แผนการสอนวิชาทักษะการเรียนรู้ ประถม กศน

  • หน้าหลัก
  • เกี่ยวกับเรา
    • ประวัติความเป็นมา ที่ตั้ง
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจสถานศึกษา
    • โครงสร้างหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
    • บุคลากร
    • ★กศน.อำเภอเก้าเลี้ยว ★
    • เว็ปไซต์กศน.ตำบล 5 แห่ง
    • ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง ด้านการศึกษา
    • งานประกันคุณภาพ
    • Facebook กศน.ตำบลทั้ง 5 แห่ง
  • งานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
    • ข้อสอบออนไลน์ รายวิชาเลือก ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
    • ใบสมัครเรียน กศน.
    • เอกสาร กพช
    • ข้อสอบออนไลน์ รายวิชาเลือก ชั้นประถมศึกษา
    • งานการศึกษาต่อเนื่อง
    • งานวิจัย
    • แผนการจัดการเรียนรู้ออนไลน์
    • งานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
    • ระบบห้องเรียนออนไลน์ (Google Classroom)
    • ข้อสอบออนไลน์ รายวิชาเลือก ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
    • ETVติวเข้มเติมเต็มความรู้
    • หลักสูตรเพื่อพัฒนาอาชีพ
    • VDO อาชีพออนไลน์กับกศน.อำเภอเก้าเลี้ยว
    • ข้อสอบออนไลน์ รายวิชาบังคับ
    • ข้อสอบออนไลน์ รายวิชาเลือกเสรี
    • ข้อสอบออนไลน์ รายวิชาเลือกเสรี 2 2563
    • ข้อสอบซ่อมออนไลน์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
    • E - book หนังสือเรียน กศน. รายวิชาบังคับ
    • E - book หนังสือเรียน กศน. รายวิชาเลือกบังคับ
    • ☆สรุปเนื้อหาและเก็งข้อสอบสำหรับนักศึกษา ☆
    • ห้องเรียนออนไลน์
  • ระบบสารสนเทศ
    • ระบบ DMIS62
    • ระบบ e-Office
    • ระบบ e-Budget
    • ปริ้นสลิปเงินเดือน
    • ระบบ ข่าวประชาสัมพันธ์
  • ห้องสมุดประชาชนอำเภอเก้าเลี้ยว
    • หนังสือออนไลน์
    • เพจ ห้องสมุด
    • ประวัติห้องสมุด
    • กิจกรรมห้องสมุดประชาชนอำเภอเก้าเลี้ยว
  • สมัครเรียนออนไลน์
    • สมัครเรียนกับกศน.อำเภอเก้าเลี้ยว
    • เรียนออนไลน์ นักศึกษา ม. ต้น ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563
    • เรียนออนไลน์ นักศึกษา ม. ปลาย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563
    • เรียนออนไลน์ นักศึกษา ม. ต้น ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
    • เรียนออนไลน์ นักศึกษา ม. ปลาย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
    • เรียนออนไลน์ นักศึกษา ม. ปลาย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
    • เรียนออนไลน์ นักศึกษา ม. ต้น ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
    • เรียนออนไลน์ นักศึกษา ม. ปลาย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
    • เรียนออนไลน์ นักศึกษา ม. ต้น ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
  • ผลการเรียนออนไลน์
  • ระบบรายงานข่าว

แผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู กศน. แบบบูรณาการ ตามรูปแบบ ONIE Modal หนว ยการเรยี นรทู ี่ 1 – 5 หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ....... ปก ารศกึ ษา ................ สาํ นกั งานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวดั กาญจนบุรี สํานกั งานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สาํ นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร

คาํ นํา แผนการสอน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา ฉบับน้ี จัดทาํ ข้ึนเพอ่ื เปนแนวทางในการจดั กิจกรรมการเรียนรู 6 ช่ัวโมงตอสัปดาห มีเน้ือหา รายวิชา 3 รายวิชาหลักที่มีการลงทะเบียนเรียน คือ ทักษะการเรียนรู (ทร11001) วิทยาศาสตร (พว11001) เศรษฐกิจพอเพียง (ทช11001) จุดเนนการปฏิบัติในการจัดทําแผนการสอนเลมนี้ ผูจัดทําไดรวบรวมองคความรู ทักษะและสภาพปญหาจากการจัดกระบวนการเรียนรูท่ีผานมา เพ่ือนํามาปรับปรุงเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพ กระบวนการจัดการเรียนรู ใหม ปี ระสิทธิภาพมากยงิ่ ข้นึ มกี จิ กรรมการเรยี นรทู ค่ี รบตามเน้ือหา ตวั ชว้ี ดั และพัฒนา ผูเรยี นใหม ีคุณสมบัติทพ่ี ึงประสงคข องสถานศกึ ษา ขอขอบคุณ ภาคีเครือขายและผูท่ีมีสวนเกี่ยวของทุกทาน ที่ใหความรู คําแนะนําและให คาํ ปรึกษาเปนแนวทาง ทําใหแผนการจัดการะบวนการเรียนรูเ ลมนี้จนสาํ เร็จ เปนรปู เลม สมบูรณ ผูจดั ทําหวงั เปน อยางยิ่งวาเอกสารเลม น้ี จะเปนประโยชนสาํ หรบั ผูน ําไปใชจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ หากพบ ขอผดิ พลาดหรือมขี อ เสนอแนะประการใด ผูจัดทาํ ขอนอมรับไวแ กไ ขปรบั ปรุงดว ยความขอบคุณยิง่ ผูจ ัดทํา กศน.อาํ เภอเมืองกาญจนบรุ ี

แนวนโยบาย จดุ เนนการปฏบิ ตั ใิ นการจดั การศกึ ษาเพอ่ื ยกระดับคุณภาพการศกึ ษานอกระบบแบบมุง ผลสมั ฤทธ์ิ กระทรวงศึกษาธิการ กาํ หนดใหเปนปแ หงการยกระดับคณุ ภาพการศึกษา สานกั งาน กศน.จึงปรบั ปรุง การจัดการศกึ ษาตา งๆ เพ่ือยกระดบั คุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ดงั น้ี การจดั การเรียนการสอนการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน 1. ผเู รียน เปน นกั ศึกษาท่ลี งทะเบยี นเรียน มีตวั ตนจรงิ มเี ลขบตั รประชาชน และสามารถมาเรียนที่สถานศกึ ษาได อยา งตอเนื่อง 2. ครู 2.1 ครสู อนการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน หมายถงึ ครู กศน.ตําบล ครู ศรช. และ ครอู าสาสมคั ร ครู 1 คน รบั ผิดชอบผเู รยี น 1 กลมุ ๆ ละ 50 คน 2.2 ครสู อนผูพ กิ ารทางสตปิ ญญา ครู 1 คน รบั ผดิ ชอบผูเรียน 1กลมุ ๆละ 5 คนไมเกิน 8คน 2.3 ครูสอนผูพิการทางรางกายครู 1คน รับผดิ ชอบผเู รยี น 1 กลุม ๆ ละ 10คน ไมเกิน 15คน 2.4 ครู ศศช. ครู 1 คน รบั ผิดชอบผูเ รียน 1 กลมุ ๆ ละ 40 – 80 คน ใหน ับรวมผเู รยี นระดบั ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนตน มธั ยมศึกษาตอนตน และผูไมร หู นังสือดว ย 2.5 ครู English Program ครู 1คน รับผิดชอบผเู รยี น 1 กลุมๆละ 30 คน ไมเ กิน 35คน 2.6 ขาราชการครู ขาราชการท่ีปฏบิ ตั ิงานในสถานศกึ ษาที่จดั การศกึ ษา และสํานกั งาน กศน.จงั หวดั ให ทําหนาทสี่ อนเสริมในวชิ าที่ถนดั สปั ดาหล ะ 6 ชั่วโมง และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ใหครบ 6 ช่ัวโมง 2.7 ครูประจาํ กลุม ครปู ระจาํ กลุมใหแตง ตัง้ ครปู ระจํากลมุ 3 หนว ยงานคือ หนวยงานทหาร เรือนจํา และ อสม. เทาน้นั 2.7.1 ครูประจํากลมุ 1 คน รบั ผดิ ชอบผเู รยี น 1 กลุมๆ ละ 80 คน 2.7.2 ครูประจาํ กลมุ ใหมีในหนวยงานทหาร เรอื นจํา และ อสม. เทา น้นั 2.7.3 บุคลากร กศน. ทุกคนท่ีรับเงินเดือนจาก สานักงาน กศน. และตองการขอใบประกอบวิชาชีพครูใหแตงต้ัง ครูประจํากลุมได และตองปฏิบัติการสอนจริงโดยไมเบิกคาตอบแทน เมื่อมีใบประกอบวิชาชีพครูแลวไมตองทํา การสอน 3. การจัดการเรียนการสอน 3.1 กําหนดใหมีการเรียนการสอน 9 ชั่วโมง แทนการพบกลุมแบบเดิม และใชคําวา การเรียน กศน. กลาวคือ ครูและผูเรียนตองมีการเรียนการสอน และทํากิจกรรมรวมกัน 9 ช่ัวโมง แบงเปนการจัดการเรียนการ สอนในรายวิชาท่ีลงทะเบียนเรียนและสอนเสริม จํานวน 6 ช่ัวโมง จํานวน 3 ช่ัวโมงที่เหลือ เปนการจัดกิจกรรม รว มกันระหวางผูเ รียนและครู ซึ่งเปน กิจกรรมในแหลง เรียนรู หรอื ICT ฯลฯ 3.2 ผูเรียนทม่ี ีเวลาเรยี นไมค รบรอ ยละ 75 ไมมสี ิทธิเขาสอบตน ภาคเรียน

3.3 ใหจ ดั ทาตารางการเรยี นการสอน ชั่วโมงท่ี 1 ,ชั่วโมงท่ี 2 …….. สอนวชิ าอะไร สอนเสริมอะไร เวลา เทาไร 3.4 ใหจ ดั ทาตารางการสอนของขา ราชการครทู ี่ทาํ หนา ท่สี อนเสรมิ ดว ย โดยผบู รหิ ารจัดทาํ คาํ สงั่ แตงตงั้ 3.5 การสอนเสริมใหขาราชการครูทําหนาที่สอนเสริมกลุมละ 1 ชั่วโมง ถาขาราชการครูไมพอจึงจาง บุคคลภายนอกมาสอนเสริม บุคคลภายนอกท่ีสอนเสริม จะสอนเสริมไดไมเกิน 3 ช่ัวโมงตอสัปดาห สวนจะสอน จาํ นวนกี่สปั ดาหใหพิจารณาจากความเหมาะสม ความจําเปน และวงเงนิ งบประมาณของสถานศึกษา 4. กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต (กพช.) กําหนดใหทํากิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวิต (กพช.) 200 ชั่วโมง ตลอดหลักสูตร แมว าผูเรียนเทียบโอน ผลการเรียนแลวและเหลือระยะเวลาเรียน 1-2 ภาคเรียน ก็ตองทํา กพช. 200 ช่ัวโมง โดยใหใชหลักเกณฑ ดงั กลา วกบั ผเู รยี นทั้งเกาและใหมท ่ีลงทะเบียนเรียน 5. การเทียบระดับการศึกษา 5.1 การเทยี บระดับการศกึ ษา (เดิม) ใหร บั สมัครใหมเฉพาะระดับประถมศึกษาเทานั้น ระดับมัธยมศึกษา ตอนตนและตอนตน ใหรับประเมินซอมเฉพาะผูขอเทียบระดับการศึกษาท่ีมีผลคะแนนบางมิติอยูแลว ซึ่งจะเปด ประเมินอีก 2 คร้ัง เทานั้น การเทียบระดับการศึกษาระดับประถมศึกษา ใหมีการประเมินทักษะการอาน เขียน ภาษาไทยกอ นจบดว ย 5.2 การเทยี บระดับการศกึ ษา (เดมิ ) และการเทยี บระดับการศึกษาในระดบั สูงสุดการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน (การเทียบระดับสงู สุด) ใหม กี ารจดั สมั มนาวิชาการ 3 วนั 2 คืน หรอื 50 ช่ัวโมง โดยใชแ นวปฏิบตั ิเชน เดียวกบั การเทียบระดบั การศึกษา (เดมิ ) 6. การจดั การศกึ ษาตามหลักสตู รประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) 6.1 จงั หวัดใดทย่ี ังไมเ คยจัดการเรียนการสอน ปวช.ใหเปดได 1 หอง 6.2 จงั หวดั ท่ีเคยจัดการเรียนการสอน ปวช.แลว ใหเปด เพิ่มไดอกี 1 หอ ง 6.3 ใหส านักงาน กศน.จังหวัด จั ดทา MOU (Memorandum Of Understanding) กับส ถา น ประกอบการ และสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา สําหรับสถานศึกษาขึ้นตรงให ผูบริหารสถานศึกษาจัดทา MOU ไดโดยตรง 6.4 ครู ปวช. 1 คน รบั ผดิ ชอบผเู รยี น 1 กลุม ๆ ละ 40 คน ไมเ กิน 45 คน 7. การจัดการเรียนการสอนผูไมร หู นังสือ 100 % 7.1 การสาํ รวจขอ มลู ผูไมร หู นงั สือและความตอ งการทางการศึกษา ใหส าํ รวจประชากรทุกคน 7.1.1 ทม่ี อี ายุ 15 ปขน้ึ ไป 7.1.2 เกบ็ ขอ มลู ทุกครัวเรอื น ทกุ คนและเก็บเปนรายบคุ คล แมคนท่ีมชี ื่อแตไมอยบู านใหเ กบ็ ขอมูลทางโทรศัพท หรือสอบถามผใู กลช ดิ ท่ีทราบขอมูล 7.1.3 การรวบรวมขอมูลใหครู กศน. และอาสาสมัคร กศน.เปน ผดู าํ เนนิ การ และเบิกจา ยคาตอบแทนใหถกู ตอง ตามระเบยี บราชการ

7.2 การประเมินระดบั การรูหนงั สือ การประเมินระดับการรหู นังสือ ประเมนิ เฉพาะผทู ี่มีอายรุ ะหวา ง 15-59 ป 7.3 การสอนผไู มร หู นังสือ สอนโดย ครู กศน.ทุกคน โดยเฉล่ียกลมุ เปาหมายใหค รทู ุกคนรบั ผดิ ชอบ ตวั อยาง จากการประเมนิ ระดับการรูหนังสอื แลว มีผไู มร หู นังสอื 20 คน สถานศกึ ษามคี รู 5 คน (ครู กศน.ตาํ บล, ครู ศรช., ครูอาสาสมคั ร) ใหเฉล่ยี ความรบั ผิดชอบใหครูทง้ั 5 คน 8. อ่นื ๆ ใหแ ตง ตงั้ หัวหนา กศน.ตําบล ใหค รบทุกตําบล โดยคดั เลอื กจากครูอาสาสมัครเปนอันดับแรก

วิเคราะหส ภาพปญหา ผลกระทบตอการจดั การเรียนรูของผเู รียน การจัดกระบวนการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุงพัฒนาใหผูเรียนสูความเปนคน “คิดเปน” โดยเนนพัฒนาทักษะการแสวงหาความรู ประยุกตใชความรู และสรางองคกรความรูสําหรับตนเอง และชุมชน สังคม ซ่ึงกําหนดการจัดกระบวนการเรียนรูแบบ กศน. หรือ ONIE MODEL เปนการจัดกระบวนการเรียนรทู ม่ี คี วามหลากหลาย ประกอบดวย 4 ขน้ั ตอน ดงั น้ี ขนั้ ที่ 1 กําหนดสภาพ ปญหา ความตอ งการในการเรียนรู (O: Orientation) ขนั้ ท่ี 2 แสวงหาขอ มูลและจัดการเรียนรู (N: New ways of learning) ขัน้ ที่ 3 ปฏบิ ัติและนาไปประยุกตใ ช (I: Implementation) ข้นั ท่ี 4 ประเมนิ ผลการเรียนรู (E: Evaluation) การจัดกระบวนการเรยี นรูทเี่ หมาะสมกับผูเรียนท่ีหลากหลาย มีความแตกตางกนั ทั้งดาน อาชพี อายุ สภาพสังคม ศาสนา ฯลฯ จาเปนตองวิเคราะหสภาพปญหาท่ีสงผลกระทบตอการเรียนรูของผูเรียนดานตางๆ แลวนํามาจัดกระบวนการเรียนรูใหตรงกับความตองการของผูเรียนโดย บูรณาการสภาพปญหาท้ังหมด เขา กับหนวยการเรียนรู ตัวชี้วัด และวัตถุประสงคการเรียนรู เพ่ือมุงสูผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามวัตถุประสงคของ การจดั การเรียนรู สามารถวิเคราะหสภาพปญหาในปจจบุ นั ได ดังน้ี ดานการศึกษา การสบื คน ขอมลู จากสื่อแหลง เรียนรู อินเตอรเ น็ต ความสําคัญของการเรียนรูแบบ กศน. และการนํา ความรไู ปปรับใชใ นชีวติ ประจําวัน ดานการเมืองการปกครอง กฎหมาย การเมืองการปกครอง สถานการณทางการเมอื ง การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี พระมหากษัตริยทรงเปน ประมขุ ดา นสังคม การวางแผนการดํารงชพี ทเี่ หมาะสมกบั สภาพสังคมปจจุบัน การปรบั ตัวเขา กบั สภาพชุมชน จารีต ประเพณี ธรรมเนยี มปฏบิ ัติในการอยูรว มในสังคม ดา นวฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ความสาํ คัญของวฒั นธรรมประเพณี คุณธรรม จรยิ ธรรมในการดําเนินชวี ิต วฒั นธรรมตางประเทศ การ ปฏิบตั ิตนตามหลกั คาสอนของพุทธศาสนา ดา นสงิ่ แวดลอ ม มลพศิ ทางเสยี ง ทางอากาศ ทางนํา้ ปา ไมและการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ การดาํ เนนิ ชวี ติ ตามแนว ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ดา นสุขภาพ ความรู ความเขา ใจในดานสาธารณสขุ การใชย าสมนุ ไพรในการรักษาโรค ก กฎหมายที่เกย่ี วขอ งกบั การ คุมครองผบู ริโภคพฤติกรรมการเลยี นแบบ ความรูเรอ่ื งสารเสพตดิ ดา นเทคโนโลยสี ารสนเทศ ความรูเร่ืองการใชคอมพิวเตอร อินเตอรเน็ท และสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ การใชสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศท่ี ทันสมัย การเขา ถึงแหลง สงเสรมิ การใชส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศอยา งทวั่ ถงึ

รายวิชาท่ลี งทะเบยี นเรยี น แผนการลงทะเบียนท่ี 4 รายวิชาทล่ี งทะเบยี นเรียน ภาคเรยี นที่ .......... ปก ารศึกษา ........... สาระการเรยี นรแู ละรายวิชาทลี่ งทะเบยี นเรยี นภาคเรียนท่ี ........... ปก ารศึกษา ........ ที่ สาระการเรยี นรู รหัส รายวชิ าบังคบั หนว ยกติ ทร 11001 รายวชิ า 1 ทกั ษะการเรยี นรู 5 2 ความรูพ ้ืนฐาน พว 11001 ทักษะการเรียนรู 3 3 ทักษะชีวิต ทช 11001 วิทยาศาสตร 1 เศรษฐกจิ พอพยี ง 9 รวม

ปฏทิ ินการเรยี นรูน กั ศกึ ษา กศน. หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ระดบั ประถมศึกษา แผนการเรียนที่ 4 ภาคเรยี นที่ .............. ปการศกึ ษา ...................... กศน.ตําบล.............................. กศน.อําเภอเมอื งกาญจนบรุ ี จังหวดั กาญจนบรุ ี

ปฏทิ ินการเรียนรูนักศกึ ษา กศน. หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ............ ปก ารศกึ ษา ........................ กศน.ตาํ บล.................... กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบรุ ี สัปดาหท ่ี ว/ด/ป การเรียนรูแบบบูรณาการ กจิ กรรมการเรยี นรู 1 ปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษาภาคเรียนที่ ......../....................... 2 วชิ า ทักษะการเรียนรู ทร11001 วิชา ทกั ษะการเรียนรู ทร11001 - ฝกทกั ษะพืน้ ฐานทางการศึกษา แกป ญหา เทคนิคในการเรียนรูดวยตนเอง ทกั ษา ใหผูเรียนไดดูคลปิ ในเร่ืองเก่ียวกบั การเรยี นรดู วยตัวเอง และให การวางแผน การประเมินผลการเรยี นรู การวเิ คราะหวิจารณ ผเู รียนสรปุ เปนรายงาน แผนพับ พรอมนาํ มาใหเ พ่ือนฟงในการพบ กลุมที่ กศน.ตําบล ครูสรุปอกี ครัง้ เพื่อใหผเู รียนไดมีความคิดทเ่ี ปน การเรยี นรดู ว ยตวั เอง 3 วิชา ทกั ษะการเรยี นรู ทร11001 วิชา ทกั ษะการเรยี นรู ทร11001 - ศกึ ษาเรียนรกู ารใชอ นิ เทอรเนต็ การเขาถึงขอมลู สารสนเทศและศักยภาพการ ใหผูเรียนไปศกึ ษานอกสถานท่ี พรอมเรื่องราวท่ีไดเ รียนมา 5 เร่ือง ประกอบอาชีพโดยเนน และอภิปรายแลกเปล่ยี นเรยี นรู ใหเพื่อนฟง ครแู ละผูเรยี นสรุปพรอม - ศกั ยภาพของทรพั ยากรธรรมชาติในแตละพ้ืนท่ี กันอีกคร้ัง และใหผูเรยี นทําเปนรายงาน จับใจความสาํ คัญ สง เพอ่ื - ศักยภาพของศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของแตล ะพนื้ ท่ี เปนคะแนนเกบ็ 4 วิชา ทักษะการเรยี นรู ทร11001 วชิ า ทกั ษะการเรียนรู ทร11001 ฝกทักษะกระบวนการจัดการเรยี นรู การแสวงหาการประยุกตใชความรู การ ใหผเู รยี นศึกษาแนวทางการเรยี นรใู นส่ิงรอบตัวเรา และจัดบอรด แลกเปลี่ยนเรียนรแู ละการพัฒนาขอบขายความรู ความรู เพื่อใหเพ่ือนไดศึกษา และอธบิ ายใหเพ่ือนฟงในการพบกลุมท่ี กศน.ตาํ บล

ปฏทิ นิ การเรียนรูนักศกึ ษา กศน. หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ............ ปก ารศึกษา ........................ กศน.ตาํ บล.................... กศน.อาํ เภอเมอื งกาญจนบรุ ี จังหวัดกาญจนบุรี 5 วชิ า ทกั ษะการเรียนรู ทร11001 วิชา ทักษะการเรยี นรู ทร11001 ศกึ ษาฝกทกั ษะสถติ อิ ยางงา ยเพอื่ การวจิ ยั เครื่องมือการวิจัย และการเขียน ใหผูเรียนเลาการดําเนินชีวิตประจําวันของแตละคน และลอง โครงการวิจยั ดําเนินการวิจัยวาการดําเนินชีวิตของเรามีความสุขหรือไม พรอม ศัพทภาษาอังกฤษท่ีเก่ียวของกับการดําเนินชีวิตอยางนอย 5 คํา นํามาสรุปเปนแผนผังความคิด และอธิบายใหเพื่อนฟงในการพบกลุม ที่ กศน.ตําบล และครูเปนผสู รปุ ในภาพรวมทัง้ หมดของผูเ รียน 6 วิชา ทกั ษะการเรยี นรู ทร11001 วชิ า ทกั ษะการเรยี นรู ทร11001 ทบทวนความเขาใจความเช่ือพื้นฐานทางการศึกษาผใู หญการศกึ ษานอกระบบ การ ใหผเู รียนไปศึกษาแนวทางดานคณุ ธรรม จริยธรรม ที่เหมาะสมของ เชือ่ มโยงไปสูการเรียนรู ความหมายความสาํ คัญของการคิดเปน ประชาชนและการเลือกใชผ ลติ ภัณฑท เี่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม นํามา แกปญหา จาก สื่อออนไลน หนงั สือ ครอบครวั ผรู ใู นชุมชน แลว นาํ มาอภิปรายแลกเปลย่ี นเรยี นรใู หเ พอ่ื นฟงในการพบกลมุ ท่ี กศน. ตําบล 7 วิชา ทกั ษะการเรียนรู ทร11001 วิชา ทกั ษะการเรยี นรู ทร11001 การฝกทักษะในการพจิ ารณาขอ มลู และการนําไปใช การฝกปฏิบตั ิการคิด การ ใหผ ูเ รียนไปศึกษาคน ควา การอนุรักษทาํ นบุ ํารงุ สง เสริม ตดั สินใจ อยางเปนระบบในการแกป ญหา ศิลปวัฒนธรรม จากวัดไชยชมุ พลชนะสงคราม แหลงเรียนรู โดยการ เปนจิตอาสาในการทาํ ความสะอาดหองน้ําวดั และสรา งสถิตใิ นการ เปน จติ อาสาของแตละคนนํามาทํารายงาน และอธบิ ายเพิ่มเติมให เพ่อื นฟง ในการพบกลมุ ที่ กศน.ตําบล

ปฏิทนิ การเรยี นรนู กั ศึกษา กศน. หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ............ ปก ารศกึ ษา ........................ กศน.ตาํ บล.................... กศน.อําเภอเมอื งกาญจนบรุ ี จังหวัดกาญจนบุรี 8 วชิ า วิทยาศาสตร พว11001 วชิ า วิทยาศาสตร พว11001 1. กระบวนการทางวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี - ใหผเู รยี นไปศกึ ษาเร่ืองวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี จํานวน 1 เร่ือง จาก สอื่ ออนไลน หอ งสมุด หนงั สือ แหลง เรยี นรู ผูร ู ภมู ปิ ญ ญา 9 วิชา วิทยาศาสตร พว11001 ทองถ่นิ สรุปเปน รายงานนํามาเสนอใหเพื่อนฟง และครกู ับผเู รียน 1. สิ่งมีชีวิตและส่งิ แวดลอ ม สรุปเนื้อหาท่เี ชือ่ มโยงกับวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ในการพบกลมุ 2. ระบบนิเวศ ที่ กศน.ตําบล - ใหผ เู รียนไปศกึ ษาคน ควา วิทยาศาสตรของตนเอง จาก สือ่ ออนไลน หนงั สือ ผูรู สรุปเปน แผนพบั และแสดงบทบาทสมมตุ ใิ หเพ่ือนดู พรอมทัง้ ครูและผูเรียนสรปุ รว มกนั ในการพบกลุมที่ กศน.ตําบล วิชา วิทยาศาสตร พว11001 - ใหผ ูเ รียนศึกษาคนควา ลักษณะของส่ิงมีชีวติ จาก สื่อออนไลน หนงั สือ แหลงเรยี นรู สรุปเปน แผนผังความคิด และนาํ มานําเสนอให เพือ่ นฟง พรอมทั้งครูและผูเรียนสรุปรวมกันในการพบกลุมท่ี กศน. ตําบล - ใหผ ูเรยี นไปศกึ ษาคน ควา เกณฑในการจัดกลุมว่ิงมีชีวติ จาก สอื่ ออนไลน แหลง เรยี นรู ผูรู นาํ มาจัดนทิ รรศการ และครอู ธบิ าย เพิ่มเติมใหผ ูเ รยี นฟงในการพบกลมุ ท่ี กศน.ตาํ บล

ปฏิทนิ การเรยี นรูนักศกึ ษา กศน. หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ............ ปการศกึ ษา ........................ กศน.ตําบล.................... กศน.อําเภอเมอื งกาญจนบรุ ี จังหวัดกาญจนบุรี 10 วิชา วิทยาศาสตร พว11001 วชิ า วิทยาศาสตร พว11001 1. ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ ม - ใหผเู รียนฝก ทกั ษะการอานจากสอ่ื ท่ีชืน่ ชอบจากหองสมุด แหลง 2. การอนรุ ักษท รัพยากรธรรมชาติ เรียนรู แลวใหเขียนสรปุ เปนชิน้ งาน เสนอหนาหองเรยี นในวนั พบ กลุมโดยครูและผูเรยี นรวมกนั สรปุ บทเรยี น พรอมใหบันทึกลงใน 11 วชิ า วิทยาศาสตร พว11001 - ใหผเู รยี นแสดงบทบาทสมมุติ เปนดาราท่ีชืน่ ชอบ และสรุปถงึ ขอดี 1. ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ ม ขอ เสีย ของการแตงกาย พรอมอบหมายใหผูเรียน นาํ เสนอ โดย 2. การอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติ จัดเปนบอรดความรู ในวันพบกลมุ โดยครูและผูเรียนรวมกันสรุป 12 วิชา วิทยาศาสตร พว11001 วชิ า วิทยาศาสตร พว11001 1. แรงและการเคล่อื นที่ของแรง - ใหผเู รียนแบงกลมุ ศึกษาคน ควา ถึงระบบนิเวศ จากอินเทอรเ น็ต 2. พลงั งานในชวี ิตประจาํ วนั จากแหลง เรียนรู นาํ มาสรปุ หนาชน้ั เรียนโดยครูและผเู รยี นรว มกนั สรปุ บทเรียน พรอ มใหบนั ทึกลงใน -. จัดสอนเสริมและคายวิชาการ ใหกับผูเรียนในรายวิชาทีย่ ากโดย เชญิ วิทยากร ผรู มู าใหความรูแกผเู รยี นใน กศน.ตําบล โดยครูและ ผูเรยี นรวมกนั สรปุ องคความรูทีไ่ ดร บั วชิ า วิทยาศาสตร พว11001 - ใหผูเรยี นศึกษาวิธกี ารของแรงและการเคลอื่ นทีข่ องแรง จากผรู ู จากสอ่ื อินเทอรเ น็ต และบันทกึ การเรียนรลู งใน กรต. พรอมท้งั ครู นาํ ผเู รยี นเขารว มกิจกรรมการใชพ ลังงาน ครแู ละผเู รียนรว มกันสรุป ถึงผลการเขารว มกิจกรรมดงั กลาวและบันทึกลงในสมดุ - ใหผ เู รียนแบงกลุมนกั ศกึ ษาทาํ แผนภาพแสดงความคดิ เร่อื งสิทธิและ ประโยชนในการมีสว นรว มในดาราศาสตรพ รอมนาํ เสนอหนาชัน้ เรียน ครแู ละผูเรียนรว มกันสรุปรวมกนั

ปฏิทินการเรยี นรูนกั ศึกษา กศน. หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ............ ปก ารศึกษา ........................ กศน.ตําบล.................... กศน.อําเภอเมอื งกาญจนบรุ ี จังหวดั กาญจนบุรี 13 วชิ า วิทยาศาสตร พว11001 วชิ า วิทยาศาสตร พว11001 1. แรงและการเคล่อื นที่ของแรง - ใหผ ูเรียนแบง กลมุ ศึกษาเร่ืองการใชพ ลังงานเชงิ อนรุ ักษ จากแหลง 2. พลังงานในชีวิตประจาํ วัน เรียนรู อินเทอรเน็ต และจดั เปน บอรด ความรูในหอ งเรียนครูและ ผเู รยี น รว มกนั สรปุ ถงึ สาเหตุการเกิดภยั พิบัติ บนั ทกึ ลงใน กรต. 14 วชิ า เศรษฐกิจพอเพียง ทช11001 - แนวคดิ หลกั การ ความหมาย ความสาํ คญั วชิ า เศรษฐกิจพอเพียง ทช11001 - ประกอบอาชพี อยา งพอเพยี ง ใหผูเรยี นไดด ูคลิป ในเรื่องเกี่ยวกับการเมือง การปกครอง และ - สรา งเครอื ขายดําเนินชวี ติ แบบพอเพียง บทบาทหนา ท่ีของประชาชนและใหผเู รียนสรปุ เปนรายงาน แผนพับ และนาํ มาใหเพื่อนฟงในการพบกลุม ท่ี กศน.ตําบล ครูสรปุ อีกครั้ง 15 วิชา เศรษฐกิจพอเพียง ทช11001 ขนบธรรมเนยี มประเพณวี ัฒนธรรม วชิ า เศรษฐกิจพอเพียง ทช11001 ใหผูเรียนไปศกึ ษา ความพอเพยี งที่ประชาชนควรรู และสทิ ธิหนา ท่ี ของตนเอง จาก สือ่ ออนไลน หนังสือ แลวใหสรุปเปน แผนผงั ความคดิ พรอมคาํ ศัพทภาษาอังกฤษทเี่ กี่ยวกับกฎหมายทปี่ ระชาชน ควรรูมา 5 คํา และอภปิ รายแลกเปล่ียนเรียนรู ใหเ พือ่ นฟง ครูและ ผูเรียนสรปุ พรอมกนั อีกครัง้ และใหผ เู รยี นทําเปนรายงาน จับใจความสาํ คัญ สง เพอื่ เปนคะแนนเกบ็

ปฏทิ นิ การเรยี นรูน กั ศกึ ษา กศน. หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ............ ปการศกึ ษา ........................ กศน.ตาํ บล.................... กศน.อําเภอเมอื งกาญจนบรุ ี จังหวัดกาญจนบุรี 16 วิชา เศรษฐกิจพอเพียง ทช11001 วิชา เศรษฐกิจพอเพียง ทช11001 การดูแลรกั ษาสุขภาพดว ยการออกกาํ ลังกาย ใหผเู รยี นศกึ ษาแนวทางการทาํ อาชพี ทพี่ อเพียง จาก สอ่ื ออนไลน แหลง เรยี นรู หองสมดุ สรปุ ใจความสาํ คัญลงในกระดาษชารต และจัด บอรทความรู เพ่ือใหเพื่อนไดศกึ ษา และอธิบายใหเ พ่ือนฟงในการพบ กลุมท่ี กศน.ตาํ บล 17 สอบกลางภาคเรยี นที่ ………/…………. 18 สอบปลายภาคเรียนท่ี ............./............

แผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู กศน. แบบบูรณาการ ตามรูปแบบ ONIE Model หนวยการเรยี นรูท ่ี 1 หวั เรอื่ ง แสวงหาความรสู กู ารคดิ เปน หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศึกษา 2562 สํานักงานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวดั กาญจนบุรี สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ

คํานาํ ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองกาญจนบุรีไดดําเนินการ จดั ทําแผนกจิ กรรมการเรียนรู กศน.แบบบูรณาการ หนวยการเรยี นรูท่ี 1 หัวเรื่อง แสวงหาความรูสกู ารคดิ เปน เพ่ือใหครูผูสอนใชเปนคูมือในการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหกับผูเรียนไดเกิดการเรียนรูอยางมีคุณภาพตาม หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี 2 ปการศกึ ษา 2562 เอกสารประกอบการจัดทําแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู กศน.แบบบูรณาการ หนวยการ เรียนรูที่ 1 หัวเรื่อง แสวงหาความรูสูการคิดเปน ประกอบดวยแผนผังการจัดกิจกรรมการเรียนรู กศน.แบบ ONIEModel แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู กศน.แบบบูรณาการ ใบความรู แบบประเมนิ การจัดกจิ กรรมการ เรยี นรู แนวตอบ และแบบบนั ทกึ หลังการจัดกิจกรรมการเรยี นรู การดําเนินการจดั ทําแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู กศน.แบบบูรณาการ หลกั สตู รการศกึ ษา นอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2562 ในคร้ังนี้ ประสบความสําเร็จไดดวยดี ตองขอขอบพระคุณ นายศักด์ิชัย นาคเอ่ียม ผูอํานวยการ กศน.อําเภอ เมืองกาญจนบุรี นางสาวชมพู จันทนะ ครูชํานาญการเปนอยางสูงที่เปนผูใหค ําปรึกษา ในการดําเนนิ การจดั ทํา แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู กศน.แบบบูรณาการ หนวยการเรยี นรทู ่ี 1 หัวเร่ือง แสวงหาความรูสูการคิดเปน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2562 มาโดยตลอด และขอขอบคุณบุคลากรสํานักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรีท่ีขับเคลื่อนทําให การดําเนินการจัดทําแผนการเรยี นรูแ บบบรู ณาการบรรลตุ ามวตั ถุประสงค จดั ทําโดย กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี

สารบัญ หนา เรือ่ ง ก ข คํานาํ 1 สารบญั 3 8 แผนผงั การจดั หนว ยการเรยี นรู กศน.แบบบรู ณาการ 12 แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู กศน.แบบบรู ณาการตามรปู แบบ ONIE MODEL 19 20 ใบความรทู ี่ 1 25 ใบความรทู ี่ 2 30 ใบความรทู ่ี 3 35 ใบความรทู ี่ 4 36 แบบประเมนิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู 37 แนวตอบแบบประเมนิ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู บันทกึ หลงั การจัดกจิ กรรมการเรียนรู บรรณานุกรม คณะทาํ งาน

แผนผังหนวยการจัดกิจกรรมการเรยี นรู กศน. แบบบรู ณาการ หนวยการเรียนรูท่ี 1 หัวเรอ่ื ง แสวงหาความรูสกู ารคดิ เปน หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2562 รายวิชา ทักษะการเรียนรู(ทร11001) รายวิชา ทกั ษะการเรียนรู(ทร11001) หวั เรอ่ื ง2 การใชแหลง เรียนรู หวั เร่ือง3 การจดั การความรู เนื้อหา - ศึกษาเรยี นรูก ารใชอนิ เทอรเ น็ต การเขา ถึงขอมลู เนอ้ื หา สารสนเทศและศักยภาพการประกอบอาชีพโดยเนน ฝกทักษะกระบวนการจัดการเรยี นรู การแสวงหาการ - ศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาตใิ นแตละพน้ื ท่ี ประยุกตใชความรู การแลกเปลีย่ นเรยี นรแู ละการพัฒนา - ศกั ยภาพของศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ชี วี ติ ของแตละ ขอบขายความรู พน้ื ที่ รายวชิ า ทักษะการเรียนรู(ทร หนว ยที่ 1 เนือ้ หาเสริม (ภาษาองั กฤษ) 11001) คําศัพทภาษาอังกฤษเกี่ยวกับ หัวเรื่อง1 การเรยี นรูด ว ยตนเอง หวั เรือ่ ง“เรยี นรูงา ยไดด วยตัวเอง” กฎหมายทีป่ ระชาชนควรรู เนื้อหา สภาพปญ หา -Self-learning=การเรยี นรดู ว ย -ฝกทกั ษะพ้ืนฐานทางการศึกษา 1. เรียนดว ยตัวเองอยา งไรใหไดความรู ตนเอง 2. ไปเรียนที่ไหนไดบ าง - Using learning resources= แกป ญหา เทคนคิ ในการเรยี นรูดวย 3. ขาดความรกู ารใชส ิ่งรอบตัวใหเ กดิ การใชแ หลง เรยี นรู ประโยชน - Knowledge Management= ตนเอง ทักษาการวางแผน การ 4. การขาดความตระหนักรถู งึ ความสําคญั ของ การจดั การความรู แหลงเรยี นรู ประเมนิ ผลการเรียนรู การ สอนเสริม (เศรษฐกิจ พอเพียง ทช21001) วิเคราะหวิจารณ แนวคิด หลกั การ ความหมาย ความสาํ คญั

การกาํ หนดประเด็น/ปญ หา/สิ่งจาํ เปนทตี่ อ ง การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู เรยี นรู 1. ใหผเู รียนไดดคู ลปิ ในเร่อื งเก่ียวกบั การเรียนรดู ว ยตัวเอง 1. ผูเ รียนขาดความรแู ละประสบการณการเรยี นรู และใหผ ูเรียนสรปุ เปนรายงาน แผน พับ พรอ มนํามาใหเพื่อน ดว ยตัวเองใหไ ดความรู ฟง ในการพบกลุมท่ี กศน.ตําบล ครูสรุปอกี คร้งั เพ่ือใหผ เู รียน 2. ผูเ รยี นไมท ราบวา เรยี นรูดว ยตวั เองที่ไหนไดบาง ไดม คี วามคดิ ท่เี ปน การเรียนรูดว ยตวั เอง 3. ผเู รียนขาดความรเู กีย่ วกบั การเรียนรูใ นสงิ่ 2. ใหผ ูเรียนไปศกึ ษานอกสถานที่ พรอ มเรอื่ งราวท่ไี ดเรยี นมา รอบตวั เรา 5 เรื่องและอภิปรายแลกเปลยี่ นเรียนรู ใหเ พือ่ นฟง ครแู ละ 4. ผเู รยี นไมเห็นคณุ คา ในความสําคัญในแหลง ผูเรยี นสรปุ พรอมกนั อีกครั้ง และใหผเู รยี นทาํ เปนรายงาน จับ เรยี นรตู าง ๆ ใจความสาํ คญั สง เพ่อื เปน คะแนนเกบ็ 3. ใหผเู รยี นศึกษาแนวทางการเรียนรูใ นสิ่งรอบตวั เราและจัด บอรดความรู เพ่ือใหเ พื่อนไดศกึ ษา และอธิบายใหเพ่ือนฟงใน การพบกลุมท่ี กศน.ตาํ บล 4. ใหผูเรียนศึกษาคุณคาในความสําคัญในแหลงเรียนรูตาง ๆ จากสื่อออนไลน หนังสือผูรูและทําเปนรูปเลมรายงาน อภิปรายใหเพ่ือนฟงในการพบกลุมที่ กศน.ตําบลจัดทําตาราง เปรียบเทียบ ความเชื่อถือ แลวอภิปรายใหเพื่อนฟงในการพบ กลุม ที่ กศน.ตําบล

แผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู กศน. ตามรปู แบบ ONIE MODEL หนว ยการเรยี นรทู ่ี 1 หัวเร่ือง แสวงหาความรสู ูก ารคดิ เปน หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2562 ครง้ั วนั / ตวั ช้วี ดั เนื้อหาสาระ หัวเรือ่ ง ประเดน็ / กจิ กรรมการ หมาย ที่ เดอื น/ป การเรียนรู เรยี นรู เหตุ ปญ หา/ สงิ่ จําเปนท่ตี อ ง เรยี นรู 1. บอก วชิ าทักษะ หนว ยท่ี 1 ผู เ รี ย น ข า ด การจดั กจิ กรรม ความหมาย การเรยี นรู แสวงหา ค ว า ม รู แ ล ะ การเรียนรู ตระหนกั รหัสวชิ า ทร ความรูส ู ประส บการ ณ ข้นั ท่ี 1 กําหนด และเห็น 11001 การคดิ เปน การเรียนรูดวย สภาพปญ หาการ ความสาํ คญั หวั เรอ่ื ง1. 1. ตั ว เ อ ง ใ ห ไ ด เรียนรู ของการ การเรยี นรู ความหมาย ความรู 1. ใหผ ูเ รียนไดดู เรียนรดู วย ดว ยตนเอง ตระหนัก คลิป ในเรอื่ ง ตนเอง และเห็น เกย่ี วกับการ ความสําคัญ เรียนรูดว ยตัวเอง ของการ และใหผูเ รยี น เรียนรูด ว ย สรุปเปน รายงาน ตนเอง แผน พับ พรอม นาํ มาใหเพ่ือนฟง ในการพบกลมุ ท่ี กศน.ตาํ บล ครู สรุปอกี ครง้ั เพ่อื ใหผเู รียนไดมี ความคดิ ทเี่ ปน การเรยี นรูด ว ย ตัวเอง

ครง้ั วนั / ตัวชว้ี ัด เน้ือหาสาระ หัวเรื่อง ประเด็น/ กิจกรรมการ หมาย เรยี นรู เหตุ ที่ เดอื น/ป การเรียนรู ปญ หา/ สิ่งจําเปนทต่ี อ ง เรยี นรู 2. อธิบาย วิชาทกั ษะ 2.การใช ผูเรยี นไมท ราบ ขั้นที่ 2 แสวงหา ความหมาย การเรียนรู แหลง ความสําคัญ รหัสวชิ า ทร เรยี นรู วา เรียนรูด วย ขอ มูลและการจัด ของการใช 11001 ตวั เองที่ไหนได กจิ กรรมการ หองสมดุ หัวเรอ่ื ง2. บาง เรียนรู อาํ เภอ การใชแ หลง กจิ กรรมที่ 2 เรียนรู ใหผ เู รียนไปศึกษา นอกสถานที่ พรอ มเรอ่ื งราวท่ี ไดเรยี นมา 5 เรอ่ื ง และ อภปิ ราย แลกเปล่ยี นเรยี นรู ใหเ พอื่ นฟง ครู และผูเรยี นสรุป พรอ มกันอกี ครั้ง และใหผเู รยี นทํา เปน รายงาน จับ ใจความสําคัญ สง เพอื่ เปนคะแนน เกบ็

ใบความรูท่ี 1 ใบความรู เร่ืองที่ 1 ความหมายและความสาํ คัญของการเรยี นรูด วยตนเอง ในปจจุบันโลกมีความกาวหนาทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีความรูตางๆไดเพ่ิมข้ึนเปนอันมาก การเรยี นรูจากสถาบันการศึกษาไมอ าจทําใหบคุ คลศึกษาความรูไดค รบทง้ั หมดการไขวค วาหาความรูดวยตนเอง จึงเปนอีกวิธีหน่ึงท่ีจะสนองความตองการของบุคคลไดเพราะเมื่อใดก็ตามที่บุคคลมีใจรักที่จะศึกษาคนควาส่ิงที่ ตนตองการจะรูบุคคลนั้นก็จะดําเนินการศึกษาเรียนรูอยางตอเนื่องโดยไมมีใครตองบอกประกอบกับระบบ การศึกษาและปรัชญาการศึกษาเพ่ือเตรียมคนใหสามารถเรียนรูไดตลอดชีวิตแสวงหาความรูดวยตนเองใฝหา ความรูรแู หลงทรัพยากรการเรียนรูวิธกี ารหาความรูมคี วามสามารถในการคิดเปนทําเปนแกปญหาเปนมีนิสัยใน การทํางานและการดํารงชีวติ และมีสว นรวมในการปกครองประเทศ การเรยี นรูด ว ยตนเองสามารถชวยใหผเู รยี นพฒั นาและเพ่ิมศักยภาพของตนเองโดยการคน พบความสามารถ และสงิ่ ที่มีคุณคาในตนเองที่เคยมองขา มไป (“...it is possible to help learners expand their potential by discovered thatwhich is yet untapped…”) (Brockett & Hiemstra, 1991) ความหมายและความสําคญั ของการเรียนรูดว ยตนเอง การเรียนรูเปนเรื่องของทุกคนศักดิ์ศรีของผูเรียนจะมีไดเม่ือมีโอกาสในการเลือกเรียนในเร่ืองท่ี หลากหลายและมีความหมายแกตนเองการเรียนรูมีองคประกอบ 2 ดานคือองคประกอบภายนอกไดแก สภาพแวดลอมโรงเรียนสถานศึกษาสิ่งอํานวยความสะดวกและครูองคประกอบภายในไดแกการคิดเปน พ่ึงตนเองไดมีอิสรภาพใฝรู ใฝสรางสรรคมีความคิดเชิงเหตุผลมีจิตสํานึกในการเรียนรูมีเจตคติเชิงบวกตอการ เรียนรูการเรียนรูท่ีเกิดข้ึนมิไดเกิดข้ึนจากการฟงคําบรรยายหรือทําตามที่ครูผูสอนบอกแตอาจเกิดขึ้นไดใน สถานการณต างๆตอไปนี้ 1. การเรียนรูโดยบังเอญิ การเรียนรูแบบน้เี กิดข้นึ โดยบังเอิญมิไดเ กดิ จากความต้งั ใจ 2. การเรียนรูดวยตนเองเปนการเรียนรูดวยความต้ังใจของผูเรียนซึ่งมีความปรารถนาจะรูในเร่ืองน้ัน ผูเรียนจึงคิดหาวิธีการเรียนดวยวิธีการตางๆหลังจากน้ันจะมีการประเมินผลการเรียนรูดวยตนเองจะเปน รปู แบบการเรียนรูท่ีทวีความสําคัญในโลกยุคโลกาภิวัฒนบุคคลซึ่งสามารถปรับตนเองใหตามทันความกาวหนา ของโลกโดยใชส่ืออปุ กรณยุคใหมไดจ ะทําใหเ ปนคนที่มีคุณคา และประสบความสาํ เร็จไดอยางดี ความพรอ มในการเรยี นรดู ว ยตนเอง ในการเรียนรูดวยตนเองเปนบุคลิกลักษณะสวนบุคคลของผูเรียนท่ีตองการใหเกิดข้ึนในตัวผูเรียนตาม เปาหมายของการศึกษาผูเรียนที่มีความพรอมในการเรียนดวยตนเองจะมีความรับผิดชอบสวนบุคคลความ

รับผิดชอบตอ ความคิดและการกระทําของตนเองสามารถควบคุมและโตตอบสถานการณส ามารถควบคุมตนเอง ใหเ ปน ไปในทิศทางทีต่ นเลือกโดยยอมรับผลทีเ่ กิดข้ึนจากการกระทาํ ที่มาจากความคิดตดั สนิ ใจของตนเอง 3. การเรียนรูโดยกลุมการเรียนรูแบบนี้เกิดจากการที่ผูเรียนรวมกลุมกันแลวเชิญผูทรงคุณวุฒิมา บรรยายใหกับสมาชกิ ทําใหสมาชกิ มคี วามรเู ร่อื งท่วี ิทยากรพดู 4. การเรียนรูจากสถาบันการศึกษาเปนการเรียนแบบเปนทางการมีหลักสูตรการประเมินผลมี ระเบียบการเขาศึกษาทีชัดเจนผูเรียนตองปฏิบัติตามกฎระเบียบทีกําหนดเมื่อปฏิบัติครบถวนตามเกณฑท่ี กําหนดก็จะไดรับปริญญาหรือประกาศนียบัตรจากสถานการณการเรียนรูดังกลาวจะเห็นไดวาการเรียนรูอาจ เกิดไดหลายวิธีและการเรยี นรูนน้ั ไมจ ําเปนตอ งเกิดข้ึนในสถาบนั การศึกษาเสมอไปการเรียนรอู าจเกิดข้ึนไดจาก การเรียนรูดวยตนเองหรือจากการเรียนโดยกลุมก็ไดและการท่ีบุคคลมีความตระหนักเรียนรูอยภู ายในจิตสํานึก ของบุคคลนั้นการเรียนรูดวยตนเองจึงเปนตัวอยางของการเรียนรูในลักษณะที่เปนการเรียนรูท่ีทําใหเกิดการ เรยี นรตู ลอดชวี ิตซง่ึ มคี วามสําคัญสอดคลองกบั กาเปลีย่ นแปลงของโลกปจ จุบนั และสนบั สนนุ สภาพ “สังคมแหง การเรียนรู” ไดเ ปน อยา งดี การเรยี นรดู วยตนเองคืออะไร เม่ือกลาวถึงการเรียนดวยตนเองแลวบุคคลโดยท่ัวไปมักจะเขา ใจวาเปนการเรียนที่ผูเรียนทาํ การศกึ ษา คนควาดวยตนเองตามลําพังโดยไมตองพ่ึงพาผูสอนแตแทท่ีจริงแลวการเรียนดวยตนเองท่ีตองการใหเกิดขึ้นใน ตัวผูเรียนน้นั เปนกระบวนการเรียนรูที่ผูเรยี นริเร่มิ การเรียนรูดวยตนเองตามความสนใจความตองการและความ ถนัดมีเปาหมายรูจักแสวงหาแหลงทรัพยากรของการเรียนรูเลือกวิธีการเรียนรจู นถงึ การประเมินความกาวหนา ของการเรียนรูของตนเองโดยจะดําเนินการดวยตนเองหรอื รวมมือชว ยเหลอื กบั ผูอ่นื หรือไมก็ไดซ ึ่งผูเรียนจะตอง มีความรับผิดชอบและเปนผูควบคุมการเรียนของตนเองท้ังน้ีการเรียนดวยตนเองน้ันมีแนวคิดพื้นฐานมาจาก แนวคิดทฤษฎีกลุมมนุษยนิยมท่ีมีความเชื่อในเรื่องความเปนอิสระและความเปนตัวของตัวเองของมนุษยวา มนุษยทุกคนเกิดมาพรอมกับความดีมีความเปนอิสระเปนตัวของตัวเองสามารถหาทางเลือกของตนเองมี ศักยภาพและสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองไดอยางไมมีขีดจํากัดรวมทั้งมีความรับผิดชอบตอตนเองและ ผอู ่ืนซึ่งการเรยี นดวยตนเองกอใหเกิดผลในทางบวกตอการเรียนโดยจะสงผลใหผูเรียนมีความเช่ือม่ันในตนเองมี แรงจงู ใจในการเรียนมากขึน้ มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึนและมีการใชวิธีการเรียนที่หลากหลายการเรียนดวยตนเองจึงเปนมาตรฐาน การศึกษาท่ีควรสงเสริมใหเกิดขึ้นในตัวผูเรียนทุกคนเพราะเมื่อใดก็ตามที่ผูเรียนมีใจรักท่ีจะศึกษาคนควาจาก ความตอ งการของตนเองผูเรียนก็จะมกี ารศกึ ษาคนควาอยางตอเนื่องตอไปโดยไมตองมีใครบอกหรือ“การเรียนรู เปน เพอื่ นทดี่ ีทีส่ ุดของมนษุ ย”(LEARNING makes a man fit company for himself) ... (Young)... การเรียนดวยตนเองมีอยู 2 ลักษณะคือลักษณะท่ีเปนการจัดการเรียนรูที้มี่จุดเนนใหผูเรียนเปน ศูนยกลางในการเรียนโดยเปนผูรับผิดชอบและควบคุมการเรียนของตนเองโดยการวางแผนปฏิบัติการเรียนรู และประเมินการเรียนรูดวยตนเองซ่ึงไมจําเปนจะตองเรียนดวยตนเองเพียงคนเดียวตามลําพังและผูเรียน สามารถถายโอนการเรียนรูและทักษะที่ไดจากสถานการณหน่ึงไปยังอีกสถานการณหนึ่งไดในอีกลักษณะหนึ่ง

เปนลักษณะทางบุคลิกภาพที่มีอยูในตัวผูท่ีเรียนดวยตนเองทุกคนซึ่งมีอยูในระดับที่ไมเทากันในแตละ สถานการณการเรียนโดยเปนลักษณะท่สี ามารถพัฒนาใหสูงข้ึนไดแ ละจะพัฒนาไดสูงสุดเม่ือมีการจัดสภาพการ จัดการเรยี นรูท ีเ่ ออื้ กัน การเรยี นรูดวยตนเองมคี วามสาํ คญั อยางไร การเรียนรูดวยตนเอง (Self-Directed Learning) เปนแนวทางการเรียนรูหนึ่งท่ีสอดคลองกับการ เปล่ียนแปลงของสภาพปจจุบันและเปนแนวคิดท่ีสนับสนุนการเรียนรูตลอดชีวิตของสมาชิกในสังคมสูการเปน สังคมแหงการเรียนรูโดยการเรียนรูดวยตนเองเปนการเรียนรูที่ทําใหบุคคลมีการริเร่ิมการเรียนรูดวยตนเองมี เปาหมายในการเรียนรูท่ีแนนอนมีความรับผิดชอบในชีวิตของตนเองไมพึ่งคนอ่ืนมีแรงจูงใจทําใหผูเรียนเปน บุคคลที่ใฝรูใฝเรียนท่ีมีการเรียนรูตลอดชีวิตเรียนรูวิธีเรียนสามารถเรียนรูเรื่องราวตางๆไดมากกวาการเรยี นท่ีมี ครูปอนความรูใหเพียงอยางเดียวการเรียนรูดวยตนเองไดนับวาเปนคุณลักษณะท่ีดีที่สุดซึ่งมีอยูในตัวบุคคลทุก คนผูเรยี นควรจะมีคุณลักษณะของการเรียนรูดวยตนเองการเรียนรูดวยตนเองจัดเปนกระบวนการเรียนรูตลอด ชีวติ ยอมรบั ในศักยภาพของผูเ รียนวา ผเู รียนทุกคนมีความสามารถทจี่ ะเรยี นรูสิ่งตางๆไดดว ยตนเองเพอื่ ที่ตนเอง สามารถท่ีดํารงชีวิตอยูในสงั คมทม่ี ีการเปลยี่ นแปลงอยูต ลอดเวลาไดอยางมคี วามสุขดงั นน้ั การเรียนรดู วยตนเอง มีความสาํ คัญดงั นี้ 1. บุคคลที่เรียนรูดวยการริเริ่มของตนเองจะเรียนไดมากกวาดีกวามีความต้ังใจมีจุดมุงหมายและมี แรงจูงใจสูงกวาสามารถนําประโยชนจากการเรียนรูไปใชไดดีกวาและยาวนานกวาคนท่ีเรียนโดยเปนเพียงผูรับ หรือรอการถา ยทอดจากครู การเรียนดว ยตนเอง(Self-Directed Learning) เปน กระบวนการเรยี นรูท่ีผเู รียนริเร่ิมการเรยี นรูดวยตนเองตาม ความสนใจความตองการและความถนัดมีเปาหมายรูจักแสวงหาแหลงทรัพยากรของการเรียนรูเลือกวิธีการ เรียนรูจนถึงการประเมินความกาวหนาของการเรียนรูของตนเองโดยจะดําเนินการดวยตนเองหรือรวมมือ ชว ยเหลอื กบั ผูอนื่ หรือไมก็ไดซึ่งผูเ รยี นจะตอ งมคี วามรับผิดชอบและเปนผูควบคมุ การเรียนของตนเอง 2. การเรียนรูดวยตนเองสอดคลองกับพัฒนาการทางจิตวิทยาและกระบวนการทางธรรมชาติทําให บุคคลมีทิศทางของการบรรลุวุฒิภาวะจากลักษณะหน่ึงไปสูอีกลักษณะหนึ่งคือเม่ือตอนเด็กๆเปนธรรมชาติที่ จะตองพ่ึงพิงผูอื่นตองการผูปกครองปกปองเลี้ยงดูและตัดสินใจแทนใหเมื่อเติบโตมีพัฒนาการข้ึนเรื่อยๆพัฒนา ตนเองไปสูความเปนอิสระไมตองพึ่งพิงผปู กครองครูและผูอ่ืนการพัฒนาเปนไปในสภาพที่เพ่ิมความเปนตัวของ ตัวเอง 3. การเรียนรูดว ยตนเองทําใหผูเรียนมีความรับผิดชอบซึ่งเปน ลักษณะที่สอดคลองกับพัฒนาการใหมๆ ทางการศึกษาเชนหลักสูตรหองเรียนแบบเปดศูนยบริการวิชาการการศึกษาอยางอิสระมหาวิทยาลัยเปดลวน เนน ใหผูเ รยี นรับผดิ ชอบการเรียนรเู อง 4. การเรียนรูดวยตนเองทําใหมนุษยอยูรอดการมีความเปลี่ยนแปลงใหมๆเกิดขึ้นเสมอทําใหมีความ จําเปนทีจ่ ะตองศกึ ษาเรยี นรกู ารเรยี นรดู ว ยตนเองจงึ เปน กระบวนการตอเน่ืองตลอดชวี ิต

การเรียนรูดว ยตนเองมีลกั ษณะอยางไร การเรยี นรดู ว ยตนเองสามารถจาํ แนกออกเปน 2 ลกั ษณะสําคญั ดงั น้ี 1. ลักษณะท่ีเปนบุคลิกคุณลักษณะสวนบุคคลของผูเรียนในการเรียนดวยตนเองจัดเปนองคประกอบ ภายในท่ีจะทําใหผูเรียนมีแรงจูงใจอยากเรยี นตอไปโดยผูเรียนท่ีมีคุณลักษณะในการเรียนดวยตนเองจะมีความ รับผิดชอบตอความคิดและการกระทําเก่ียวกับการเรียนรวมทั้งรับผิดชอบในการบริหารจัดการตนเองซ่ึงมี โอกาสเกดิ ข้ึนไดสูงสุดเมือ่ มกี ารจัดสภาพการเรียนรทู ่สี งเสรมิ กัน 2. ลักษณะที่เปนการจัดการเรียนรูใหผูเรียนไดเรียนดวยตนเองประกอบดวยข้ันตอนการวางแผนการ เรียนการปฏิบัติตามแผนและการประเมินผลการเรียนจัดเปนองคประกอบภายนอกท่ีสงผลตอการเรียนดวย ตนเองของผูเรียนซ่ึงการจัดการเรียนรูแบบนี้ผูเรียนจะไดประโยชนจากการเรียนมากท่ีสุด Knowles (1975) เสนอใหใชสัญญาการเรียน (Learning contracts) เปนการมอบหมายภาระงานใหแกผูเรียนวาจะตองทํา อะไรบา งเพ่ือใหไ ดรบั ความรูตามเปาประสงคและผูเรียนจะปฏบิ ตั ติ ามเงื่อนไขนน้ั องคป ระกอบของการเรยี นรูดวยตนเองมีอะไรบาง การเรียนรดู วยตนเองเปน คณุ ลกั ษณะท่สี าํ คัญตอการดาํ เนินชวี ิตทีม่ ีประสทิ ธิภาพชวยใหผ ูเรยี นมคี วาม ตั้งใจและมีแรงจงู ใจสูงมีความคิดริเรมิ่ สรางสรรคมีความยืดหยุนมากขึ้นมีการปรับพฤติกรรมการทํางานรวมกับ ผูอนื่ ไดรจู กั เหตุผลรจู ักคิดวิเคราะหปรับและประยุกตใ ชว ิธีการแกปญหาของตนเองจัดการกบั ปญ หาไดด ีขน้ึ และ สามารถนําประโยชนของการเรยี นรไู ปใชไดดีและยาวนานข้ึนทาํ ใหผ ูเรยี นประสบความสําเรจ็ ในการเรยี น องคป ระกอบของการเรยี นรดู วยตนเองมดี ังน้ี 1. การวิเคราะหความตองการของตนเองจะเริ่มจากใหผูเรียนแตละคนบอกความตองการและความ สนใจของตนในการเรียนกับเพื่อนอีกคนทําหนาที่เปนท่ีปรึกษาแนะนําและเพื่อนอีกคนทําหนาท่ีจดบันทึกและ ใหกระทําเชนนี้หมุนเวียนทั้ง 3 คนแสดงบทบาทครบทั้ง 3 ดานคือผูเสนอความตองการผูใหคําปรึกษาและผู คอยจดบนั ทกึ การสงั เกตการณเพ่ือประโยชนใ นการเรยี นรวมกนั และชวยเหลอื ซงึ่ กันและกันในทุกๆดา น 2. การกําหนดจุดมุงหมายในการเรียนโดยเริ่มจากบทบาทของผูเรียนเปนสําคัญผูเรียนควรศึกษา จุดมุงหมายของวิชาแลวเขียนจุดมุงหมายในการเรียนของตนใหชัดเจนเนนพฤติกรรมท่ีคาดหวังวัดไดมีความ แตกตา งของจุดมุงหมายในแตละระดบั 3. การวางแผนการเรียนใหผูเรียนกําหนดแนวทางการเรียนตามวัตถุประสงคท่ีระบุไวจัดเนื้อหาให เหมาะสมกับสภาพความตองการและความสนใจของตนระบกุ ารจัดการเรียนรใู หเหมาะสมกบั ตนเองมากทส่ี ุด 4. การแสวงหาแหลง วทิ ยาการทั้งท่ีเปน วัสดแุ ละบุคคล 4.1 แหลงวิทยาการทเ่ี ปน ประโยชนใ นการศึกษาคนควา เชนหองสมดุ พิพธิ ภัณฑเ ปน ตน 4.2 ทักษะตางๆที่มีสวนชว ยในการแสวงแหลงวทิ ยาการไดอ ยางสะดวกรวดเรว็ เชน ทกั ษะการตั้ง คําถามทักษะการอานเปน ตน 5. การประเมินผลควรประเมนิ ผลการเรยี นดวยตนเองตามที่กําหนดจุดมงุ หมายของการเรียนไวและให สอดคลองกบั วตั ถปุ ระสงคเก่ียวกบั ความรคู วามเขาใจทักษะทัศนคตคิ านิยมมขี นั้ ตอนในการประเมนิ คือ

5.1 กาํ หนดเปา หมายวัตถุประสงคใ หชดั เจน 5.2 ดาํ เนนิ การใหบรรลวุ ตั ถุประสงคซงึ่ เปนส่ิงสาํ คัญ 5.3 รวบรวมหลักฐานจากผลการประเมินเพ่ือตัดสนิ ใจซ่งึ ตอ งตัง้ อยูบนพ้นื ฐานของขอมูลทีส่ มบรู ณ และเช่ือถือได 5.4 เปรยี บเทียบขอมูลกอ นเรียนกับหลงั เรียนเพ่ือดูวา ผเู รยี นมคี วามกาวหนา เพียงใด 5.5 ใชแหลง ขอมลู จากครูและผเู รยี นเปนหลกั ในการประเมนิ องคประกอบของการเรียนรูดวยตนเองผูเรียนควรมีการวิเคราะหความตองการวิเคราะหเนื้อหากําหนด จุดมุงหมายและการวางแผนในการเรียนมีความสามารถในการแสวงหาแหลงวิทยาการและมีวิธีในการ ประเมินผลการเรียนรูดวยตนเองโดยมีเพื่อนเปนผูรวมเรียนรูไปพรอมกันและมีครูเปนผูชี้แนะอํานวยความ สะดวกและใหคําปรึกษาทั้งนี้ครูอาจตองมีการวิเคราะหความพรอมหรือทักษะท่ีจําเปนของผูเรียนในการกาวสู การเปน ผเู รียนรูดวยตนเองได กระบวนการของการเรยี นรดู วยตนเอง กระบวนการของการเรียนรูดวยตนเองความรับผิดชอบในการเรียนรูดวยตนเองของผูเรียนเปนสิ่ง สาํ คัญที่จะนําผูเรียนไปสูการเรยี นรูดวยตนเองเพราะความรับผดิ ชอบในการเรียนรดู วยตนเองนั้นหมายถึงการท่ี ผูเรียนควบคุมเน้ือหากระบวนการองคประกอบของสภาพแวดลอมในการเรียนรูของตนเองไดแกการวาง แผนการเรียนของตนเองโดยอาศยั แหลงทรัพยากรทางความรูตางๆท่ีจะชวยนําแผนสกู ารปฏิบตั แิ ตภ ายใตความ รับผิดชอบของผูเรียนผูเรียนรูดวยตนเองตองเตรียมการวางแผนการเรียนรูของตนและเลือกส่ิงที่จะเรียนจาก ทางเลือกท่ีกําหนดไวรวมท้ังวางโครงสรางของแผนการเรียนรูของตนอีกดวยในการวางแผนการเรียนรูผูเรียน ตอ งสามารถปฏิบัติงานท่ีกําหนดวนิ ิจฉัยความชวยเหลือที่ตองการและทําใหไดค วามชวยเหลือนั้นสามารถเลือก แหลงความรูวิเคราะหและวางแผนการการเรียนทั้งหมดรวมท้ังประเมินความกาวหนาในการเรียนของตน กระบวนการในการเรียนรูดวยตนเองเปนวิธีการที่ผูเรียนตองจัดกระบวนการเรียนรูดวยตนเองโดยดําเนินการ ดังน้ี 1. การวนิ ิจฉัยความตองการในการเรียน 2. การกําหนดจดุ มุงหมายในการเรียน 3. การออกแบบแผนการเรยี น 4. การดาํ เนนิ การเรียนรูจากแหลง วทิ ยาการ 5. การประเมินผล

ใบงานท่ี 1 การแสวงหาความรูด ว ยตนเอง ความหมายและความสําคัญของการแสวงหาความรูดวยตนเอง 1ใหอ ธิบายความหมายของคําวา “การแสวงหาความรดู วยตนเอง” ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ 2ใหอธิบาย “ความสาํ คัญของการเรียนรูดวยตนเอง” ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ 3ใหสรุปสาระสาํ คัญ “ลกั ษณะการเรียนรดู ว ยตนเอง” ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ 4. “องคป ระกอบของการเรียนรูดวยตนเอง” มีอะไรบาง ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ผตู รวจ.......................................................... (...............................................................) ครกู ศน.ตําบล

ใบความรเู รื่องท่ี 2 การทําสัญญาการเรยี นรู กระบวนการเรียนรูดวยตนเองประกอบดว ยข้นั ตอนวินิจฉยั ความตอ งการในการเรียนรูของผเู รียน กาํ หนดจุดมุง หมายในการเรยี นวางแผนการเรยี นโดยใชส ัญญาการเรียนเขยี นโครงการเรียนรูดาํ เนินการเรยี นรู และประเมินผลการเรียนรนู น้ั ผูเ รียนจะไดป ระโยชนจากการเรียนมากท่ีสดุ “สญั ญาการเรียน (Learning Contract)” เปนการมอบหมายภาระงานใหกับผูเรียนวา จะตอ งทาํ อะไรบางเพอ่ื ใหไ ดร บั ความรตู าม เปา ประสงคและผเู รยี นจะปฏิบตั ติ ามเง่ือนไขน้นั สัญญาการเรยี น (Learning Contract) คาํ วาสัญญาโดยท่วั ไปหมายถึงขอ ตกลงระหวางบุคคล 2 ฝา ยหรอื หลายฝายวาจะทําการหรือ งดเวน กระทําการอยางใดอยา งหน่งึ ความจรงิ นั้นในระบบการจัดการเรียนรูกม็ ีการทําสญั ญากนั ระหวา งครกู บั ผเู รียนแตสวนมากไมไดเปน ลายลักษณอกั ษรวาถาผเู รยี นทําไดอยางนั้นแลวผูเรียนจะไดร ับอะไรบา งตาม ขอ ตกลง สญั ญาการเรียนจะเปน เครื่องมอื ทชี่ ว ยใหผเู รียนสามารถกําหนดแนวการเรียนของตัวเองไดด ียิ่งข้นึ ทําใหประสบผลสําเร็จตามจุดมงุ หมายและเปน เครื่องยนื ยนั ที่เปน รปู ธรรม ทา นคงแปลกใจทไ่ี ดยนิ คาํ วา “สญั ญา” เพราะคําน้ีเปนคาํ ท่ีคนุ หกู ันดีอยแู ตไมแนใ จวา ทานเคยไดยนิ คําวา “สัญญาการเรียน” หรอื ยังคําวา สญั ญาการเรยี นมีผูเรม่ิ ใชเปน คนแรกคือ Dr. M.S. Knowles ศาสตราจารยสอนวชิ าการศึกษาผใู หญ มหาวทิ ยาลัย North Carolina State ในสหรัฐอเมรกิ า 24 คําวาสัญญาแปลตามพจนานกุ รมฉบับ ราชบณั ฑิตยสถานแปลวา “ขอตกลงกัน” ดังนั้น สญั ญาการเรยี นก็คอื ขอ ตกลงท่ีผูเ รียนไดทาํ ไวก บั ครวู าเขาจะปฏิบตั อิ ยางไรบา งในกระบวนการเรียนรูเพ่ือให บรรลุ จดุ มุงหมายของหลักสตู รน่ันเอง สญั ญาการเรยี นเปนรปู แบบของการเรียนรูทแี่ สดงหลกั ฐานของการเรยี นรโู ดยใชแฟมสะสมผลงาน หรือ Portfolio 1. แนวคดิ การจดั การเรยี นรใู นระบบเปนการเรียนรทู ่ีครูเปน ผูก ําหนดรูปแบบเน้ือหากจิ กรรมเปน สว นใหญผูเรียนเปน แตเ พยี งผูปฏิบัติตามไมไดม โี อกาสในการมีสวนรวมในการวางแผนการเรยี นนักการศึกษาท้งั ในตะวนั ตกและแอฟริกามองเหน็ วา ระบบการศึกษาแบบนเี้ ปน ระบบการศึกษาของพวกจักรพรรดนิ ยิ มหรือเปน การศกึ ษาของพวกชนช้นั สูงบางเปน ระบบการศึกษาของผูถูกกดขี่บางสรปุ แลวกค็ ือระบบการศึกษาแบบนี้ไมได ฝกคนใหเปนตัวของตัวเองไมไ ดฝกใหคนรจู กั พึ่งตนเองจึงมผี ูพยายามท่ีจะเปล่ยี นแนวคิดทางการศึกษาใหม อยางเชน ระบบการศึกษาทเ่ี นนการฝก ใหค นไดร ูจ กั พง่ึ ตนเองในประเทศแทนซาเนียการศึกษาท่ีใหค นคดิ เปน ใน ประเทศไทยเราเหลา น้เี ปนตนรปู แบบของการศึกษาในอนาคตควรจะมุงไปสตู วั ผูเรียนมากกวา ตวั ผสู อน เพราะวาในโลกปจ จบุ ันวิทยาการใหมๆ ไดเ จริญกาวหนา ไปอยางรวดเรว็ มีหลายสง่ิ หลายอยา งท่ีมนุษยจะตอ ง เรยี นรถู าจะใหแตมาคอยบอกกนั คงทําไมไดด งั นั้นในการเรียนจะตอ งมกี ารฝกฝนใหคดิ ใหร ูจักการหาวิธกี ารท่ีได ศึกษาสง่ิ ที่คนตองการกลาวงา ยๆกค็ ือผเู รียนทไ่ี ดร ับการศึกษาแบบทีเ่ รียกวา เรียนรเู พ่ือการเรยี นในอนาคต

2. ทําไมจะตองมีการทําสัญญาการเรียน ผลจากการวจิ ัยเกย่ี วกับการเรียนรูของผูใหญพ บวา ผใู หญ จะเรียนไดดีทีส่ ดุ ก็ตอเม่ือการเรยี นรูดว ยตนเองไมใชการบอกหรอื การสอนแบบที่เปน โรงเรียนและผลจากการ วิจยั ทางดานจติ วิทยายงั พบอีกวา ผใู หญม ีลกั ษณะท่ีเดน ชัดในเรือ่ งความตองการทจี่ ะทาํ อะไรดว ยตนเองโดยไม ตอ งมีการสอนหรือการชีแ้ นะ มากนักอยางไรก็ดีเม่ือพูดถึงระบบการศกึ ษาก็ยอมจะตองมีการกลาวถงึ คุณภาพของบุคคลทเ่ี ขามาอยูใ นระบบ การศึกษาจึงมีความจาํ เปน ที่จะตองกาํ หนดกฎเกณฑข้นึ มาเพื่อเปน มาตรฐานดังน้นั ถงึ แมจะใหผ ูเ รยี นเรียนรดู ว ย ตนเองก็ตามกจ็ าํ เปน จะตองสรางมาตรการขึ้นมาเพื่อการควบคมุ คุณภาพของผเู รยี นเพื่อใหมมี าตรฐานตามที่ สังคมยอมรับ เหตนุ ้สี ญั ญาการเรียนจงึ เขามามบี ทบาทในการเรียนการสอนเปนการวางแผนการเรยี นที่เปนระบบขอดีของ สญั ญา-การเรียนคือเปนการประสานความคิดทวี่ าการเรยี นรูควรใหผเู รยี นกําหนดและการศึกษาจะตองมเี กณฑ มาตรฐานเขา ดว ยกันเพราะในสญั ญาการเรียนจะบงระบวุ า ผูเรยี นตอ งการเรียนเรื่องอะไรและจะวดั วาไดบรรลุ ตามความมุงหมายแลว น้นั หรือไมอยางไรมหี ลกั ฐานการเรยี นรอู ะไรบา งท่บี งบอกวา ผเู รียนมีผลการเรยี นรู อยา งไร 3. การเขียนสญั ญาการเรียน การเรียนรดู ว ยตนเองซึ่งเริ่มจากการจัดทาํ สัญญาการเรยี นจะมีลําดับ การดําเนินการดงั น้ี ข้นั ที่ 1 แจกหลักสตู รใหกับผเู รยี นในหลกั สูตรจะตองระบุ จดุ ประสงคข องรายวชิ านี้ รายชื่อหนังสอื อา งองิ หรือหนังสือสาํ หรบั ท่ีจะศกึ ษาคน ควา หนวยการเรยี นยอยพรอมรายชื่อหนังสอื อางอิง ครอู ธิบายและทําความเขาใจกับผูเรียนในเร่ืองหลักสูตรจุดมุงหมายและหนว ยการเรยี น ยอย ข้นั ที่ 2 แจกแบบฟอรมของสญั ญาการเรียน จุดมุงหมาย แหลงวิทยาการ/วธิ กี าร หลักฐาน การประเมินผล เปน สว นที่ระบวุ า ผูเรยี น เปน สวนทรี่ ะบวุ าผเู รยี น เปนสว นท่มี ีสิ่งอางอิง เปนสว นทีร่ ะบุวา ผูเรยี น ตอ งการบรรลุผลสําเร็จ จะเรยี นรูไดอยา งไร หรอื ยนื ยนั ทเี่ ปน สามารถเกดิ การเรยี นรู ในเรื่องอะไร อยา งไร จากแหลง ความรใู ด รูปธรรมทแ่ี สดงใหเ ห็น ในระดบั ใด วา ผูเ รยี นไดเกิดการ เรยี นรูแ ลว โดยเกบ็ รวบรวมเปน แฟม สะสมงาน

ขั้นท่ี 3 อธิบายวิธกี ารเขยี นขอตกลงในแบบฟอรม แตละชองโดยเรม่ิ จาก จุดมงุ หมาย วธิ กี ารเรยี นรหู รอื แหลง วทิ ยาการ หลกั ฐาน การประเมนิ ผล ขั้นท่ี 4 ถามปญหาและขอสงสัย ขนั้ ท่ี 5 แจกตัวอยางสัญญาการเรยี นใหผ เู รยี นคนละ 1 ชุด ข้นั ท่ี 6 อธิบายถงึ การเขยี นสัญญาการเรียน ผูเรยี นลงมือเขียนขอตกลงโดยผูเ รยี นเองโดยเขยี น รายละเอยี ดทงั้ 4 ชองในแบบฟอรมสญั ญาการเรยี น นอกจากนีผ้ เู รยี นยังสามารถระบุระดับการเรยี นท้ังใน ระดบั ดีดีเยย่ี มหรือปานกลางซ่ึงผูเรยี นมคี วามต้ังใจที่จะบรรลุการเรยี นในระดบั ดีเยีย่ มหรือมีความต้ังใจท่จี ะ เรียนรูในระดับดหี รือพอใจผูเรียนกต็ อ งแสดงรายละเอยี ดผูเรยี นตองการแตระดบั ดคี ือผเู รียนตองแสดง ความสามารถตามวัตถุประสงคท่ีกลา วไวในหลักสตู รใหค รบถวนการทาํ สัญญาระดบั ดีเยีย่ มนอกจากผเู รียนจะ บรรลุวัตถปุ ระสงคต ามหลักสูตรแลว ผูเ รยี นจะตองแสดงความสามารถพเิ ศษเรอื่ งใดเร่ืองหนง่ึ โดยเฉพาะอนั มี สว นเกย่ี วของกับหลักสูตร ขัน้ ท่ี 7 ใหผูเ รียนและเพอ่ื นพิจารณาสัญญาการเรียนใหเรยี บรอ ยตอไปใหผ ูเรียนเลือกเพื่อนในกลมุ 1 คนเพื่อจะไดช วยกนั พจิ ารณาสัญญาการเรยี นรขู องท้ัง 2 คน ในการพิจารณาสญั ญาการเรยี นใหพิจารณาตาม หวั ขอ ตอ ไปนี้ 1. จดุ มุงหมายมีความแจม ชดั หรือไมเ ขาใจหรือไมเปน ไปไดจริงหรือไมบอกพฤตกิ รรมท่ีจะใหเกิด จริงๆหรือไม 2. มจี ดุ ประสงคอืน่ ที่พอจะนาํ มากลาวเพ่ิมเตมิ ไดอ ีกหรอื ไม 3. แหลง วชิ าการและวธิ กี ารหาขอมลู เหมาะสมเพยี งใดมปี ระสทิ ธิภาพเพียงใด 4. มวี ธิ กี ารอื่นอีกหรอื ไมท่ีสามารถนํามาใชเพ่ือการเรียนรู 5. หลกั ฐานการเรยี นรมู คี วามสอดคลอ งกบั จุดมุงหมายเพียงใด 6. มีหลักฐานอ่ืนท่ีพอจะนาํ มาแสดงไดอกี หรือไม 7. วธิ กี ารประเมินผลหรือมาตรการทใ่ี ชว ัดมีความเช่อื ถือไดมากนอยเพยี งใด 8. มีวธิ กี ารประเมินผลหรือมาตรการอ่ืนอีกบา งหรือไมใ นการวดั ผลและประเมินผลการเรียนรู ขั้นที่ 8 ใหผูเรียนนําสัญญาการเรยี นไปปรบั ปรุงใหเ หมาะสมอีกครั้งหนง่ึ ข้นั ที่ 9 ใหผเู รยี นทําสญั ญาการเรยี นที่ปรบั ปรุงแลว ใหครูและท่ีปรกึ ษาตรวจดูอีกครง้ั หนึ่งฉบบั ที่ เรียบรอ ยใหดําเนนิ การไดตามที่เขยี นไวในสัญญาการเรียน ขน้ั ที่ 10 การเรียนกอ นท่จี ะจบเทอม 2 อาทติ ยใหผ เู รียนนาํ แฟม สะสมงาน (แฟม เก็บขอมูล Portfolio) ตามท่รี ะบุไวในสญั ญาการเรยี นมาแสดง ขน้ั ที่ 11 ครแู ละผเู รียนจะตงั้ คณะกรรมการในการพิจารณาแฟม สะสมงานทผ่ี เู รยี นนาํ มาสงและ สง คืนผูเรียนกอ นสิ้นภาคเรียน

(ตัวอยา ง) การวางแผนการเรียนโดยใชสัญญาการเรียน จุดมงุ หมาย วธิ กี ารเรยี นรู/ หลกั ฐาน การประเมนิ ผล แหลงวิทยาการ 1. สามารถอธิบายความ ใหผ ูเรียน 2-5 คน ตอ งการความสนใจ 1. อานเอกสารอา งองิ 1. ทาํ รายงานยอ ประเมนิ แรงจูงใจ ความสามารถ รายงานและบันทกึ การ และความสนใจของ ทเ่ี สนอแนะในหลกั สตู ร ขอ คิดเห็นจากหนงั สือ อภิปรายการประเมินให ผูใหญได ประเมินตามหวั ขอ 2. อานเอกสารที่ ทีอ่ าน ตอไปนี้ 1. รายงานครอบคลมุ เก่ียวของอ่นื ๆ 2. บนั ทกึ การอภิปราย เนื้อหาตามความมุง หมาย 3. รวมกลุม รายงานและ 3. ทาํ รายงานและ เพียงใด 54321 อภิปรายกับผเู รยี นอน่ื เสนอแนะเกี่ยวกบั 2. รายงานมคี วาม ชดั เจน หรือกลุมการเรยี นอ่นื ทฤษฎี เพยี งใด 54321 การเรยี นรูเพื่อนาํ ไป 3. รายงานมีประโยชน ในการเรยี นของผเู รยี น ใชกบั ผูเรียนผใู หญ ผูใ หญเ พยี งใด 54321 (โดยจัดทาํ ในรูปแบบ แฟมสะสมงาน) โดยขา พเจา จะเริ่มปฏิบัติตั้งแตว ันที่.....เดอื น.................พ.ศ. .........ถงึ วนั ท.ี่ ......เดอื น................พ.ศ. ....... ลงชือ่ ............................................................ผทู ําสัญญา (.......................................................... ) ลงชอ่ื .............................................................พยาน (.......................................................... ) ลงชอื่ ............................................................พยาน (.......................................................... ) ลงชือ่ ............................................................ครูผูสอน (.......................................................... )

ใบงานท่ี 2 เรอ่ื ง การวางแผนการเรียนโดยใชส ัญญาการเรียนรู จดุ มุงหมาย วิธกี ารเรยี นร/ู แหลง หลกั ฐาน การประเมนิ ผล ปญหา/แกไ ขปญ หา วทิ ยาการ โดยขาพเจา จะเริ่มปฏิบตั ติ ้งั แตวนั ท.ี่ ..........เดือน............ พ.ศ.......................ถงึ วันที่...........เดือน................พ.ศ............ ลงช่ือ......................................................ผูทําสญั ญา (................................................) ลงช่ือ......................................................พยาน (................................................) ลงชื่อ......................................................พยาน (................................................) ลงช่อื ......................................................ครผู สู อน (................................................)

แบบประเมินการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู หนวยที่ 1 เรื่อง แสวงหาความรูสูการคิดเปน แบบทดสอบยอยคร้ังท่ี 1 ระดบั ประถมศึกษา รายวิชาทกั ษะการเรียนรู รหัสวชิ า ทร๑1001 เรอ่ื ง การวางแผนการเรยี นโดยใชส ญั ญาการเรยี นรู จุดมงุ หมาย วธิ กี ารเรยี นร/ู แหลง หลักฐาน การประเมนิ ผล ปญหา/แกไขปญ หา วทิ ยาการ โดยขาพเจา จะเริม่ ปฏิบตั ิตั้งแตว นั ที่...........เดือน............ พ.ศ.......................ถงึ วันท.ี่ ..........เดือน................พ.ศ............ ลงช่ือ......................................................ผทู าํ สญั ญา (................................................) ลงช่ือ......................................................พยาน (................................................) ลงชอ่ื ......................................................พยาน (................................................) ลงชือ่ ......................................................ครูผูสอน (................................................)

แบบทดสอบยอยครั้งท่ี 2 ระดับประถมศกึ ษา รายวิชาการพัฒนาตนเอง ชุมชน สงั คม รหัสวิชา สค21003 แบบทดสอบ กอ น – หลังเรียน วิชาทกั ษะการเรียนรู ระดับมธั ยมศกึ ษา 1. ขอใดไมใชค วามสําคญั ของการเรียนรูดวยตนเอง ก. ทาํ ใหผ เู รียนมคี วามตั้งใจและมแี รงใจสงู ข. ทาํ ใหเ ปนคนมีความคิดรเิ ร่ิมสรางสรรค ค. มเี หตุผลและทาํ งานรว มกับผูอ นื่ ได ง. มรี ะเบยี บวินยั ในตนเองสงู 2. การเรียนรูด ว ยตนเองมีกี่ลักษณะ ก.2 ข.3 ค.4 ง. 5 3. สิง่ ท่เี ปนตวั ควบคมุ ท่ีสาํ คัญทส่ี ดุ ตอ การเรียนรดู วยตนเองคืออะไร ก. ความเช่อื ม่นั ในตวั เอง ข. ความซ่อื สตั ยต อตนเอง ค. ความอยากรูอยากเห็น ง. ความรบั ผดิ ชอบตอ ตนเอง 4. ขอ ใดคือการเรียนรูด ว ยตนเอง ก.นอ ยชอบลอกการบานเพ่ือน ข. นดิ ทํานํ้าสม ปน ตามท่คี รแู นะนาํ ค.หนอยชอบดูสาระคดชี ีวิตสัตวโ ลกทางอินเตอรเ น็ต ง. นชุ สอนนองใหรูจักวิธีสบื คนขอ มูลจากอนิ เตอรเนต็ 5. การเรยี นรูด วยตนเองแบบ กศน.คือการเรียนในขอ ใด ก. มแี รงจงู ใจอยากเรยี นก็เรียน ข. แสวงหาความรดู ว ยตนเองท้งั หมด ค. มีการวางแผนและใชส ัญญาการเรยี นรู ง. ผูเรยี นตอ งบริหารเวลารับผิดชอบตนเองทัง้ หมด

6.ขอใดไมใ ชองคประกอบของการเรยี นรู ก.วางแผนการเรียน ข.วเิ คราะหความตองการ ค.ตรวจสอบและติดตามผล ง.กาํ หนดจดุ มงุ หมายในการเรียน 7. เหตใุ ดจึงตอ งมีการทําสัญญาการเรียนรู ก.เพอ่ื ใหผเู รียนควบคมุ ตนเองได ข.เพอ่ื ควบคุมความประพฤติของผูเรยี น ค.เพ่ือกาํ หนดใหผ เู รียนมีแนวทางในการเรียน ง.เพอื่ ควบคมุ คุณภาพของผูเรียนใหม มี าตรฐาน ตามท่สี งั คมยอมรับ 8. สิง่ หน่งึ ท่นี ํามาใชใ นการประเมนิ ผลการเรยี นแบบการเรยี นรูด วยตนเอง คือขอใด ก.การสงั เกต ข.การมีสวนรว ม ค.แฟมสะสมงาน ง.พฤตกิ รรมกลมุ 9.ขอ ใดคือ“ การเรียนรดู ว ยตนเอง ” ก. ลนิ ดาโทรศัพทส อบถามอาจารย ข. กนกจา งครูมาสอน ค. อษุ าสืบคนขอ มูลทางอินเทอรเ น็ต ง. โสพายมื หนงั สอื เพื่อนมาอาน 10. การเรยี นรดู ว ยตนเองขัน้ ตอนแรกคอื ขอใด ก. การออกแบบการเรยี น ข. การกาํ หนดจุดมุงหมาย ค. จัดหาแหลง เรียนรู ง. การวเิ คราะหความตอ งการในการเรียน

แนวตอบแบบประเมนิ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู หนว ยท่ี 1 เรอื่ ง แสวงหาความรูสูการคิดเปน แบบทดสอบยอยครั้งท่ี 1 ระดบั ประถมศกึ ษา รายวชิ าทกั ษะการเรียนรู ทร11001 1. การพฒั นาตนเองคือ ตอบ การพัฒนาตนเองคือการปรับปรุงดวยตนเองใหด ีข้ึนกวา เดิมท้งั ดานรา งกายจิตใจอารมณแ ละสงั คมเพื่อให สามารถทํากจิ กรรมทพ่ี งึ ประสงคต ามเปา หมายทต่ี นตั้งไวเพื่อการดํารงชีวิตรว มกบั ผูอื่นไดอ ยา งปกตสิ ขุ รวมทงั้ เพ่อื ใหเปนสมาชกิ ที่ดีของครอบครัวชุมชนและสงั คม 2. ใหนักศึกษาบอกความสําคัญของการพัฒนาตนเองมา 3 ขอ ตอบ 1. มีความเขาใจตนเองเห็นคุณคาของตนเองทําใหสามารถทําหนาที่ตามบทบาทของตนเองใน ครอบครวั ชมุ ชนและสงั คมไดอยา งเตม็ กาํ ลังความสามารถ 2. สามารถปรับปรงุ การปฏิบัตติ นและแสดงพฤติกรรมใหเ ปน ท่ียอมรับของบุคคลรอบขา งในครอบครัว ชมุ ชนและสงั คม 3. สามารถกาํ หนดแนวทางการพฒั นาตนเองใหพัฒนาไปสเู ปาหมายสูงสุดของชวี ติ ตามที่วางแผนไว 3. จงบอกถงึ แนวทางในการพัฒนาตนเอง ตอบ 1. การสาํ รวจตนเอง2. การปลกู ฝง คณุ สมบตั ิทด่ี งี าม 3. การปลุกใจตนเอง4. การสงเสรมิ ตนเอง 5. การลงมือพัฒนาตนเอง 4. พัฒนาชมุ ชนคอื ตอบพฒั นาชมุ ชนคือการกระทาํ ท่ีมงุ ปรบั ปรุงสงเสรมิ ใหก ลุมคนที่อยรู วมกนั มีการเปลยี่ นแปลงไปในทิศทางท่ดี ี ข้ึนในทุกๆดานทั้งดานที่อยูอาศัยอาหารเครื่องนุงหมสขุ ภาพรา งกายอาชพี ท่ีมัน่ คงความปลอดภยั ในชีวิตและ ทรพั ยส ินโดยอาศัยความรวมมอื จากประชาชนภายในชุมชนและหนวยงานองคก รตางๆท้งั จากภายในและ ภายนอกชมุ ชน 5. จงบอกถึงความสําคญั ของพัฒนาชุมชนมา 5 ขอ ตอบ 1. สง เสริมและกระตุน ใหประชาชนไดม ีสว นรว มในการแกไ ขปญ หาพฒั นาตนเองและชมุ ชน 2. เปนการสง เสรมิ ใหประชาชนมีจิตวิญญาณรจู กั คิดทําพัฒนาเพอ่ื สวนรวมและเรยี นรซู ง่ึ กันและกัน 3. เปน การสง เสริมการรวมกลุมในการดําเนินชีวิตตามระบอบประชาธิปไตย 4. ทาํ ใหปญหาของชมุ ชนลดนอยลงและหมดไป 5. ทาํ ใหสามารถหาแนวทางปอ งกนั ไมใ หปญหาในลักษณะเดียวกันเกิดข้นึ อีก

แบบทดสอบยอยครงั้ ที่ 2 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน รายวิชาทักษะการเรียนรูทร21001 1. จงบอกถึงหลักการพัฒนาชุมชน ตอบ 1. ประชาชนมสี วนรว ม 2. พิจารณาวัฒนธรรมและสภาพความเปนอยูของชุมชน 3.ใหความสําคญั กับ คนในชุมชนโดยคนในชุมชนตองเปนหลกั สาํ คัญหรือเปนศนู ยกลางของการพัฒนา 4. การพฒั นาตองไมร วบรดั และเรง รบี การดาํ เนนิ งานควรคาํ นึงถงึ ผลของการพัฒนาในระยะยาวดาํ เนินงานแบบคอ ยเปน คอยไป 5. ทาํ เปน กระบวนการและประเมนิ ผลอยา งตอเนื่อง 2. ขอ มลู หมายถงึ ตอบ ขา วสารหรอื ขอเทจ็ จริงท่ีเกดิ ขน้ึ กบั ส่ิงตา งๆที่เปน สญั ลกั ษณต ัวเลขขอความภาพหรือเสียงทีไ่ ดมาจาก วิธีการตางๆเชนการสงั เกตการนบั การวัดและบนั ทึกเปนหลักฐานใชเ พ่ือคนหาความจรงิ 3. จงบอกความสาํ คัญและประโยชนของขอมูล ตอบ 1. เพอ่ื การนําไปสูการปรบั ปรุงแกไขในสง่ิ ท่ีดกี วา 2. เพื่อเปนแนวทางการพฒั นาดานตาง ๆ 3. เพื่อการเรียนรศู ึกษาคนควา 4. เพ่อื ใชประกอบเปนหลักฐานอางองิ ประเดน็ สาํ คัญ 5. เพือ่ การวางแผนการปฏบิ ัติและการประเมนิ ผล 6. เพ่อื การตัดสินใจ 4. จงบอกถึงขอมลู ท่ีเกยี่ วขอ งกับการพัฒนาชมุ ชน ตอบ 1. ขอมลู เก่ียวกับครอบครัวและประชากร 2. ขอมูลดานเศรษฐกจิ 3. ขอ มูลดา นประเพณแี ละวัฒนธรรม 4. ขอมูลดานการเมืองการปกครอง 5. ขอมลู ดา นสังคม 6. ขอ มูลดานระบบนเิ วศและสิ่งแวดลอม 5. จงบอกถึงเทคนคิ และวิธกี ารเก็บขอ มูลชุมชน ตอบ 1. การสงั เกต 2. การสมั ภาษณ 3. การใชแบบสอบถาม 7. การจดั เวทปี ระชาคม 5. การสนทนากลุม 6. การสาํ รวจ

บนั ทกึ หลังการจดั กจิ กรรมการเรียนรู คร้ังที่ .......... วนั ...........................ท.่ี ............เดือน.................................พ.ศ........................ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน จาํ นวนนกั ศกึ ษา ทั้งหมด....................คน ชาย................คน หญงิ ..................คน จํานวนนกั ศกึ ษามาเรยี น ท้งั หมด....................คน ชาย................คน หญงิ ..................คน จํานวนนักศึกษาขาดเรียน ทัง้ หมด....................คน ชาย................คน หญงิ ..................คน ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ปญ หาท่ีพบและการแกไ ขปญหา ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................ การดาํ เนินการแกไ ข/พฒั นา ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ขอ เสนอแนะ/ความคดิ เห็นผนู ิเทศ ……………………………………………………………………………………………………………………………….……….………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………….............................… (ลงชือ่ )...................................................ครูผูสอน (ลงชอ่ื )....................................................ผนู เิ ทศ (............................................) (...........................................) ………….. /….……… /…….…… ………….. /….……… /…….…… (ลงชื่อ) ………………………………..………….......... ผอ.กศน.อําเภอเมอื งกาญจนบรุ ี (นายศกั ดิ์ชัย นาคเอย่ี ม) ………….. /….……… /…….……

บรรณานกุ รม เรือ่ ง การเรียนรดู วยตนเอง //taamkru.com/th/%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%A5%E0%B8%B9 %E0%B8%81%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B9%83%E0%B8%9D%E0%B9 %88%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0 %B8%B9%E0%B9%89/#article104 วนั ทส่ี ืบคนวันท่ี 15 ตลุ าคม 2562 เรอ่ื ง การพฒั นาตนเอง sk.nfe.go.th/.../Self%20Development%20Community%2021003.do... วันที่สืบคนวันที่ 15 ตุลาคม 2562เรอ่ื ง เทคนคิ และวธิ กี ารเรียนรู //sites.google.com/site/siyamonthammatasila/1-7-kar-cad-keb-khxmul วันท่ีสืบคนวันท่ี 15 ตุลาคม 2562

คณะผจู ัดทาํ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู กศน.แบบบรู ณาการ ตามรูปแบบ ONIE MODEL หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ 2 ปการศกึ ษา 2562 ทีป่ รกึ ษา ผอู าํ นวยการ กศน.อาํ เภอเมอื งกาญจนบรุ ี 1. นายศกั ดิ์ชยั นาคเอยี่ ม ครู คศ.2 บรรณารกั ษณป ฏบิ ัติการ 2. นางสาวชมพู จนั ทนะ 3. นางสาวสภุ าภรณ หวังเลิศพาณชิ ย คณะผจู ดั ทําหนวยการเรียนรู หนวยการเรยี นรูท่ี 1 หวั เร่ือง แสวงหาความรูส กู ารคดิ เปน 1. นางสุนีย ทนั ไกร ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน กศน.อาํ เภอเมอื งกาญจนบรุ ี 2. นายสชุ าติ สุกใส ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น กศน.อาํ เภอเมืองกาญจนบุรี 3. นางสาวอารีย โพธน์ิ าคร ครู กศน.ตําบลบานเหนือ กศน.อาํ เภอเมืองกาญจนบุรี 4. นางกชกร ชา งงา ครู กศน.ตําบลเกาะสาํ โรง กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี 5. นางจนิ ตนา กระดังงา ครู กศน.ตาํ บลวังเย็น กศน.อาํ เภอเมืองกาญจนบุรี 6. นางอําพรรตั น แดงกูล ครู กศน.ตําบลชอ งสะเดา กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี 7. นางสาวดรณุ ี สมคดิ ครู กศน.ตําบลแกงเสีย้ น กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี 8. นางสาวนิตยา ถนิ่ ทุง ทอง ครู ศรช.ตาํ บลเกาะสําโรง กศน.อาํ เภอเมืองกาญจนบุรี 9. นางสาวจารุณี สําราญวงศ ครู ศรช.ตําบลหนองบัว กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี 10.นางสาวอนงคน าฏ บษุ บงก ครู ศรช.ตาํ บลบานใต กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี 11.นางสาวอังคษญิ าร มั่นคง ครู ศรฃ.ตําบลบา นเกา กศน.อาํ เภอเมืองกาญจนบุรี 12.นางดารนิ ทร ราคา ครู ศรฃ.ตาํ บลลาดหญา กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี คณะทํางานจดั ทําและรวบรวมเอกสาร ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น กศน.อาํ เภอเมอื งกาญจนบรุ ี 1. นางสนุ ยี  ทันไกร 2. นายสชุ าติ สกุ ใส ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน กศน.อําเภอเมืองกาญจนบรุ ี 3. นางสาวอารีย โพธิ์นาคร 4. นางกชกร ชา งงา ครู กศน.ตําบลบานเหนือ กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี 5. นางจินตนา กระดงั งา 6. นางอําพรรตั น แดงกลู ครู กศน.ตําบลเกาะสําโรง กศน.อาํ เภอเมืองกาญจนบุรี 7. นางสาวดรณุ ี สมคดิ ครู กศน.ตาํ บลวงั เยน็ กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี ครู กศน.ตาํ บลชอ งสะเดา กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี ครู กศน.ตาํ บลแกงเส้ยี น กศน.อาํ เภอเมืองกาญจนบุรี

8. นางสาวนติ ยา ถ่นิ ทุงทอง ครู ศรช.ตาํ บลเกาะสาํ โรง กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี 9. นางสาวจารุณี สาํ ราญวงศ ครู ศรช.ตําบลหนองบวั กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี 10.นางสาวอนงคน าฏ บษุ บงก ครู ศรช.ตําบลบานใต กศน.อาํ เภอเมืองกาญจนบุรี 11.นางสาวอังคษิญาร ม่ันคง ครู ศรฃ.ตาํ บลบานเกา กศน.อาํ เภอเมืองกาญจนบุรี 12.นางดารนิ ทร ราคา ครู ศรฃ.ตาํ บลลาดหญา กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี

แผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู กศน. แบบบรู ณาการ ตามรปู แบบ ONIE Model หนวยการเรยี นรูท่ี 2 หวั เร่อื ง คดิ เปนตามแหลงวิจยั ในชมุ ชน หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 ระดับ ประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ……… ปการศึกษา …………… สาํ นักงานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวัดกาญจนบรุ ี สํานกั งานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร

คาํ นาํ ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองกาญจนบุรี ไดดําเนินการ จัดทําแผนกิจกรรมการเรียนรู กศน.แบบบูรณาการ หนวยการเรียนรูที่ 2 หัวเรื่อง คิดเปนตามแหลงวิจัยใน ชุมชน เพื่อใหครูผูสอนใชเปนคูมือในการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหกับผูเรียนไดเกิดการเรียนรูอยางมีคุณภาพ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา ภาค เรียนที่ ....... ปก ารศกึ ษา ............. เอกสารประกอบการจัดทําแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู กศน.แบบบูรณาการ หนวยการ เรียนรทู ี่ 2 หวั เร่ือง คิดเปน ตามแหลง วิจัยในชมุ ชน ประกอบดว ย แผนผงั การจัดกิจกรรมการเรยี นรู กศน. แบบ ONIE Mode แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู กศน.แบบบูรณาการ ใบความรู แบบประเมินการจดั กิจกรรมการ เรียนรู แนวตอบ และแบบบันทกึ หลังการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู การดาํ เนินการจัดทําแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู กศน.แบบบูรณาการ หลักสตู รการศกึ ษา นอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ......... ปการศึกษา ......... ในคร้ังนี้ ประสบความสําเร็จไดดวยดี ตองขอขอบพระคุณ นายศักด์ิชัย นาคเอี่ยม ผูอํานวยการ กศน. อําเภอเมืองกาญจนบุรี นางสาวชมพู จันทนะ ครูชํานาญการเปนอยางสูงที่เปนผูใหคําปรึกษา ในการ ดําเนนิ การจดั ทาํ แผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู กศน.แบบบูรณาการ หนว ยการเรียนรูท ่ี 2 หวั เรือ่ ง คิดเปนตาม แหลงวิจัยในชุมชน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับ ประถมศึกษา ภาคเรียนที่ .......... ปการศึกษา ............... มาโดยตลอด และขอขอบคุณบุคลากรสํานักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรีท่ีขับเคล่ือนทําใหการดําเนินการจัดทําแผนการเรียนรูแบบบูรณาการบรรลุตาม วัตถปุ ระสงค จัดทาํ โดย กศน.อาํ เภอเมอื งกาญจนบุรี

สารบญั หนา เร่ือง ก ข คาํ นาํ 1 สารบญั 2 7 แผนผงั การจดั หนวยการเรยี นรู กศน.แบบบรู ณาการ 11 แผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู กศน.แบบบรู ณาการตามรปู แบบ ONIE MODEL 13 16 ใบความรูท่ี 1 17 ใบความรูที่ 2 19 ใบความรูที่ 3 20 ใบความรทู ่ี 4 23 ใบความรูท่ี 5 แบบประเมินการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู แนวตอบแบบประเมินการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู บนั ทกึ หลังการจดั กิจกรรมการเรยี นรู บรรณานกุ รม คณะทํางาน

แผนผังหนว ยการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู กศน. แบบบูรณาการ หนวยการเรยี นรูที่ 2 หวั เรือ่ ง คดิ เปนตามแหลง วิจยั ในชุมชน หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ......... ปก ารศึกษา ............ รายวิชา ทักษะการเรียนรู (ทร11001) รายวชิ า ทกั ษะการเรียนรู (ทร11001) หวั เร่ือง การคดิ เปน หัวเรื่อง การคิดเปน เนือ้ หา เน้อื หา ทบทวนความเขาใจความเช่ือพ้ืนฐานทาง การฝกทักษะในการพิจารณาขอ มูล และ การศึกษาผูใหญการศึกษานอกระบบ การ การนําไปใช การฝกปฏิบตั ิการคิด การ เชอ่ื มโยงไปสกู ารเรียนรู ความหมาย ตัดสนิ ใจ อยา งเปน ระบบในการแกป ญ หา ความสําคัญของการคิดเปน รายวชิ า ทักษะการเรียนรู หนว ยท่ี 2 เนื้อหาเสริม (ภาษาไทย) (ทร11001) - ความสาํ คัญการวจิ ยั หวั เร่อื ง การวิจยั อยางงาย หวั เรื่อง “คดิ เปนตามแหลงวิจยั ในชุมชน” - กระบวนการ เนอ้ื หา สภาพปญ หา ศกึ ษาฝกทกั ษะสถติ ิอยางงา ย 1. การคดิ วจิ ัยอยา งไร ใหเ ขาใจ เน้อื หาเสรมิ (ภาษาอังกฤษ) 2. การคดิ อยางไร แกป ญหาได Classroom Action เพอ่ื การวิจยั เครือ่ งมือการ 3. การสรา งสถิตอิ ยา งา ยใหเขาใจ Research = การวิจยั อยา ง 4. การตดั สนิ ใจอยางเปนระบบและแกปญหาได งา ย วจิ ัย และการเขียน Thinking = การคิดเปน โครงการวิจยั

การกาํ หนดประเดน็ /ปญหา/สงิ่ จําเปน ที่ การจดั กิจกรรมการเรียนรู ตอ งเรียนรู 1. ใหผูเรียนเลาการดําเนินชีวิตประจําวันของแตละคน และลอง 1. ผูเรียนขาดการคิดวจิ ยั อยางไร ใหเ ขาใจ ดําเนินการวิจัยวาการดําเนินชีวิตของเรามีความสุขหรือไม พรอมศัพท 2. ผูเรยี นขาดการแกปญ หาท่ีถูกวธิ ี ภาษาอังกฤษท่ีเกี่ยวของกับการดําเนินชีวิตอยางนอย 5 คํา นํามาสรุป 3. ผูเ รียนขาดการสราสถติ ิในการ เปนแผนผังความคิด และอธบิ ายใหเพ่อื นฟงในการพบกลุม ที่ กศน.ตําบล ปฏิบัตงิ าน และครเู ปนผูสรปุ ในภาพรวมท้ังหมดของผเู รียน 4. ผูเรียนไมกลา ตดั สินใจ 2. ใหผูเรียนไปศึกษาแนวทางดานคุณธรรม จริยธรรม ที่เหมาะสมของ ประชาชนและการเลือกใชผลิตภัณฑท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม นํามา แกปญหา จาก ส่ือออนไลน หนังสือ ครอบครัว ผูรูในชุมชน แลวนํามา อภิปรายแลกเปลีย่ นเรียนรใู หเพ่ือนฟง ในการพบกลุมที่ กศน.ตําบล 3. ใหผูเรียนไปศึกษาคนควา การอนุรักษทํานุบํารุงสงเส ริม ศลิ ปวัฒนธรรม จากวัดไชยชมุ พลชนะสงคราม แหลงเรียนรู โดยการเปน จิตอาสาในการทําความสะอาดหองนํ้าวัด และสรางสถิติในการเปนจิต อาสาของแตละคนนํามาทํารายงาน และอธิบายเพ่ิมเติมใหเพื่อนฟงใน การพบกลมุ ท่ี กศน.ตาํ บล 4. ใหผูเรียนไปศึกษาคนควาการเปนพลเมืองท่ีดีตามวิถีประชาธิปไตย จาก สื่อออนไลน แหลงเรียนรู ผูรู และตัดสินใจดูวาเรื่องน้ันถูกหรือผิด อยางไร นํามาสรุปใจความสําคัญลงในกระดาษชารต พรอมอภิปรายให เพ่ือนฟง ในการพบกลุม ท่ี กศน.ตาํ บล

แผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู กศน. ตามรูปแบบ ONIE MODEL หนวยการเรยี นรทู ่ี 2 หัวเรื่อง คดิ เปนตามแหลงวิจัยในชุมชน หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ....... ปก ารศึกษา .................. คร้งั ที่ วัน/ ตวั ชีว้ ดั เนือ้ หาสาระ หัวเร่อื ง ประเดน็ / กจิ กรรมการเรียนรู หมายเหตุ เดอื น/ป การเรยี นรู ปญ หา/ สิง่ จาํ เปนท่ี ตองเรยี นรู 1. อธบิ าย วิชาทกั ษะ หนว ยท่ี 2 1. ผูเ รียน การจัดกจิ กรรมการ และฝก การเรียนรู คิดเปนตาม ขาดการคดิ เรียนรู ปฏบิ ตั ิการ รหัสวิชา ทร แหลง วจิ ัยใน วิจยั อยา งไร ขั้นที่ 1 กําหนดสภาพ คดิ เปน จาก 11001 ชมุ ชน ใหเขา ใจ ปญ หาการเรยี นรู กรณี หัวเรื่อง 1. 1. 2. ผูเรียน 1. ใหผเู รยี นเลาการ ตัวอยาง การคดิ เปน กระบวนการ ขาดการ ดาํ เนินชวี ิตประจาํ วัน ตา งๆ ถงึ คิดการ แกป ญ หาท่ี ของแตละคน และลอง กระบวนการ แกป ญหา ถูกวธิ ี ดาํ เนนิ การวจิ ัยวา การ แกป ญหา อยางคนคิด ดาํ เนินชีวิตของเรามี อยา งคนคิด เปน ใน ความสขุ หรือไม พรอ ม เปน ไดอยาง รายละเอียด ศัพทภาษาอังกฤษท่ี เปนระบบ พรอม เก่ยี วของกับการดาํ เนิน ตวั อยางการ ชวี ิตอยา งนอย 5 คํา นําไปปฏิบัติ นาํ มาสรุปเปน แผนผัง ในวถิ กี าร ความคดิ และอธิบาย ดําเนินชีวติ ใหเพอื่ นฟง ในการพบ จรงิ กลมุ ที่ กศน.ตําบล และครเู ปนผูสรุปใน ภาพรวมทั้งหมดของ ผเู รยี น 2. ใหผ ูเรียนไปศกึ ษา แนวทางดา นคุณธรรม

คร้งั ที่ วนั / ตัวช้ีวัด เนอื้ หาสาระ หวั เรื่อง ประเด็น/ กิจกรรมการเรยี นรู หมายเหตุ เดอื น/ป การเรียนรู ปญ หา/ ส่ิงจําเปนท่ี ตองเรียนรู จรยิ ธรรม ทีเ่ หมาะสม ของประชาชนและการ เลือกใชผ ลิตภัณฑท่ี เปน มติ รกับสิ่งแวดลอม นาํ มาแกปญหา จาก สือ่ ออนไลน หนงั สือ ครอบครวั ผูร ูในชุมชน แลวนาํ มาอภปิ ราย แลกเปลยี่ นเรียนรูใ ห เพอ่ื นฟง ในการพบกลมุ ท่ี กศน.ตาํ บล 2. มที กั ษะ วชิ าทักษะ 2. ฝกทักษะ 1. ผเู รียน ขน้ั ที่ 2 แสวงหาขอ มลู ในการใช การเรียนรู สถิตงิ า ยๆ ขาดการสรา และการจัดกิจกรรม สถิตงิ า ยๆ รหัสวชิ า ทร เพอื่ การวจิ ยั สถิติในการ การเรยี นรู เพ่ือการวจิ ยั 11001 เครอ่ื งมือ ปฏบิ ตั ิงาน กิจกรรมที่ 2 และจัดทาํ หวั เรื่อง 2. การวิจัย 2. ผูเรียนไม 1. ใหผูเรียนไปศึกษา กลาตดั สินใจ คนควา การอนุรักษ เครื่องมือใน การวจิ ัย ทํ า นุ บํ า รุ ง ส ง เ ส ริ ม การเก็บ อยา งงาย ศิลปวฒั นธรรม จากวัด รวบรวม ขอมูล ไชยชุมพลชนะสงคราม แหลงเรียนรู โดยการ เปนจิตอาสาในการทํา ความสะอาดหองน้ําวัด และสรางสถิติในการ เปนจิตอาสาของแตละ ค น นํ า ม า ทํ า ร า ย ง า น และอธิบายเพ่ิมเติมให เพื่อนฟงในการพบกลุม ที่ กศน.ตาํ บล

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita