่อมเด็กอ่อน เสริมเด็กเก่ง กระตุ้นเด็ก
ปานกลาง” โดยยึกหลักซ่อมเสริมให้กับกลุ่มนักเรียนที่มีปัญหาด้านการอ่านการเขียน และสอนเสริมพัฒนา
นักเรียนทีม่ ผี ลการคัดกรองระดับดี ใหอ้ ยใู่ นระดับดีมากต่อไป
๗. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น ภาษาพาเพลิน เกม เพลง การอ่านคาใหม่-คายาก
การเขยี นตามคาบอกคาใหม่-คายาก แบบฝึกเสรมิ ทกั ษะการอ่านการเขยี น การนาเสนอภาษาไทยวันละคา การ
เขียนจดหมาย เขียนเรียงความ การคัดลายมือ การเขียนเร่ืองจากภาพ การเขียนเชิงสรา้ งสรรค์ กิจกรรมอ่าน
ทานองเสนาะ การอ่านจับใจความ จัดมุมรักการอ่านในห้องเรียน การอ่านบูรณาการทุกกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ กจิ กรรมวางทกุ งานอ่านทุกวัน กจิ กรรมค่ายวชิ าการ เปน็ ตน้
๘. ประชุมผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้าสายช้ัน และครูวิชาการเพ่ือรายงานความก้าวหน้าใน
การดาเนินการเปน็ รายชัน้ เรยี น และจดั ทารายงานรูปแบบ PTC LINE
๙. ผู้บริหารสถานศกึ ษามีการนเิ ทศ กากับ ติดตาม ประเมินผลความกา้ วหนา้ ในการพฒั นานักเรยี น
๑๐. รายงานผลความก้าวหน้าการพัฒนาการอ่านการเขียนของนักเรียนต่อผู้บริหารสถานศึกษา
คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ผ้ปู กครอง และสานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาในลาดบั ตอ่ ไป

กิจกรรมท่ี ๓ นักเรยี นมีสมรรถนะการอ่านขั้นสูง

แนวทำงกำรดำเนนิ กำรพัฒนำ
๑. ประชมุ เพอื่ รบั ทราบนโยบาย สรา้ งความตระหนัก และประชมุ ชแ้ี จงผ้รู บั ผิดชอบ
๒. จัดทาเครื่องมือการประเมินการอ่านการเขียนของนักเรียนและดาเนินการประเมินการอ่านของ

นักเรียน ทุกระดับชั้น วิเคราะห์สภาพปัญหาสาเหตุ เพ่ือเป็นข้อมูลนักเรียนท่ีมีปัญหาการอ่าน การเขียน
ภาษาไทย ทุกระดับชั้น เป็นรายบุคคล และจัดทาแผนพัฒนาซ่อมเสรมิ /สอนเสริมที่เหมาะสมกับนักเรยี นเปน็
รายบุคคล

๓. แจง้ ครูผ้สู อนกลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ - ๓ และประสานความร่วมมือกับครู
ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักเรียน ผลการคัดกรอง คือ
ปรบั ปรงุ พอใช้ ดี และดมี าก

๔. จัดทาข้อมูลสารสนเทศนักเรยี น ตามระดับผลการคัดกรอง คือ ปรับปรุง พอใช้ ดี และดีมาก และ
วางแผนแก้ปัญหานกั เรยี นกลมุ่ เปา้ หมาย

 ปรับปรุงแก้ไขเป็นการเร่งด่วน สาหรับนักเรียนท่ีมีผลการคัดกรองระดับปรับปรุงและ
พอใช้

 พฒั นานกั เรียนท่มี ีผลการคัดกรองระดบั ดี ใหอ้ ยูใ่ นระดบั ดีมากตอ่ ไป
๕. แจ้งครูผู้สอนภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เพ่ือเตรียมความพร้อมนานักเรียนนักเรียนมี
สมรรถนะการอ่านข้นั สงู และจดั ทาแบบฝึกการอ่านใจจับความ และข้อสอบการอ่าน PISA
๖. ออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย “ซ่อมเด็กอ่อน เสริมเด็กเก่ง กระตุ้นเด็ก
ปานกลาง” โดยยึกหลักซ่อมเสริมให้กับกลุ่มนักเรียนท่ีมีปัญหาด้านการอ่านการเขียน และสอนเสริมพัฒนา
นักเรียนที่มผี ลการคดั กรองระดบั ดี ให้อยใู่ นระดับดมี ากตอ่ ไป
๗. จัดกิจกรรมการเรยี นร้ทู หี่ ลากหลาย เช่น ภาษาพาเพลนิ การนาเสนอภาษาไทยวนั ละคา การเขียน
จดหมาย เขยี นเรยี งความ การคัดลายมอื การเขียนเรื่องจากภาพ การเขยี นเชิงสรา้ งสรรค์ กิจกรรมอา่ นทานองเสนาะ
การอ่านจับใจความ จดั มมุ รักการอ่านในหอ้ งเรียน การอ่านบูรณาการทุกกล่มุ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมวางทุก
งานอ่านทุกวนั การอ่านคดิ วเิ คราะหแ์ ละประเมนิ คา่ กิจกรรมคา่ ยวชิ าการ เปน็ ต้น
๘. ประชุมผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้าสายชั้น และครูวิชาการเพื่อรายงานความก้าวหน้าใน
การดาเนนิ การเป็นรายชน้ั เรยี น และจดั ทารายงานรูปแบบ PTC LINE
๙. ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษามีการนเิ ทศ กากับ ตดิ ตาม ประเมินผลความกา้ วหนา้ ในการพัฒนานักเรียน
๑๐. รายงานผลความก้าวหน้าการพัฒนาการอ่านการเขียนของนักเรียนต่อผู้บริหารสถานศึกษา
คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ผปู้ กครอง และสานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาในลาดบั ตอ่ ไป

๕. ผลกำรดำเนนิ งำน
ระดับโรงเรียน

1. กาหนดกรอบการปฏิบัติงานพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ อ่านคล่องเขียนคล่องและส่ือสารได้
มสี มรรถนะการอา่ นขนั้ สงู เด็กไทยวิถใี หม่ อา่ นออกเขยี นได้ทกุ คน

2. การวางแผนการทางานอย่างเป็นระบบและเกิดความร่วมมือในการแก้ไขปัญหา นักเรียนด้าน
การอ่านไม่ออก เขยี นไม่ได้ อ่านไมค่ ล่องเขยี นไมค่ ลอ่ งอยา่ งจริงจังและตอ่ เน่ือง

3. การสรา้ งและพัฒนานวตั กรรม การวจิ ัย ในการแก้ไขปัญหานักเรยี นดา้ นการอ่านไมอ่ อก เขยี นไมไ่ ด้
อา่ นไมค่ ลอ่ งเขยี นไม่คลอ่ งและส่อื สารได้ท่ีเหมาะสมกับสภาพบริบทและความแตกตา่ งของผเู้ รยี น

4. การสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติงานและแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทย
และพัฒนานกั เรยี นที่อ่านไมอ่ อกเขียนไม่ได้ใหแ้ กค่ รูผูส้ อนทกุ คนทุกกล่มุ สาระการเรียนรู้และผู้ท่เี ก่ยี วขอ้ ง

5. การตดิ ตามความกา้ วหนา้ ผลของการปฏิบัติงานอย่างต่อเนอื่ ง ดังภาคผนวก หนา้ ๑๙-๒๒

ระดับหอ้ งเรียน
๑. กิจกรรมนักเรยี นทุกคนอา่ นออกเขียนได้
ผลกำรดำเนินงำน

๑. ครผู สู้ อนจดั ทาแบบบัญชคี าพ้ืนฐานชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1-๓
๒. ครูผสู้ อนได้นาคาพน้ื ฐานไปใชก้ ับนักเรียนฝึกการอ่าน การเขียนในชว่ั โมงเรยี นทุกสัปดาห์
๓. นกั เรยี นฝึกการอ่าน การเขยี น โดยการพฒั นานกั เรยี นและทดสอบหลังเรียน
๔. นกั เรยี นประถมศกึ ษาปีที่ ๑-๓ อยใู่ นระดบั ดีมาก คดิ เปน็ ร้อยละ ดงั ภาคผนวก หน้า ๑๙ – ๒๐

๒ กจิ กรรมนักเรยี นอ่านคล่องเขยี นคลอ่ ง
ผลกำรดำเนนิ งำน

๑. ครูผู้สอนภาษาไทยช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔-๖ เตรียมเนื้อหาความรู้และรวบรวมแบบฝึกการอ่านคล่อง
เขียนคลอ่ ง เพอ่ื พฒั นาการอา่ นการเขียนของนกั เรยี นต่อไป

๒. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ และได้จัดกิจกรรมที่หลากหลายใหน้ ักเรยี นไดอ้ ่านคลอ่ งเขียนคลอ่ ง
๓. จดั ให้มีการประเมนิ ผลนกั เรียน ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๔-๖ ในชัว่ โมงเรยี น
๔. นักเรียนประถมศกึ ษาปีท่ี ๔-๖ อยใู่ นระดับดมี าก คิดเปน็ ร้อยละ ดงั ภาคผนวก หน้า ๑๙ – ๒๐

๓. กิจกรรมนักเรยี นมสี มรรถนะการอ่านขนั้ สูง
ผลกำรดำเนินงำน

๑. ครผู ูส้ อนภาษาไทยชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เตรียมเนื้อหาความรู้และรวบรวมขอ้ สอบแบบฝึกการอ่าน
ใจความ และขอ้ สอบการอ่าน PISA

๒. การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ และได้จดั กิจกรรมทห่ี ลากหลายใหน้ กั เรียนรู้จักการอ่านจับใจความและ
คุน้ เคยกบั ขอ้ สอบการอา่ น PISA

๓. จดั ใหม้ ีการประเมินผลนกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ - ๓ ในช่ัวโมงเรียน
๔. นักเรียนมัธยมศึกษาปที ่ี ๑ - ๓ อยู่ในระดับดมี าก คิดเป็นร้อยละ ดังภาคผนวก หนา้ ๒๑ – ๒๒

๖. ปญั หำ อุปสรรค ข้อเสนอแนะเพอ่ื กำรพฒั นำ
ระดบั โรงเรียน

โรงเรยี นประตชู ัย ไดด้ าเนินงานตามตามนโยบาย “เดก็ ไทยวิถีใหม่ อา่ นออก เขียนได้ทุกคน” ไม่เต็มท่ี

มีจัดการเรียนการสอนแบบ On Hand On Demand On Line เน่ืองจากการสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตลอดภาคเรียนท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

ระดบั หอ้ งเรียน
๑. กิจกรรมนักเรียนทุกคนอ่านออกเขยี นได้

ปญั หำ อุปสรรค ข้อเสนอแนะเพ่อื กำรพัฒนำ
๑. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไม่เต็มที่มีจัดการเรียนการสอนรูปแบบ On Hand On Demand

On Line เนือ่ งจากการสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตลอดภาคเรยี นที่ ๑
ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

๒. การคัดกรองนกั เรียน พบว่า วิเคราะหห์ าสาเหตุ ระดบั ของปัญหาของนักเรยี นท่ีอา่ นไมอ่ อก เขียน
ไม่ได้ เช่น ยังไม่รู้จักพยัญชนะ สระประสม และหรือวรรณยุกต์บางรูป ผันวรรณยุกต์ไม่ได้ ยังสะกดคาไม่ได้
อ่านคาท่ีประสมในแม่ กกา ไม่ได้ คาที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราตัวสะกด คาท่ีมีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา
คาทมี่ ีสระลดรปู คาควบกล้า คาทมี่ อี ักษรนา คาทม่ี ีตวั การนั ต์ เป็นต้น

๒ กจิ กรรมนักเรยี นอ่านคล่องเขียนคล่อง
ปญั หำ อปุ สรรค ข้อเสนอแนะเพ่อื กำรพฒั นำ

๑. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไม่เต็มท่ีมีจัดการเรียนการสอนรูปแบบ On Hand On Demand
On Line เน่ืองจากการสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตลอดภาคเรียนท่ี ๑
ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

๒. การคัดกรองนักเรียน พบว่า จาการวิเคราะห์หาสาเหตุ ระดับของปัญหาของนักเรยี นอื้ ่านไม่คล่อง
เขียนไม่คล่อง เนื่องจาก นักเรียนยังขาดการฝึกฝนทักษะการอ่านการเขียนอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการทบทวน
เนื้อหาตามกระบวนการการจัดการเรียนรู้ อีกทั้งยังขาดความเข้าใจในหลักไวยกรณ์ อักขรวิธีของภาษาไทย
ซึง่ เปน็ ปจั จยั ท่ีสาคัญในการอา่ นและการเขยี น

๓. กิจกรรมนักเรียนมสี มรรถนะการอา่ นขนั้ สูง

ปัญหำ อุปสรรค ข้อเสนอแนะเพอื่ กำรพัฒนำ
๑. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไม่เต็มท่ีมีจัดการเรียนการสอนรูปแบบ On Hand On Demand

On Line เนอ่ื งจากการสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตลอดภาคเรยี นที่ ๑
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

๒. การคัดกรองนักเรียน พบว่า จากการวิเคราะห์หาสาเหตุ ระดับของปัญหาของนักเรียนในการอ่าน
สมรรถนะขั้นสูงของนกั เรียนขาดทักษะการคิด การวิเคราะห์และแยกแยะประเด็นที่สาคัญของเนื้อหา รวมถงึ
การตีความ การจับใจความสาคัญของเน้ือหา อีกทั้งยังขาดความรู้ความเข้าใจ ขั้นพื้นฐานในท่ีอ่านซึ่งเป็น
พื้นฐานทสี่ าคญั ในการคิดวิเคราะห์ข้ันสูง

10

ภำคผนวก

11

12

13

14

15

16

17

18

19

ผลกำรคัดกรองควำมสำมำรถในกำรอ่ำนออกเขียนได้
นกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษำปที ่ี ๑-ช้นั มัธยมศกึ ษำปที ี่ ๓

20

21

22

23

ภำพกิจกรรม : นกั เรยี นอ่ำนออก เขยี นได้

24

25

ภาพกจิ กรรม : นักเรยี นอา่ นคล่องเขยี นคลอ่ ง

26

27

ภาพกิจกรรม : นกั เรยี นมสี มรรถนะการอ่านขนั้ สูง

28

ภำพกิจกรรม : กำรรำยงำนรูปแบบ PTC LINE

29

30

31

32

33

34

35

36

37

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita