แบบประเมินโครงงานสิ่งประดิษฐ์ doc

แบบสอบถามความพึงพอใจอุปกรณ์เฉือนกล้วย

Uploaded by

Icezahahabok

100%(2)100% found this document useful (2 votes)

9K views2 pages

Document Information

click to expand document information

Original Title

แบบสอบถามความพึงพอใจอุปกรณ์เฉือนกล้วย.docx

Copyright

© © All Rights Reserved

Available Formats

DOCX, PDF, TXT or read online from Scribd

Share this document

Share or Embed Document

Sharing Options

  • Share with Email, opens mail client

    Email

Did you find this document useful?

100%100% found this document useful, Mark this document as useful

0%0% found this document not useful, Mark this document as not useful

Is this content inappropriate?

Download now

SaveSave แบบสอบถามความพึงพอใจอุปกรณ์เฉือนกล้วย.docx For Later

100%(2)100% found this document useful (2 votes)

9K views2 pages

แบบสอบถามความพึงพอใจอุปกรณ์เฉือนกล้วย

Original Title:

แบบสอบถามความพึงพอใจอุปกรณ์เฉือนกล้วย.docx

Uploaded by

Icezahahabok

SaveSave แบบสอบถามความพึงพอใจอุปกรณ์เฉือนกล้วย.docx For Later

100%100% found this document useful, Mark this document as useful

0%0% found this document not useful, Mark this document as not useful

Embed

Share

Print

Download now

Jump to Page

You are on page 1of 2

Search inside document

You're Reading a Free Preview
Page 2 is not shown in this preview.

Reward Your Curiosity

Everything you want to read.

Anytime. Anywhere. Any device.

No Commitment. Cancel anytime.

Share this document

Share or Embed Document

Sharing Options

  • Share with Email, opens mail client

������ҧ����ǡѺ : ������ҧẺ�ͺ����ç�����觻�д�ɰ�

�ʹ��ͤ�Ի� youtube ����������繵�����ҧ��͹�Ф�Ѻ

���Ǩо������ҵ�����ҧ������Ѻ�� �����ҹ��ҧ��Ѻ ������ͨ�ԧ������������Сѹ�Ф�Ѻ

������ҧ ������ҧẺ�ͺ����ç�����觻�д�ɰ�

�������Ф����Ӥѭ�ͧ�ç�ҹ
�ç����͸Ժ�·���Ҥ�Ѻ����ҳ��� ��������㹡�÷���觻�д�ɰ���� �����ҧ�� �դ����Ӥѭ���ҧ�ö֧��ͧ����觻�д�ɰ���� �����֧�Դ�ǤԴ���㹡�����ҧ��觻�д��

�ѵ�ػ��ʧ��
����繢��� ��Ѻ ��ԧ� ������͹�Ѻ��� �������Ф����Ӥѭ�Ң���������ػ�繢��� ��Ѻ ����Դ����觻�д�ɰ����

�ͺࢵ�ͧ����֡�Ҥ鹤���
�ç���������Ѵਹ�����Ҩ��鹤����ú�ҧ ����Ҩз���觻�д�ɰ����� �ͺࢵ�����˹��觻�д�ɰ��鹷ӻ���ª�������ҧ

�Ըա�ô��Թ���
�֡�Ҩҡ�ç�˹���ѧ�����������Ѻ �� �ҡ˹ѧ������� ���䫵�������� ���Ҩҡ ��ҧ���������ͧ�˹ ������������ҧ�ԧ
�������ǹ��ʹ��ѧ� �繢���繵͹��Ѻ �� ��͹��û�д�ɰ���觻�д�ɰ����բ�鹵͹� ����ö���������ҧ

�š���֡��
�����ŧ仵���Ըա�ô��Թ�ҹ���Фú����ʹ���ͧ�ѹ �� �ŷ���͡�Ҩҡ��û�д�ɰ���觻�д�ɰ����

����С���Ԩ�ó��
�ѹ����ҡ�� ��ҧ���� ����ػŧ令�Ѻ��ҷ����ҷ��� �����ҹ���ԧ��

��ػ�š���֡��
��Ҥ��Ԩ�ó� ��ҧ� �һ����ż��繢����ػ��Ѻ �繢����Ѻ

�͡�����ҧ�ԧ
�ѹ�����¤�Ѻ�����֡�Ҩҡ����˹�Һ�ҧ����ػ�͡���繢��� ��Ѻ
�������� ���Ѻ ˹ѧ��������˹ ����������

วัตถปุ ระสงค์สำคัญและเขียนประโยชน์ที่ได้รบั ของส่ิงประดิษฐ์ ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวเพอ่ื ให้ผู้พจิ ารณา

อนุมัติโครงการหรือผู้มีหน้าท่ีอนุมัติโครงการเห็นชอบตามที่เสนอหลักการและเหตุผลมักนิยมเขียนเป็น
ความเรียงไมเ่ ขียนเป็นขอ้ ๆ

6

5. วัตถุประสงค์ของโครงการ เป็นการระบุแสดงถึงความต้องการ ท่ีจะกระทำสิ่งต่าง ๆ ของ

โครงการใหป้ รากฏผลเป็นรูปธรรม ซ่ึงข้อความท่ีใชเ้ ขียนวัตถุประสงค์น้ันจะต้องมี ความชัดเจน ไม่คลุมเครือ

ตลอดจนสามารถวัดและประเมนิ ผลได้ และตอ้ งครอบคลุมเหตผุ ลทจี่ ัดทำโครงการ โดยจัดลำดับแยกเปน็ ข้อ

ๆ เพ่ือความเข้าใจง่ายและชัดเจน วัตถุประสงค์ในการจัดทำโครงการสิ่งประดิษฐ์จะมีสาเหตุ 2 ประการ
สำคัญ คือ

(1) เพือ่ สรา้ ง/พฒั นา
(2) เพื่อหาประสิทธิภาพ/ทดสอบระบบ
6. เป้าหมายโครงการ เป็นการระบุถึงความต้องการ หรือทิศทางในการปฏิบัติงานว่าผลงานท่ีได้
คืออะไร ซึ่งต้องระบุให้ชัดเจนในเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ ระยะเวลาและงบประมาณที่กำหนด เพ่ือ
ประสทิ ธภิ าพของโครงการ ดังนี้
(1) เชงิ ปรมิ าณ ระบุประเภท/ชนดิ ของผลผลติ หรอื ผลงาน (Output / Outcome ) พร้อม
จำนวนหรือปริมาณทว่ี ัดได้
(2) เชิงคณุ ภาพ ระบรุ ะดับคณุ ภาพของผลผลิต/ผลงานทคี่ าดหวงั อาจระบุเป็นมาตรฐาน/
เกณฑ์หรอื ตัวช้ีวัดความสำเรจ็
7. วิธีดำเนินการ เป็นการระบุรายละเอียดกิจกรรมทั้งหมด ต้ังแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดโครงการ
กล่าวถึงลำดับข้ันตอนการทำงาน เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่กำหนดในโครงการ วิธีดำเนินการ
โดยทั่วไปจะจำแนกเป็นข้ันตอนย่อย ๆ หรือระยะดำเนินงานโดยส่วนใหญ่วิธีการดำเนินการพัฒนา
สงิ่ ประดิษฐ์ มี 4 ส่วนสำคัญได้แก่ 1) ศกึ ษาหรือวิเคราะห์สภาพปัญหา (Analysis) 2) ออกแบบและพัฒนา
สง่ิ ประดิษฐ์ (Design and Development) 3) ทดลองใช้หรอื ทดสอบระบบ (Implement) 4) ประเมินผล
การใช้ (Evaluation) นอกจากนี้ให้แสดงแผนปฏิบัติงาน ในรูปของแผนภูมิ Gantt chart ต้ังแต่เริ่มต้นจน
จบกระบวนการว่ามีกิจกรรมใดท่ตี ้องทำ ทำเมื่อใด ผใู้ ดเป็นผู้รับผดิ ชอบและจะทำอย่างไร หรอื อาจจะจัดทำ
เป็นปฏิทินปฏิบัติงานประกอบ รวมทั้งแสดงระยะเวลาดำเนินการควบคู่ไปด้วย แผนปฏิบัติงาน จะมี
องคป์ ระกอบ คอื
(1) กจิ กรรม ระบุหัวขอ้ เกี่ยวกับการเตรยี มงานก่อนเร่มิ โครงการ การดำเนนิ งานตาม
โครงการการกากับติดตามและการประเมินผลโครงการ
(2) ระยะเวลา ระบุระยะเวลาดำเนนิ การตามแต่ละหวั ขอ้ /ขน้ั ตอนของกิจกรรม
8. สถานที่ดำเนนิ การ ระบสุ ถานทจี่ ะจดั ดำเนนิ การหรือปฏิบตั งิ านท่ีใช้จัดกิจกรรมตามโครงการ
9. งบประมาณ/ค่าใช้จ่าย ระบงุ บประมาณและค่าใช้จา่ ยในการดำเนนิ งานแต่ละสว่ นโดยต้องระบุ
ถึงจำนวนเงิน วัสดุครุภัณฑ์ บุคคลและปัจจัยอ่ืน ๆ ท่ีจาเป็นต่อการดำเนินการอย่างประหยัดทั้งนี้ ต้อง
คำนงึ ถึงประสิทธิภาพและประสิทธผิ ลของงานเป็นหลัก ทั้งนี้ให้ระบุวา่ งบประมาณหรือค่าใช้จ่ายมีแหล่งมา
จากทีใ่ ด
10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ เป็นการบอกถึงว่าเม่ือโครงการน้ันสิ้นสุดลงแล้วจะเกิดผลอันเป็น

ประโยชน์ทด่ี ีทง้ั ทางตรงและทางอ้อมใดบ้าง (สิ่งทโี่ ครงการคาดหวังว่าจะเกิดขึ้น) และต้องระบใุ ห้ชดั เจนว่า

ใครเป็นผไู้ ด้รับ ผลประโยชน์นั้น (ผู้ประดิษฐ์ องค์กร ชุมชน สังคมท้องถ่ิน หรือประเทศชาติ) และได้รับใน

ลักษณะอย่างไรหรือมีการเปล่ียนแปลงในเรื่องอะไรทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ อย่างไรก็ตาม การ

เขียนถึงประโยชน์ท่คี าดวา่ จะไดร้ บั น้นั ตามปกติจะเขียนใน 2 ประการ ดว้ ยกัน คอื

(1) ผลทตี่ ง้ั ใจจะใหเ้ กดิ ข้นึ : คอื วตั ถุประสงคแ์ ละเปา้ หมายท่ีตอ้ งการใหบ้ รรลุ

7

(2) ผลกระทบที่เกดิ ข้ึน : ต้องบอกทงั้ ผลกระทบในดา้ นบวกและลบเพ่ือช้ใี ห้เหน็ ถึง

ผลกระทบที่ดีและส่ิงที่เป็นปัญหา เพ่ือให้หน่วยงานท่ีอนุมัติโครงการ เตรียมการรับผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึน

ต่อไป

11. การติดตามและประเมินผล เป็นการกำหนดวิธกี ารติดตามการดำเนนิ งานตามโครงการแต่ละ
ขนั้ ตอน เพื่อควบคุมให้การปฏบิ ัติงานเป็นไปตามวตั ถุประสงค์ของโครงการ การประเมินผลการดำเนินงาน
ตามโครงการ ซึ่งผู้เขียนแผนโครงการควรระบุวิธีการท่ีใช้ในการควบคุมและประเมินผลโครงการ ไว้ให้

ชัดเจนและบ่งบอกถึง รูปแบบการประเมินผลโครงการ เช่น ประเมินก่อนดำเนินการ ระหว่างดำเนินการ

และหลังดำเนินการ เพอ่ื เปน็ ขอ้ มูลในการปรับปรุงการปฏิบัติงาน

12. ลงชื่อผูด้ ำเนินโครงการ (ผ้เู รยี น ครทู ี่ปรึกษา เฉพาะหัวหน้าโครงการ) และผอู้ นมุ ัติโครงการ

นอกจากโครงการจะมีส่วนประกอบสำคัญที่กล่าวมาแล้ว สามารถเพิ่มเติมได้อีก เช่นระบุปัญหา

ระบุปัญหาอุปสรรคท่ีผู้จัดทำโครงการคาดว่าอาจจะเกิดขึ้นและทำให้โครงการไม่บรรลุผลตามเป้าหมาย
เพอ่ื ให้ผู้รับผิดชอบพยายามหาทางปอ้ งกัน

โครงการสิง่ ประดิษฐ์ (ตวั อย่าง)

1. ชอ่ื โครงการ อุปกรณ์ตดั แต่งหอยแมลงภู่

2. ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ

2.1 ผเู้ รียน (ผปู้ ระดิษฐ)์ ปวช. 3 สาขาวิชาชา่ งกลโรงงาน (หวั หน้าโครงการ)
1) นายยัญไนอู้

2) นายพงษ์ศริ ิ พรมทศั น์ ปวช. 3 สาขาวชิ าชา่ งกลโรงงาน
3) นายณฐั วุฒิ รองมาลี ปวช. 3 สาขาวชิ าชา่ งกลโรงงาน
2.2 ครูทปี่ รึกษาโครงการ

1) นายอภชิ าติ เนินพรหม ครู คศ. 4 แผนกวชิ าช่างกลโรงงาน
2) นายทพิ ย์รตั น์ ทพิ ย์กรรณ ครู คศ. 2 แผนกวชิ าชา่ งกลโรงงาน

3. ระยะเวลาในการดำเนินการ กรกฎาคม - ตุลาคม 2560
4. ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา

หอยแมลงภู่ เปน็ สัตว์ทะเลท่มี คี ุณคา่ ทางเศรษฐกิจอกี ชนิดหนงึ่ หอยชนิดนี้สามารถทำรายไดเ้ ข้า

สู่ประเทศแต่ละปีเป็นเงินจำนวนมาก เป็นอาหารทะเลที่มีรสชาติอร่อยและมีคุณค่าทางโภชนาการสูง จึง
เปน็ ท่นี ิยมบรโิ ภคกนั อย่างแพรห่ ลาย โดยสามารถนำมาทำเป็นอาหารรับประทานสดหรอื เพื่อเป็นการถนอม

อาหารในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การทำเค็ม ตากแห้ง หมักดอง เป็นตน้ (นพิ นธ์ ศิริพันธ์. 2543) ลักษณะท่ัวไป
ของหอยแมลงภู่ เปลือกมีลกั ษณะและขนาดเท่ากันท้ัง 2 ฝา ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วน ส่วนแรกคือ

ส่วนของเปลือกซึ่งยาวรีรูปไข่ ด้านหน้าแหลม ท้ายป้าน ผิวด้านนอกของเปลือกเรียบมีสีเขียวเข้ม หรือสี

น้ำตาลไหม้ ดา้ นในเป็นสีมุก สว่ นท่ีสองคือเนือ้ หอยและมีรากหรือซัง (byssus) ซ่งึ เป็นเส้นใยมีลักษณะเป็น
เส้นสีน้ำตาล เหนยี ว อยู่บรเิ วณฐานของเทา้ ซ่งึ หอยใช้สำหรับยึดเกาะกบั เสาไม้ หนิ หรอื วัสดุอนื่ ๆ ท่ีอยู่ในน้ำ

(วันทนา อย่สู ุข. 2551)
ผลผลติ หอยแมลงภู่ทกุ วนั นส้ี ่วนใหญ่ได้จากแหล่งเล้ยี งในทอ้ งทีจ่ ังหวดั ชายฝ่ังทะเล ท้ังในบรเิ วณ

ชายฝ่ังของอ่าวไทยตอนนอก ชายฝ่ังภาคตะวันออก และภาคใต้ ( กรมประมง. 2536) โดยเฉพาะอย่างย่ิง

8

จังหวัดชุมพร ซึ่งมีพื้นท่ีติดชายฝ่ังทะเลยาวถึง 222 กิโลเมตรจึงมีอาชีพเลี้ยงหอยแมลงภู่ เป็นจำนวนมาก
วธิ ีการเลี้ยง จะใช้ไม้ไผ่ปักในทะเลประมาณ 3 เดือน เพ่ือให้ลกู หอยแมลงภู่มาเกาะ โดยเอาอวนมาหุ้มเพ่ือ
ปอ้ งกันหอยรว่ ง เล้ียงไปประมาณ 7-8 เดอื นก็จะได้หอยที่มขี นาด 20 ตัวต่อกิโลกรมั นำมาขายได้กิโลกรัม
ละ 4 บาท ถ้าขูดเพรียงทำความสะอาดจะขายได้กิโลกรัมละ 5-6 บาท ปีหนึ่งทำเงินได้ประมาณ 150,000
บาท ซ่ึงก็ดกี ว่าการทำประมง เพราะเปน็ อาชีพทร่ี ายไดแ้ น่นอน ตลาดมีความต้องการสม่ำเสมอ (ศภุ ชัย นิล
วานิช,2553) ซงึ่ ปัญหาของผู้เลี้ยงหอยแมลงภู่ในการจัดจำหน่ายใหไ้ ด้ราคา หอยแมลงภูต่ ้องล้างและตัดแต่ง
เอาเพรียงทะเลและซังหอยออกก่อนจึงนำไปจำหนา่ ยเพื่อให้ได้ราคาท่สี ูงขนึ้ โดยในขั้นตอนการล้างและตัด
เพรียงทะเลออกมักถูกเปลือกหอยท่ีแหลมคมและเพรียงทะเลบาดมือ โดยส่วนใหญ่ใช้อุปกรณ์ เช่น มีด
กรรไกรในการเคาะเพรยี งทะเลและตัดซงั หอย ซ่ึงอาจเกิดอนั ตรายขณะปฏิบัตงิ านและเกดิ อาการเม่ือยล้าได้
เมอื่ ทำงานไปนาน

คณะผู้ดำเนินโครงการสิ่งประดิษฐ์จึงสนสร้างอุปกรณ์สำหรับตัดแต่งหอยแมลงภู่ ท่ีมี
ประสิทธิภาพในการตัดและแต่งหอยแมลงภู่ เพ่ือแก้ปัญหาให้กับเกษตรกรผู้มีอาชีพเลี้ยงหอยแมลงภู่ให้ได้
ราคาจำหน่ายต่อกิโลกรัมที่สูงข้ึน โดยอำนวยความสะดวกในการเพ่ิมจำนวนผลผลิตหอยแมลงภู่ต่อหน่วย
สงู ข้ึน และไดเ้ คร่อื งมอื ที่มปี ระสทิ ธิภาพและมคี วามปลอดภัยในการทำงานสงู
5. วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ

5.1 เพือ่ สรา้ งอปุ กรณต์ ดั แต่งหอยแมลงภู่
5.2 เพื่อหาประสิทธิภาพของอุปกรณ์ตัดแต่งหอยแมลงภู่
6. เปา้ หมายโครงการ
6.1 เชงิ ปริมาณได้อปุ กรณ์ตดั แตง่ หอยแมลงภู่ที่มปี ระสทิ ธภิ าพ จำนวน 1 ชิน้ ที่สามารถตัดแตง่
หอยแมลงภไู่ ดอ้ ยา่ งน้อย 15 กโิ ลกรัมต่อคนต่อชวั่ โมง
6.2 เชงิ คุณภาพ ผเู้ ก่ียวข้องกบั การใชม้ คี วามพึงพอใจอปุ กรณ์ตดั แต่งหอยแมลงภูใ่ นระดบั ดี
7. วิธกี ารดำเนินการ
อุปกรณต์ ัดแต่งหอยแมลงภู่ มขี ้ันตอนการดำเนนิ การดังตอ่ ไปน้ี

ระยะที่ 1 วิเคราะห์สภาพปญั หา (Analysis)
1) สำรวจสภาพปญั หาของเกษตรกรอาชพี เลยี้ งหอยแมลงภูใ่ นท้องถ่นิ
2) ศึกษาวธิ กี ารและสภาพปัญหาการตดั แต่งหอยแมลงภู่วธิ กี ารเดิมท่เี กษตรกรใช้

ระยะท่ี 2 ออกแบบและพฒั นา (Design and Development)
3) ออกแบบอุปกรณ์ตัดแต่งหอยแมลงภู่ (รา่ งต้นแบบ)
4) ดำเนนิ การสรา้ งและพฒั นาอุปกรณ์ตดั แตง่ หอยแมลงภู่ (ตน้ แบบ)
5) ให้ผู้เช่ียวชาญ ตรวจประเมนิ ผลตวั อปุ กรณ์ตดั แตง่ หอยแมลงภ่ทู ีส่ รา้ งข้นึ พร้อมปรับปรงุ

ขอ้ บกพร่องตามคำแนะนำใหพ้ รอ้ มใชง้ านจรงิ
ระยะท่ี 3 ทดลองใช้ (Implement)
6) ทดลองใช้งานอุปกรณ์ตัดแต่งหอยแมลงภู่ เปรียบเทยี บกับวิธีการเดมิ เพ่อื หา

ประสิทธภิ าพของอปุ กรณต์ ัดแตง่ หอยแมลงภทู่ ส่ี ร้างขึ้น ดงั นี้
6.1) เก็บข้อมูลการตดั แต่งหอยแมลงภู่ ที่สรา้ งขึน้ จำนวน 10 ครง้ั ๆ ละ 1 ชัว่ โมง

โดยการช่ังน้ำหนักหอยแมลงภู่ทีไ่ ดเ้ ปน็ กิโลกรมั และบันทึกขอ้ มูลในแบบบันทกึ ขอ้ มลู โดยนำอุปกรณ์ ไป
ทดลองใชก้ ับเกษตรกรผู้เลีย้ งหอยแมลงภู่ ตำบลทุ่งคา อำเภอเมือง จังหวัดชมุ พร

6.2) เกบ็ ข้อมูลการตดั แตง่ หอยแมลงภู่ ด้วยวิธีการเดิม จำนวน 10 ครั้ง ๆ ละ 1

9

ชว่ั โมง และบันทกึ ขอ้ มลู ในแบบบันทึกขอ้ มูล กบั เกษตรกรผเู้ ล้ียงหอยแมลงภู่ ตำบลท่งุ คา อำเภอเมือง
จังหวดั ชุมพร

ระยะท่ี 4 ประเมินผลการใช้ (Evaluation)

นำขอ้ มูลทรี่ วบรวมได้ ไปทำการวิเคราะหข์ อ้ มูล โดยใชส้ ถติ ิดงั นค้ี า่ เฉลย่ี และคา่
เบย่ี งเบนมาตรฐานสำหรับการวิเคราะหข์ อ้ มลู ปริมาณการผลติ ได้ด้วยอปุ กรณต์ ัดแต่งหอยแมลงภู่ และ

วธิ ีการเดมิ หาประสทิ ธภิ าพของอปุ กรณต์ ัดแต่งหอยแมลงภู่ สรปุ และเขียนรายงานโครงการตั้งแต่บทท่ี 1
ถึงบทที่ 5 พร้อมเผยแพร่

แผนปฏิบตั ิงาน (พฤษภาคม 2560 – เมษายน 2561)

รายการ/ข้ันตอนกจิ กรรม ระยะเวลาดำเนินงาน (พค 60- เมย 61)

1. ศกึ ษา/วิเคราะหส์ ภาพปัญหา พค มิย กค สค กย ตค พย ธค มค กพ มีค เมย
2. จัดทำและเสนอโครงการ
3. ออกแบบการสรา้ งเครอ่ื ง
4. จัดสรา้ งอุปกรณ์
5. สร้างเครื่องมอื เพื่อรวบรวมข้อมลู
6. ประเมินตน้ แบบอุปกรณ์
7. ทดลองใช้อปุ กรณ์/ปรบั ปรุง/ประเมนิ
9. วิเคราะหข์ อ้ มลู
10. เขยี นรายงานและเอกสารประกอบ
12. ดำเนินการประกวดสงิ่ ประดิษฐ์
13. สรุปผลและเผยแพร่ผลงาน

8. สถานทด่ี ำเนินการ แผนกวิชาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคชมุ พร
9. งบประมาณ/คา่ ใชจ้ า่ ยดำเนนิ โครงการ

รายจา่ ย แหลง่ งบประมาณ/จำนวนเงนิ หมายเหตุ

งปม. บกศ. เงินอดุ หนนุ

1. ค่าตอบแทน -- -

2. ค่าใช้สอย -- -

3. ค่าวัสดุ 1200
- กรรไกร 3 อัน ๆ 400 บาท 900
- ใบมดี ตัด 3 ชุด ๆ 300 บาท 900
- สแตนเลส 1 เส้น กว้าง 2 นิว้ x 1 ม.ม x6 ม.
3000
รวมเปน็ เงินทัง้ สิน้

10. ผลท่ีคาดว่าจะได้รบั
10.1 ผู้ดำเนนิ การได้บรู ณาการความรแู้ ละทักษะวชิ าชพี ที่สอดคลอ้ งกับสาขาวชิ าในการสรา้ ง

ส่งิ ประดษิ ฐ์อุปกรณ์ตดั แตง่ หอยแมลงภู่

10

10.2 สถานศกึ ษาไดผ้ ลงานสง่ิ ประดิษฐส์ อดคล้องกับแนวนโยบายของตน้ สังกัดและรองรบั การประเมิน
จากภายนอกในการประกันคุณภาพการศึกษา

10.3 ชุมชนผเู้ ลยี้ งหอยแมลงภไู่ ด้อปุ กรณต์ ัดแต่งหอยแมลงภู่ท่มี ีประสิทธภิ าพอำนวยความสะดวกใน
การประกอบอาชีพเปน็ เครอ่ื งมือท่นุ แรง ลดอบุ ตั ิเหตจุ ากการทำงานและสามารถเพิ่มอตั ราการผลิต ไดร้ บั
ผลตอบแทนในการจำหน่ายหอยแมลงภตู่ อ่ หน่วยสงู ขน้ึ
11. การตดิ ตามประเมนิ ผลโครงการ

การติดตามและประเมินระหว่างดำเนนิ การดงั นี้ใช้แบบประเมินคณุ ภาพส่งิ ประดิษฐ์โดยผู้เช่ียวชาญ

แบบประเมินความพงึ พอใจผเู้ กย่ี วขอ้ งกับการใช้ส่ิงประดษิ ฐ์และ แบบบันทกึ ผลการทดลองใช้ส่งิ ประดิษฐ์
12. ลงนามผู้เสนอโครงการและผ้เู กย่ี วขอ้ งกับการอนมุ ตั โิ ครงการ

ลงช่อื ......................................... . ลงชือ่ ....................................

(....................................................) (....................................................)

ผู้เสนอโครงการ (หัวหนา้ ) ครทู ่ีปรกึ ษาโครงการ (หัวหน้า)

ผู้เหน็ ชอบโครงการ...............................................................................................................

(ลงช่ือ).....................................................
(...................................................)

หวั หน้าแผนกวิชา................................................
วันที่........ เดือน....................... พ.ศ..........
ผูเ้ ห็นชอบโครงการ...............................................................................................................

(ลงช่อื ).....................................................
(...................................................)

หัวหน้างานวจิ ยั พฒั นาและส่ิงประดษิ ฐ์

วันที่........ เดอื น....................... พ.ศ..........
ผู้เหน็ ชอบโครงการ...............................................................................................................

(ลงชื่อ).....................................................
(......................................................)

รองผอู้ ำนวยการฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ
วนั ท.่ี ....... เดอื น....................... พ.ศ............

ผู้อนมุ ัตโิ ครงการ...............................................................................................................

(ลงช่อื ).....................................................

(..............................................................)
ผอู้ ำนวยการวทิ ยาลัยเทคนคิ ชมุ พร

วันท่.ี ....... เดอื น....................... พ.ศ.............
หมายเหตุ ถา้ มี (แบบรา่ ง) ใหแ้ นบมาด้านหลังแบบเสนอโครงการ ซง่ึ จะเปน็ ประโยชน์ และเปน็ ตัวช้ีวดั

ความสำเร็จของโครงการประการหนึง่

11

*** สำหรับรายละเอยี ด แนวทางการจัดทำผลงานสงิ่ ประดิษฐข์ องคนร่นุ ใหมอ่ าชีวศึกษา ในสถานศึกษา ท่ี
กำหนดโดยสำนกั วิจยั และพฒั นาการอาชวี ศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ( 2557)
ดงั แผนภูมทิ ่ี 1 และแนวทางการจดั ทำสง่ิ ประดษิ ฐ์ วิทยาลัยเทคนิคชุมพร ดังแผนภูมิท่ี 2

12

แผนภมู ทิ ่ี 1 แนวทางการจัดทำผลงานสง่ิ ประดษิ ฐ์ของคนร่นุ ใหม่อาชวี ศกึ ษา ในสถานศกึ ษา
ที่มา: สำนักวจิ ยั และพัฒนาการอาชวี ศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา 2557

ข้ัน ขัน้ ตอนท่ี 1 1 เสรมิ สรา้ งศักยภาพครผู ู้สอนวชิ าโครงการและ ครูท่ี
เตรียมการ วางแผน ปรกึ ษาสง่ิ ประดษิ ฐ์ (จดั โครงการ)
(Plan) 2. ครูทป่ี รกึ ษาเสนอโครงการเบือ้ งต้น (สิ่งประดิษฐ์)
3. พจิ ารณาขอ้ เสนอโครงการและสง่ ประมาณการ (สผ.)
4. การเบิกจา่ ย (ยมื เงิน) เตรียมการจดั ซอื้ วสั ดุ อุปกรณ์
5. สะสางเอกสารทางการเงนิ (ใบเสร็จ)แต่ละโครงการ

ขนั้ ตอนท่ี 2 1 ดำเนนิ โครงการตามแผนงาน
ปฏิบตั ิ 1.1 ส่ิงประดษิ ฐ์ (ชนิ้ งาน)
(Do) 1.2 เอกสารประกอบฯ (ข้อเสนอ,รายงานวิจัย,คู่มอื
ใบรบั รอง แบบคณุ ลกั ษณะ,CD ขอ้ มูล)
ขั้น
ดำเนนิ การ 2. ตดิ ตามความก้าวหน้าลการดำเนนิ โครงการ
(ในข้อ1.1,1.2)

3. พัฒนาทักษะนำเสนอผลงานสิง่ ประดษิ ฐ์ (โครงการ)
4. สง่ เอกสารประกอบฯท่งี านวจิ ยั พฒั นาฯ
5. ประกวดส่งิ ประดษิ ฐ์ (ในระดับ อศจ.หรือสงู ขนึ้ )

ขนั้ ตอนที่ 3 1. ตรวจสอบ/ประเมนิ เอกสารประกอบฯ กอ่ นเขา้
ตรวจสอบ เลม่ เพอื่ สง่ ระดับ อศจ. และระดับทส่ี งู ขนึ้
(Check)
2. ประเมนิ ผลสงิ่ ประดษิ ฐ์ท่ีเข้ารว่ มในระดบั อศจ.
และสูงขน้ึ

ขั้น ขั้นตอนที่ 4 1. สรปุ ผล ปัญหาอุปสรรคของโครงการส่งิ ประดษิ ฐ์
สรุปผล 2 .แนวทางข้อเสนอแนะในการปรับปรุงโครงการ
ปรบั ปรงุ
(Action) (สง่ิ ประดิษฐ)์ ครัง้ ต่อไป

รายงานผลโครงการ และเผยแพร่โครงการ

แผนภมู ทิ ่ี 2 แนวทางการจดั ทำสิ่งประดษิ ฐ์ วิทยาลยั เทคนิคชุมพร
ทม่ี า :งานวิจัยนวตั กรรมและส่ิงประดษิ ฐ์ วทิ ยาลยั เทคนคิ ชุมพร

13

3. แนวทางการจดั ทำเอกสารประกอบการนำเสนอผลงานสงิ่ ประดิษฐ์ของคนรนุ่ ใหม่
และแบบรายงานการวิจัย
ประกอบด้วย 4 ส่วนสำคญั ดังนี้

ส่วนท่ี 1 แบบเสนอโครงการวิจัยส่งิ ประดษิ ฐ์ของคนร่นุ ใหม่“สุดยอดนวัตกรรม
อาชีวศึกษา” การประกวดส่งิ ประดษิ ฐ์ของคนรนุ่ ใหม่ ประจำปกี ารศึกษา
2560 ปพี ุทธศักราช 2560 – 2561 (แบบ ว-สอศ.-2)

สว่ นที่ 2 แบบรายงานการวิจยั (แบบ ว-สอศ.-3) ประกอบด้วย 3 ส่วนดงั นี้
1) ปก บทคัดยอ่ กติ ตกิ รรมประกาศ สารบญั (ส่วนหน้า)
2) บทที่ 1-5 (ไม่เกิน 20 แผ่น) (สว่ นเนื้อหา)
3) บรรณานกุ รมและภาคผนวก (ส่วนท้าย)

ส่วนที่ 3 ภาคผนวก ประกอบด้วย 3 สว่ นดังนี้
1) ค่มู ือการใชภ้ าษาไทยและภาษาองั กฤษ
2) แบบรับรองการนำผลงานสง่ิ ประดิษฐไ์ ปใชง้ านจริง ตามแบบที่สำนกั งาน
คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษากำหนด
3) แบบนำเสนอคุณลกั ษณะตามแบบท่ี สำนักงานคณะกรรมการอาชวี ศึกษา
กำหนด

สว่ นท่ี 4 ข้อมลู อิเล็กทรอนิกส์ (ไฟล์ *.doc และ *.pdf) บนั ทึกลงแผ่น CD/DVD

4. แนวทางการจัดทำแบบรายงานการวจิ ยั

ประกอบไปดว้ ย 3 ส่วนสำคญั ดังนี้
1) สว่ นหน้า ดังนี้

ปกนอก (ช่ือเร่ือง ชอ่ื ผูว้ จิ ัยและข้อความอ่ืน ๆ เชน่ หนว่ ยงานของผู้วิจัย ปีทวี่ ิจยั )
รองปก
ปกใน (รายละเอียดเหมอื นปกนอก)
บทคดั ยอ่ ภาษาไทย (สรุปย่อทัง้ หมดของการวจิ ัยควรมี วัตถุประสงค์ วิธดี ำเนนิ การ ผลการวิจยั )
บทคดั ยอ่ ภาษาองั กฤษ (สรุปยอ่ เปน็ ภาษาอังกฤษ)
กิตตกิ รรมประกาศ (การประกาศขอบคุณบุคลคลและหน่วยงานท่ีใหค้ วามอนุเคราะหก์ ารวิจัย)
สารบัญ (เนอื้ เร่อื ง)
สารบญั ตาราง
สารบญั ภาพ / แผนภูมิ / อน่ื ๆ (ถ้ามี)
หมายเหตุ การกำหนดหนา้ ในส่วนนน้ี ยิ มใชร้ ะบบอกั ษรคือ ก ข ค......
2) ส่วนเนอื้ หา (บทท่ี 1-5 จำนวนไมเ่ กิน 20 หนา้ ) ดังน้ี
บทท่ี 1 บทนำ (2-3 หน้า)
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีเอกสารและงานวจิ ัยที่เกยี่ วข้อง (3-5 หน้า)
บทท่ี 3 วิธดี ำเนนิ การวจิ ยั (3-4 หน้า)
บทที่ 4 ผลการวจิ ัย (3-4 หนา้ )
บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ (1-2 หน้า)

14

3) ส่วนท้าย(บรรณานกุ รม ภาคผนวก)
บรรณานกุ รม
ภาคผนวกรายงานการวจิ ยั
(รายชื่อผทู้ รงคุณวฒุ ิ, เคร่อื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการวจิ ัย , ผลการวเิ คราะห์ หรอื อ่นื ๆ)
ประวัติผวู้ ิจยั
สนั เลม่ รายงานการวิจยั
(ระบุ ช่อื งานวิจยั หวั หนา้ โครงการวิจัย ปีพ.ศ.ทีท่ ำเสร็จ)

หมายเหตุใชร้ ปู แบบอักษร TH SarabunPSK ขนาด 16 point หวั ข้อใหญ่ 18 point
ระยะขอบ บน 2.5 ซม. ล่าง 2 ซม.
ซ้าย 3.5 ซม. ขวา 2 ซม.

หมายเหตุ : นำเสนอตวั อย่างเรยี งลำดับการจัดรปู เล่มของประกอบการนำเสนอผลงาน
ส่งิ ประดิษฐข์ องคนรนุ่ ใหม่และแบบรายงานการวิจยั (สว่ นท่ี 1-4)
ประจำปีการศึกษา 2560 ดังตัวอย่างข้างลา่ งน้ี

5. วธิ กี ารเขยี นเน้ือหา บทท่ี 1 – บทท่ี 5

บทท่ี 1 บทนำ (2-3 หน้า)
ประกอบดว้ ยส่วนต่างๆทีเ่ ขียนไว้แลว้ ในแบบเสนอโครงการวิจยั ประกอบด้วยหวั ขอ้ ตา่ ง ๆ ดงั น้ี
1.1.ความเปน็ มาและความสำคญั ของปัญหา (เกร่ินนำภาพกวา้ ง ๆ ระบปุ ัญหาท่เี กดิ ขน้ึ และสรปุ

สงิ่ ทีจ่ ำดำเนินการ (สิ่งประดษิ ฐ์)
1.2 วตั ถุประสงค์ของการวิจยั (ส่ิงทม่ี ุง่ หวังจะทำ เช่น เพือ่ สร้าง เพ่อื หาประสทิ ธิภาพ)
1.3 ขอบเขตของการวิจยั (ขอบเขตการสรา้ งสง่ิ ประดิษฐ์และการประเมนิ ประสทิ ธิภาพ

สงิ่ ประดษิ ฐ)์
1.4 ประโยชน์ทีไ่ ด้รับ (ใครจะได้ประโยชน์เมอ่ื ทำส่งิ ประดิษฐน์ ี้สำเรจ็ ผูเ้ กี่ยวข้องตา่ งๆ )

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎเี อกสารและงานวิจัยทเ่ี กี่ยวขอ้ ง (3-5 หนา้ )
นำเสนอแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจยั ทีเ่ ก่ียวขอ้ งท่ใี ชใ้ นการวิจัย (ต้องใช้ความร้ใู ดในการทำ

สง่ิ ประดิษฐ์น้)ี เรยี บเรียงสรปุ กรอบความคิด หลกั การ การเขยี นตอ้ งเปน็ การเรยี บเรยี งเน้ือหาเหมือนกับการ
เขียนบททางความวิชาการไม่ควรลอกเนื้อหามาต่อกันเป็นทอ่ นๆ หัวขอ้ สำคญั นา่ จะประกอบด้วย

- แนวความคิดหรือทฤษฎีท่ีเก่ยี วข้องท่ีนำมาใช้ในการทำส่ิงประดิษฐ์/งานวิจัย
- ผลการวจิ ัยทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับส่งิ ท่ีนำมาใชใ้ นการแก้ปญั หา
บทท่ี 3 วิธีดำเนินการวิจัย (3-4 หนา้ )
นำเสนอถึงวิธีการสร้างสิ่งประดิษฐ์ แสดงขน้ั ตอนการสร้าง หรอื พฒั นามอี ะไรบ้าง มี
ขน้ั ตอนการสร้างและพฒั นาอย่างไร รวมถงึ วธิ ีสรา้ งเครอื่ งมอื ทใ่ี ช้รวบรวมข้อมลู รปู แบบการวจิ ยั การเกบ็
รวบรวมข้อมูล และวธิ กี ารวเิ คราะห์ขอ้ มูล หัวขอ้ ท่ีควรนำเสนอในบทน้ีได้แก่
1) ขัน้ วเิ คราะห์สภาพปัญหา (Analysis)
2) ข้นั ออกแบและพัฒนา (Design and Development) แสดงข้ันตอนการพฒั นาต้งั แต่เรมิ่ ตน้
กระท่ังสิ้นสดุ (ควรใชร้ ูปภาพเป็นส่อื แสดงรายละเอียดให้ชดั เจนเพ่ือสรา้ งความเขา้ ใจ)
3) ทดลองใช้ (Implement) กบั กลุ่มตวั อยา่ งหรือกลุม่ เป้าหมายเปน็ ใคร ท่ีไหน จำนวนเท่าไหร่
ทดลองกคี่ รัง้ แต่ละครัง้ ใช้เวลาอย่างไร หรือการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลของการทดลอง มีการวเิ คราะห์ข้อมลู การ
อย่างไร

15

4) ประเมนิ ผล (Evaluation) ประสทิ ธภิ าพของส่งิ ประดิษฐ์อย่างไร ประเมนิ ความคิดเห็น
ผูใ้ ชง้ านส่งิ ประดิษฐ์

จะเหน็ วา่ หลาย ๆ หวั ขอ้ ในบทน้อี ยใู่ นแบบเสนอโครงงานวิจัยที่ทำไวแ้ ล้ว แต่ต้องนำมาขยายความ
และเขียนบรรยายในลักษณะท่ีไดท้ ำไปแล้ว
บทที่ 4 ผลการวิจยั (3-4 หนา้ )

นำเสนอผลการวจิ ัย ซึง่ มที ั้งผลการวิเคราะห์ข้อมลู เชิงปรมิ าณและเชิงคุณภาพหลักการนำเสนอ
ผลการวิจัยทัง้ สองลักษณะมดี งั น้ี

- เรียงดับตามวัตถปุ ระสงค์การวิจยั โดยเฉพาะผลการสรา้ งและพฒั นาสง่ิ ประดษิ ฐค์ วรแสดงเปน็
ภาพของสง่ิ ประดิษฐพ์ รอ้ มสว่ นประกอบทสี่ ำคัญ คุณลกั ษณะทางกายภาพ ประสิทธิภาพของสิ่งประดิษฐ์ใช้
ภาษาท่เี ข้าใจงา่ ย หลกี เล่ยี งการใชภ้ าษาทางสถิติ

- หากมีตารางหรอื กราฟใหอ้ ธิบายอย่างชดั เจนวา่ ต้องการนาเสนออะไร
บทที่ 5 สรปุ ผลการวจิ ัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ (1-2 หน้า)

นำเสนอข้อสรุปจากทกุ บทท่ผี ่านมาและข้อคน้ พบทไ่ี ดจ้ ากการวจิ ยั ให้เขียนภาพรวมเป็นความเรยี ง
เริ่มจากวัตถุประสงคก์ ารวิจยั สรปุ วิธกี ารดำเนนิ การโดยย่อให้กระชบั ได้ใจความและมีหัวขอ้ สำคัญดังนี้

1) สรปุ ผลการวิจัย โดยสรุปผลจากบทท่ี 4 หรือข้อสรุปใตต้ ารางบทที่ ไมแ่ สดงตัวเลข
ทางสถิติ นำเสนอเรยี งตามวตั ถปุ ระสงค์

2)การอภิปรายผลการวิจัย โดยนำเสนอประเด็นทส่ี ำคญั หรอื อภิปรายสมมตฐิ าน
สอดคลอ้ งหรือไม่สอดคลอ้ ง ใสค่ วามคดิ หรือเหตผุ ลของนักวจิ ยั /นกั ประดิษฐ์ ทำไมเปน็ เชน่ น้ัน สอดคล้องกบั
ทฤษฎหี รอื ผลการวิจัย (บทท่ี 2) ท่ีคนอ่ืนทำไว้มาเป็นเหตุผลมาประกอบการอภปิ ราย

3) ขอ้ เสนอแนะการวจิ ยั โดยนำเสนอประเดน็ ที่ควรนำผลการวจิ ยั ไปใชป้ ระโยชน์
ซึง่ มขี ้อควรระวงั ในการนำไปใชอ้ ะไรบา้ ง แนะนำไปใชอ้ ะไรบ้าง และขอ้ เสนอแนะว่าควรทำวจิ ัยอะไร
อยา่ งไร

สว่ นทา้ ยของการเขียนรายงานการวิจัยประกอบดว้ ย 2 ส่วน คือ เอกสารอา้ งอิง และ
ภาคผนวก การเขียนเอกสารอา้ งอิงน้นั ควรใช้รปู แบบใดรปู แบบหนึ่งให้คงที่ การเขยี นภาคผนวกอาจจะ
นำเสนอภาพกจิ กรรม เคร่อื งมือทใี่ ช้ในการวิจัย อปุ กรณ์ ตัวอยา่ งขอ้ มลู ดิบ ทั้งนขี้ อใหพ้ ิจารณาความ
เหมาะสมด้วยวา่ ควรนาเสนออะไร ตามลำดบั อย่างไร

หมายเหตุ เปน็ วธิ กี ารเขยี นยกมาเพยี งสน้ั ๆ ควรศกึ ษาเพม่ิ เติมการเขียนรายงานโครงการหรือรายงานวจิ ยั
ในตำราหรือขอ้ มูลออนไลนซ์ ง่ึ มีหลากหลายแหลง่ ใหศ้ กึ ษาค้นคว้า

16

เอกสารประกอบการนำเสนอผลงาน
สง่ิ ประดษิ ฐข์ องคนรุ่นใหมแ่ ละแบบรายงานการวจิ ัย

ประจำปกี ารศึกษา 2560

ประเภทท่ี 2
สงิ่ ประดิษฐ์ดา้ นการประกอบอาชีพ

2.2 ดา้ นเคร่ืองมอื หรืออปุ กรณ์

อุปกรณ์ตดั แต่งหอยแมลงภู่

(Green Mussel Cutter)

วิทยาลยั เทคนิคชมุ พร
อาชวี ศกึ ษาจังหวดั ชมุ พร
สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

กระทรวงศกึ ษาธิการ

17

รายละเอียดส่วนประกอบของ
เอกสารประกอบการนำเสนอผลงานส่งิ ประดษิ ฐ์ของคนรุ่นใหมแ่ ละแบบรายงานการวิจยั

ประจำปกี ารศึกษา 2560
ดงั นี้

ส่วนที่ 1 แบบเสนอโครงการวิจยั ส่งิ ประดษิ ฐข์ องคนร่นุ ใหม“่ สดุ ยอดนวตั กรรม
อาชีวศกึ ษา” การประกวดส่ิงประดษิ ฐข์ องคนรนุ่ ใหม่ ประจำปกี ารศึกษา
2560 ปพี ทุ ธศกั ราช 2560 – 2561 (แบบ ว-สอศ.-2)

สว่ นที่ 2 แบบรายงานการวิจยั (แบบ ว-สอศ.-3) ประกอบดว้ ย 3 ส่วนดังน้ี
4) ปก บทคัดยอ่ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ (ส่วนหนา้ )
5) บทท่ี 1-5 (ไมเ่ กิน 20 แผน่ ) (ส่วนเน้อื หา)
6) บรรณานุกรมและภาคผนวก (สว่ นทา้ ย)

สว่ นที่ 3 ภาคผนวก ประกอบด้วย 3 ส่วนดงั นี้
1) คมู่ ือการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
2) แบบรบั รองการนำผลงานส่งิ ประดิษฐ์ไปใชง้ านจริง ตามแบบท่ีสำนักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนด
3) แบบนำเสนอคณุ ลักษณะตามแบบท่ี สำนกั งานคณะกรรมการอาชวี ศกึ ษา
กำหนด

ส่วนท่ี 4 ข้อมลู อิเล็กทรอนิกส์ (ไฟล์ *.doc และ *.pdf) บนั ทกึ ลงแผน่ CD/DVD

18
ส่วนที่ 1 แบบเสนอโครงการฯ

แบบเสนอโครงการวิจยั ส่งิ ประดิษฐ์ของคนรนุ่ ใหม่
(ว-สอศ-2)

ประจำปกี ารศกึ ษา 2560
ปพี ุทธศกั ราช 2560 - 2561

ผลงานสงิ่ ประดษิ ฐ์ประเภทท่ี 2
ส่ิงประดิษฐด์ ้านการประกอบอาชีพ

2.2 ด้านเคร่อื งมือหรืออุปกรณ์

อปุ กรณ์ตัดแตง่ หอยแมลงภู่

(Green Mussel Cutter)

วทิ ยาลัยเทคนคิ ชมุ พร
อาชีวศกึ ษาจังหวดั ชมุ พร
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

กระทรวงศึกษาธิการ

19

สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา แบบ ว-สอศ.-2

(สำหรับนักเรยี น นักศึกษา)

แบบเสนอโครงการวิจัยสง่ิ ประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ “สดุ ยอดนวัตกรรมอาชวี ศกึ ษา”

การประกวดส่งิ ประดษิ ฐ์ของคนร่นุ ใหม่ ประจำปีการศกึ ษา 2560

ปพี ุทธศักราช 2560 - 2561

......................................................................
ชื่อผลงานวจิ ัย (ภาษาไทย) อปุ กรณต์ ดั แต่งหอยแมลงภู่

(ภาษาองั กฤษ) Green Mussel Cutter
ชือ่ สถานศึกษา วิทยาลัยเทคนคิ ชมุ พร อาชวี ศึกษา จังหวัดชมุ พร
ท่อี ยู่ 138 ตำบลนาชะองั อำเภอเมือง จงั หวัดชุมพร
เบอร์โทรศัพท์ 077-657043 E-mail -

ส่วน ก : ลักษณะงานวจิ ยั งานวิจัยต่อเนอื่ งระยะเวลา 2 ปี
/ งานวจิ ัยใหม่

ความสอดคล้องระดบั ชาติ
1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 11 (พ.ศ.2555-2559)
ยุทธศาสตร์ที่ 5.4.2การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม
2. นโยบายและยทุ ธศาสตรก์ ารวจิ ยั ของชาติฉบับที่ 8 (พ.ศ.2555-2559)
ยุทธศาสตร์การวิจัยที่ 2 การสร้างศักยภาพและความสามารถเพ่ือการพัฒนาทาง
เศรษฐก์ จิ
3. ยุทธศาสตรก์ ารวิจยั ของชาตริ ายประเดน็ ปี (2560)
ยทุ ธศาสตร์ที่ 8 การพฒั นาเทคโนโลยี
4. ยุทธศาสตร์ประเทศ
ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การเพมิ่ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ เพื่อหลดุ พน้
จากประเทศรายได้ปานกลาง
5. นโยบายรฐั บาล/เปา้ หมายของรัฐบาล
นโยบาย/เป้าหมาย การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี การวจิ ัยและพฒั นานวัตกรรม

ความสอดคลอ้ งระดับกระทรวง
1. นโยบายของรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร
นโยบายสง่ เสริมใหส้ ถานศึกษาระดบั อาชีวศกึ ษามีความเปน็ เลิศเฉพาะด้าน
2. ยทุ ธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ
ยทุ ธศาสตร์ที่ 5 พฒั นากำลังคนและงานวิจัยที่สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของ
การพัฒนาประเทศ
3. ยุทธศาสตร์สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
ยทุ ธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจัดการใหม่

20

ความสอดคล้องระดับสว่ นภูมภิ าค
1. ยทุ ธศาสตรก์ ล่มุ จังหวดั ภาคใตฝ้ ่ังอา่ วไทย พ.ศ.2555-2559
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสรา้ งศกั ยภาพและความสามารถเพ่ือการพัฒนานวตั กรรมและ
บุคคลากรทางการวจิ ยั
จงั หวดั ชมุ พร
ยุทธศาสตร์ การพัฒนาคนและสงั คมใหม้ ีคณุ ภาพ
3. พันธกิจหรือนโยบายของสถานศึกษา/สถาบนั การอาชีวศกึ ษา
พนั ธกจิ ท่ี 4 ส่งเสริมและพัฒนาการวจิ ยั สง่ิ ประดิษฐ์ นวตั กรรมและเทคโนโลยีให้มี
คุณภาพ สนองความต้องการชุมชนและทอ้ งถนิ่

โครงการวิจยั น้ี สามารถนำไปเผยแพร่และขยายผลไปสู่การใช้ประโยชน์ได้
 เชงิ นโยบาย ระบุ)............................................................................................
 เชงิ พาณชิ ย์ (ระบุ)...........................................................................................
 เชิงวิชาการ (ระบุ)...........................................................................................
 เชิงพนื้ ที่ (ระบุ) เกษตรกรที่เกยี่ วข้องกับอาชีพเลยี้ งหอยแมลงภู่ จ.ชุมพร
 เชิงสาธารณะ/สงั คม (ระบ)ุ .............................................................................
 อืน่ ๆ (ระบุ)....................................................................................................

ภาพแบบร่าง (อุปกรณต์ ัดแตง่ หอยแมลงภู่)

ใบมีดแต่ง

กรรไกรตัด

ส่วน ข : องค์ประกอบในการจดั ทำโครงการวิจัย
1. ผ้รู บั ผิดชอบประกอบด้วย
1.1 หัวหนา้ ทมี โครงการวจิ ยั
ชื่อนายยัญไนอู้ ตำแหนง่ นักศกึ ษา
ทอี่ ยู่ 138 ตำบลนาชะอัง อำเภอเมือง จงั หวัดชมุ พร
เบอรโ์ ทรศพั ท์ 0808766263 E-mail yannaioo [email protected]
1.2 นกั วจิ ัยรุน่ ใหม่
1.2.1 ช่ือนายพงษศ์ ริ ิ นามสกุล พรมทศั ตำแหน่ง นกั ศกึ ษา
ระดับชนั้ ปวส. 1 สาขาวิชา เทคนิคการผลิต

21

1.2.2 ชื่อนายจิณวัตร นามสกุล นอ้ ยนาเวศ ตำแหนง่ นักศกึ ษา
ระดับช้ัน ปวส. 1 สาขาวิชา เทคนคิ การผลิต

1.2.3 ช่อื นายณัฐวุฒิ นามสกุล รองมาลี ตำแหนง่ นกั ศึกษา
ระดับชั้น ปวส. 1 สาขาวชิ า เทคนคิ การผลิต

1.3 คณะผูร้ ่วมวิจยั /ท่ีปรกึ ษาโครงการวจิ ัย
1.3.1 ชื่อนายอภชิ าติ เนนิ พรหม ตำแหน่ง ครู
แผนกวชิ าช่างกลโรงงาน สาขาวิชาทเ่ี ชีย่ วชาญ ช่างกลโรงงาน
1.3.2 ช่อื นายทิพย์รตั น์ นามสกุล ทิพย์กรรณ ตำแหนง่ ครู
แผนกวิชาช่างกลโรงงาน สาขาวิชาทีเ่ ชย่ี วชาญ ชา่ งกลโรงงาน

หน่วยงานหลกั วทิ ยาลัยเทคนคิ ชมุ พร
1.4 หนว่ ยงานสนับสนุน(ถา้ มี)
14.1 สำนกั วจิ ยั และพัฒนาอาชีวศึกษา
14.2 สำนกั นโยบายพลงั งาน กระทรวงพลังงาน
1.5 อน่ื ๆ…………………………………………………………………………………………………………………

2. ประเภทการวจิ ยั
 การวจิ ัยพนื้ ฐาน (basic research)
 การวิจัยประยกุ ต์ (applied research)
 การวจิ ยั และพัฒนา (research and development)

3. สาขาวิชาการ/ประเภทสิ่งประดิษฐข์ องคนรุ่นใหม่
1) สาขาวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพและคณิตศาสตร์
สิง่ ประดิษฐแ์ ละนวัตกรรมทท่ี ำการวจิ ัย ประเภทที่........................
2) สาขาวทิ ยาศาสตร์การแพทย์
สิ่งประดษิ ฐแ์ ละนวัตกรรมที่ทำการวิจัย ประเภทท่ี........................
3) สาขาวิทยาศาสตร์เคมแี ละเภสัช
สง่ิ ประดษิ ฐแ์ ละนวตั กรรมทที่ ำการวิจัย ประเภทท่ี........................
4) สาขาเกษตรศาสตร์และชวี วิทยา
สิ่งประดิษฐแ์ ละนวัตกรรมที่ทำการวจิ ยั ประเภทท่ี........................

 5) สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอตุ สาหกรรมวจิ ัย
สง่ิ ประดิษฐ์และนวัตกรรมทท่ี ำการวจิ ัยประเภทที่2ส่ิงประดิษฐด์ า้ นการประกอบอาชพี

6) สาขาปรัชญา
สิ่งประดิษฐแ์ ละนวตั กรรมที่ทำการวิจยั ประเภทที่........................

7) สาขานติ ิศาสตร์
สง่ิ ประดษิ ฐ์และนวตั กรรมทที่ ำการวิจัย ประเภทท่ี........................

8) สาขารฐั ศาสตร์และรฐั ประศาสนศาสตร์
ส่งิ ประดษิ ฐ์และนวัตกรรมทีท่ ำการวิจยั ประเภทที่........................

9) สาขาเศรษฐศาสตร์
สง่ิ ประดิษฐ์และนวตั กรรมทท่ี ำการวจิ ัย ประเภทที่........................

10) สาขาสังคมวทิ ยา
สง่ิ ประดษิ ฐ์และนวัตกรรมทท่ี ำการวจิ ยั ประเภทที่........................

22

11) สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนเิ ทศศาสตร์
ส่ิงประดิษฐแ์ ละนวัตกรรมทีท่ ำการวิจยั ประเภทท่ี........................

12) สาขาการศกึ ษา
สง่ิ ประดษิ ฐ์และนวัตกรรมทีท่ ำการวิจยั ประเภทที่........................

4. คำสำคัญ (keywords) ของการวจิ ัย
4.1 อปุ กรณ์ตัดแตง่ หอยแมลงภู่ หมายถึง เครอื่ งมือสำหรบั ใชใ้ นการตัดแต่งหอยแมลงภู่ท่ี

ผสมผสานระหวา่ งใบมดี และกรรไกรในอันเดียวกนั สำหรับตัดและแตง่ หอยแมลงภโู่ ดยใช้แรงงานคนทำ
4.2 ประสทิ ธิภาพของอุปกรณต์ ดั แต่งหอยแมลงภู่ หมายถึง รอ้ ยละของปริมาณ (กโิ ลกรมั /

ช่วั โมง)ของหอยแมลงภู่ท่ที ำได้ดว้ ยอุปกรณต์ ัดแตง่ หอยแมลงภู่เทยี บกับปรมิ าณท่ีทำไดด้ ว้ ยวธิ ปี กติ
5. ความสำคญั และท่มี าของปญั หาท่ีทำการวิจยั
หอยแมลงภู่ เป็นสัตว์ทะเลท่ีมีคุณค่าทางเศรษฐกิจอีกชนิดหนึ่ง หอยชนิดน้ีสามารถทำ

รายไดเ้ ข้าสู่ประเทศแต่ละปีเป็นเงินจำนวนมาก เป็นอาหารทะเลท่มี ีรสชาติอร่อยและมีคณุ คา่ ทางโภชนาการ
สูง จงึ เปน็ ทนี่ ยิ มบริโภคกันอยา่ งแพรห่ ลาย โดยสามารถนำมาทำเป็นอาหารรับประทานสดหรือเพื่อเป็นการ
ถนอมอาหารในรปู แบบตา่ ง ๆ เช่น การทำเคม็ ตากแหง้ หมกั ดอง เปน็ ต้น นิพนธ์ ศิริพนั ธ์. 2543)

จังหวัดชุมพรมีพื้นท่ีติดชายฝั่งทะเลยาวถึง 222 กิโลเมตรมีอาชีพเล้ียงหอยแมลงภู่ เป็น
จำนวนมาก วธิ ีการเล้ียง จะใชไ้ ม้ไผ่ปกั ในทะเลประมาณ 3 เดอื น เพื่อให้ลูกหอยแมลงภู่มาเกาะ โดยเอาอวน
มาหุ้มเพื่อป้องกันหอยร่วง เลี้ยงไปประมาณ 7-8 เดือนก็จะได้หอยท่ีมีขนาด 20 ตัวต่อกิโลกรมั นำมาขาย
ไดก้ ิโลกรัมละ 4 บาท ถ้าขูดเพรียงทำความสะอาดจะขายได้กิโลกรัมละ 5-6 บาท ปีหนึ่งทำเงินได้ประมาณ
150,000 บาท ซ่ึงก็ดีกว่าการทำประมง เพราะเป็นอาชีพที่รายได้แน่นอน ตลาดมีความต้องการสม่ำเสมอ
(ศุภชัย นิลวานิช,2553)

ปัญหาของผู้เล้ียงหอยแมลงภู่ในการจัดจำหน่ายให้ได้ราคา หอยแมลงภู่ต้องล้างและตัด
แต่งเอาเพรียงทะเลและซังหอยออกกอ่ นจึงนำไปจำหน่ายเพ่อื ให้ได้ราคาที่สงู ข้ึน โดยในขนั้ ตอนการล้างและ
ตดั เพรียงทะเลออกมักถูกเปลือกหอยท่ีแหลมคมและเพรียงทะเลบาดมือ โดยส่วนใหญ่ใช้อุปกรณ์ เช่น มีด
กรรไกรในการเคาะเพรียงทะเลและตัดซงั หอย ซ่ึงอาจเกิดอันตรายขณะปฏบิ ตั งิ านและเกิดอาการเมือ่ ยล้าได้
เม่ือทำงานไปนาน คณะผู้ดำเนินการวิจัยจึงมีแนวคิดในการสร้างการพัฒนาอุปกรณ์สำหรับตัดและแต่ง
หอยแมลงภู่เพ่ือแก้ปัญหาให้กับเกษตรกรผู้มีอาชีพเลี้ยงหอยแมลงภู่เพื่อ อำนวยความสะดวก เพ่ิมจำนวน
ผลผลิต และมคี วามปลอดภัยในการทำงานสงู

6. วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจัย
6.1 เพ่ือสรา้ งอปุ กรณ์ตดั แต่งหอยแมลงภู่
6.2 เพือ่ หาประสทิ ธิภาพของอปุ กรณ์ตดั แตง่ หอยแมลงภู่

7. ขอบเขตของการวจิ ยั
สรา้ งอปุ กรณ์ตัดแตง่ หอยแมลงภู่ ท่มี ีอัตราการผลิต 20 กโิ ลกรัมตอ่ คนต่อชว่ั โมง และ

ทดลองใชก้ ับพื้นที่ จ. ชุมพร
8. ทฤษฎี สมมุติฐาน (ถ้ามี) และกรอบแนวความคิดของการวิจัย
การสร้างอุปกรณ์ตัดแตง่ หอยแมลงภู่ ผวู้ ิจยั ดำเนินการตามกระบวนการวจิ ยั และพัฒนา

นวตั กรรม 4 ขั้นตอนดังนี้ ขัน้ ที่ 1 วเิ คราะหป์ ญั หา (Analysis) ขนั้ ท่ี 2 ออกแบบและพฒั นา (Design and
Development) ข้ันที่ 3 ทดลองใช้ (Implement) และข้ันที่ 4 ประเมนิ ผล (Evaluation) เพอ่ื ให้ได้
อปุ กรณต์ ัดแตง่ หอยแมลงภ่ทู ่มี ีประสทิ ธภิ าพเมื่อเทียบกบั วธิ กี ารปกติโดยมีกรอบแนวคดิ ในการวิจยั ดงั น้ี

23

แนวคดิ ทฤษฏีท่ีใชพ้ ฒั นา ตัวแปรตน้ ตวั แปรตาม
(กระบวนการวิจัยพัฒนานวตั กรรม)
1.อุปกรณ์ตัดแตง่ ประสทิ ธิภาพของ
ขัน้ ท่ี 1 วเิ คราะหป์ ัญหา (Analysis) หอยแมลงภู่ อุปกรณ์ตัดแตง่
หอยแมลงภู่
ขัน้ ท่ี 2 ออกแบบและพัฒนา 2. การตดั แต่งหอย
(Design แมลงภูว่ ิธปี กติ

and Development)
ขนั้ ท่ี 3 ทดลองใช้ (Implement)

ข้ันที่ 4 (Evaluation)

กรอบแนวคิดของการวจิ ยั “อุปกรณต์ ดั แต่งหอยแมลงภ่”ู

9. การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ (information) ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
คมตดั และลกั ษณะของคมตัด
หอยแมลงภู่

10. การสืบค้นจากฐานข้อมูลสิทธิบัตร
-

11. เอกสารอ้างอิงของการวจิ ยั
กรมประมง. (2536). การเลยี้ งหอยแมลงภู่. กรงุ เทพมหานคร: กรมประมง, กองสง่ เสริม
การประมง.
นิพนธ์ ศริ ิพนั ธ์. (2553). คูม่ ือการเลี้ยงหอยทะเลเศรษฐกจิ . กรุงเทพมหานคร: กรม
ประมง, กองสง่ เสรมิ การประมง.
วันทนา อยูส่ ุข. (2551). หอยทะเล. กรงุ เทพมหานคร: มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, คณะ
ประมง, ภาควชิ าวิทยาศาสตร์ทางทะเล.
ศุภชัย นลิ วานชิ . “เลี้ยงหอยแมลงภู่” มตชิ นรายวัน. ( 3 มถิ ุนายน 2543 )

12. ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะไดร้ บั
12.1 อปุ กรณต์ ัดแตง่ หอยแมลงภู่ทส่ี รา้ งข้นึ สามารถเพ่มิ อตั ราการผลิตสามารถใช้เป็น

เครื่องมอื ทุ่นแรง ลดเวลาในการผลิต มีความเหมาะสมในการใชง้ านในครัวเรือน
12.2 เกษตรกรทมี่ ีอาชีพเล้ยี งหอยแมลงภู่ ได้รับผลตอบแทนในการจำหน่ายหอยแมลงภู่

ตอ่ หน่วยสงู ข้นึ
12.3 อปุ กรณ์ตดั แต่งหอยแมลงภู่ สามารถอำนวยความสะดวกใหก้ บั ผูใ้ ชง้ านได้เป็นอย่างดี
12.4 อปุ กรณต์ ดั แตง่ หอยแมลงภู่สามารถชว่ ยลดอบุ ัตเิ หตุจากการทำงานได้เป็นอยา่ งดี

24

13. แผนการถ่ายทอดเทคโนโลยีหรือผลการวจิ ัยส่กู ลมุ่ เป้าหมาย

รายการ เป้าหมาย ระยะเลา
ผูเ้ รียนช่างอตุ สาหกรรม
1. เผยแพร่นวัตกรรมใหก้ บั ผู้เรียน -ชว่ งเวลาการประกวด
อาชีวศกึ ษา เกษตรกรผูเ้ ลยี้ งหอยแมลงภู่ สงิ่ ประดิษฐฯ์ อศจ.
ต.ทุง่ คา่ อ.เมือง จ.ชมุ พร
2. นำส่กู ารสาธติ และวธิ กี ารใชใ้ น 1 สปั ดาห์
ชุมชนผูเ้ ล้ยี งหอยแมลงภู่

14. วิธกี ารดำเนินการวจิ ยั และสถานทที่ ำการทดลอง/เก็บข้อมูล
วธิ กี ารดำเนนิ การวจิ ยั และพัฒนาดำเนินการ 4 ขั้นตอนดังน้ี

ขั้นท่ี 1 วิเคราะห์สภาพปัญหา (Analysis)
1. สำรวจสภาพปัญหาของเกษตรกรอาชพี เลี้ยงหอยแมลงภใู่ นทอ้ งถน่ิ
2. ศกึ ษาวิธีการและสภาพปญั หาการตัดแต่งหอยแมลงภวู่ ธิ ีการเดมิ ที่เกษตรกรใช้

ขั้นท่ี 2 ออกแบบและพฒั นา (Design and Development)
3. ออกแบบอุปกรณต์ ัดแตง่ หอยแมลงภู่ (ร่างต้นแบบ)

4. ดำเนินการสร้างและพัฒนาอปุ กรณ์ตัดแตง่ หอยแมลงภู่ (ต้นแบบ)
5. ใหผ้ ู้เชี่ยวชาญ ตรวจประเมนิ ผลตวั อุปกรณ์ตัดแตง่ หอยแมลงภูท่ ีส่ รา้ งข้ึนพร้อม
ปรับปรงุ ข้อบกพร่องตามคำแนะนำให้พร้อมใชง้ านจรงิ

ข้นั ท่ี 3 ทดลองใช้ (Implement)
6. ทดลองใช้งานอปุ กรณ์ตัดแตง่ หอยแมลงภู่ เปรยี บเทยี บกับวิธีการเดิมเพอ่ื หา

ประสิทธิภาพของอุปกรณต์ ัดแตง่ หอยแมลงภูท่ ่สี ร้างขึ้น ดงั น้ี
6.1 เก็บขอ้ มลู การตัดแตง่ หอยแมลงภู่ ทสี่ รา้ งขึ้น จำนวน 10 คน ๆ ละ 1

ช่วั โมง โดยการช่งั น้ำหนกั หอยแมลงภู่ที่ได้เป็นกิโลกรมั และบันทึกข้อมูลในแบบบันทกึ ข้อมลู โดยนำ

อปุ กรณ์ ไปทดลองใชก้ ับเกษตรกรผู้เล้ยี งหอยแมลงภู่ ตำบลทุ่งคา อำเภอเมือง จงั หวดั ชมุ พร
6.2 เกบ็ ขอ้ มลู การตัดแต่งหอยแมลงภู่ ดว้ ยวธิ กี ารเดมิ จำนวน 10 คน ๆ ละ

1ชัว่ โมง และบนั ทกึ ข้อมูลในแบบบันทึกขอ้ มูล กับเกษตรกรผู้เล้ยี งหอยแมลงภู่ ตำบลทุง่ คา อำเภอเมอื ง
จงั หวัดชุมพร

ขัน้ ท่ี 4 ประเมินผลการใช้ (Evaluation)

ประเมินผลการใช้งาน ประสทิ ธิภาพของอุปกรณต์ ัดแต่งหอยแมลงภู่และปรับปรงุ แกไ้ ขให้
สามารถนำไปใชง้ านไดจ้ รงิ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

15. ระยะเวลาทำการวิจัยและแผนการดำเนินงานตลอดการวิจัย
16 พฤษภาคม 2560 – 20 ตลุ าคม 2560

16. ปจั จัยทีเ่ ออ้ื ตอ่ การวจิ ยั (ถ้ามี)

ปรมิ าณของหอยแมลงภูข่ องเกษตรกรผูเ้ ล้ยี งในจังหวดั ชุมพรมจี ำนวนมากพอสำหรับ
การทดลอง

17. งบประมาณของการวจิ ยั
17.1 งบประมาณท้ังหมด 1,500 บาท

17.2 รายละเอียดงบประมาณค่าใช้จ่าย

25

รายละเอยี ดงบประมาณการวิจยั จำแนกตามงบประเภทต่าง ๆ (ปีงบประมาณที่เสนอขอ)

รายการ จำนวนเงิน หมายเหตุ

1. งบบุคลากร

คา่ จ้างช่วั คราว

2. งบดำเนนิ งาน

2.1 ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ

2.1.1 ค่าตอบแทน เช่น ค่าตอบแทนปฏิบตั ิงานนอกเวลา

ราชการ คา่ เบ้ยี เลี้ยงประชมุ กรรมการ ฯลฯ

2.1.2 ค่าใช้สอย เช่น

1) คา่ เบ้ียเล้ียง คา่ เช่าท่พี กั ค่าพาหนะ

2) ค่าจา้ งเหมาบริการ

3) ค่าใชจ้ ่ายในการสัมมนาและฝึกอบรม

4) ค่าใชส้ อยอ่ืน ๆ

2.1.3 ค่าวสั ดุ เช่น

1) วัสดสุ ำนักงาน

2) วสั ดุเชอื้ เพลงิ และหล่อลน่ื

3) วัสดุไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์

4) วสั ดุโฆษณาและเผยแพร่

5) วสั ดหุ นงั สือ วารสารและตำรา

6) วัสดุคอมพวิ เตอร์

7) วสั ดอุ ืน่ ๆ 3000

2.2 คา่ สาธารณูปโภค เชน่

คา่ ไฟฟ้า ค่าน้ำประปา ค่าโทรศพั ท์ ค่าไปรษณีย์

คา่ บริการด้านส่อื สารและโทรคมนาคม

3. งบลงทนุ

คา่ ครุภณั ฑ์

รวมงบประมาณที่เสนอขอ 3000

18. ผลสำเร็จและความคุ้มค่าของโครงการวิจัยทคี่ าดว่าจะไดร้ ับ
18.1 อปุ กรณ์สำหรบั การประกอบอาชพี ผู้เลี้ยงหอยแมลงภ่ทู ี่มปี ระสทิ ธภิ าพ
18.2 ผ้เู รียนทักษะการคดิ ริเรมิ่ สรา้ งสรรคน์ ำมาสู่การพัฒนานวัตกรรมสงิ่ ประดษิ ฐ์

19. โครงการวิจยั นหี้ รอื ส่วนใดสว่ นหน่ึงหรอื งานวจิ ยั สบื เน่อื งจากนี้ ไดย้ ื่นเสนอขอรบั ทุนหรือ
ไดร้ บั การสนับสนุนจากแหลง่ ทนุ อื่นหรอื ไม่
 ไม่ไดย้ ่ืนเสนอขอรบั ทุน
 ยน่ื เสนอ โปรดระบุแหลง่ ทนุ …………………................................………………......………
( ) ได้รบั การสนบั สนุน จาก……………….....……ชอ่ื โครงการ…………............................
( ) ไม่ไดร้ บั การสนบั สนนุ
( ) ยังไม่ทราบผลการพิจารณา

26

20. โครงการวจิ ยั นีม้ กี ารใชส้ ่งิ มชี ีวิตทมี่ ีการดดั แปลงทางพนั ธุกรรมหรือไม่
 มี  ไม่มี

21. คำชี้แจงอนื่ ๆ (ถา้ มี)
...............………………………………………………………………………………………………….…………

22. ลงชอื่ หัวหน้าทมี วจิ ยั (นักศึกษา)
(ลงชื่อ).....................................................
(นายยญั ไนอู้)
วันที่........ เดอื น....................... พ.ศ..........

23. ลงช่อื ครทู ปี่ รึกษางานวิจยั

(ลงช่ือ).....................................................
(นายอภิชาติ เนนิ พรหม)

วันท่ี........ เดอื น....................... พ.ศ..........

24. คำรบั รองของหวั หน้างานวจิ ยั พัฒนานวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์
ขอรับรองว่าโครงการวจิ ัย (ชอื่ ) อปุ กรณ์ตัดแต่งหอยแมลงภู่ เป็นผลงานของ

นักเรียน นกั ศึกษา วิทยาลัยเทคนิคชุมพรจริง

(ลงชือ่ ).....................................................
(นายอภชิ าติ เนนิ พรหม)

วันท.ี่ ....... เดือน....................... พ.ศ..........

25. คำรบั รองของรองผอู้ ำนวยการฝา่ ยแผนงานและความร่วมมอื
ขอรบั รองว่าโครงการวจิ ยั (ชื่อ) อุปกรณ์ตดั แต่งหอยแมลงภู่ เป็นผลงานของ

นกั เรยี น นักศึกษา วทิ ยาลัยเทคนิคชมุ พรจรงิ

(ลงชอ่ื ).....................................................
(........................................................)

วันท่.ี ....... เดือน....................... พ.ศ..........

26. คำอนุมตั แิ ละลายมือช่ือของผอู้ ำนวยการสถานศึกษา
 อนมุ ตั ิ  ไมอ่ นมุ ตั .ิ ...................................................................................

(ลงชอื่ ).....................................................
(นายบำรุง ทองรอด)

ผู้อำนวยการวทิ ยาลยั เทคนคิ ชมุ พร

27

สว่ น ค : ประวัตคิ ณะผู้วิจัย
นักเรยี น นักศกึ ษา (ไม่เกิน 10 คน)
1. ชื่อ - นามสกุล (ภาษาไทย) นายยญั ไนอู้
Name – Surname (ภาษาองั กฤษ) Mr, Yannaiooh
เลขหมายบตั รประจำตวั ประชาชน 0860489000218.
ระดับการศกึ ษา  ปวช. ชั้นปีท.ี่ ......... ปวส. ชั้นปีท่.ี .....1..... ทล.บ. ชัน้ ปีท.่ี .........
สาขาวชิ าเทคนคิ การผลิต สาขาเครื่องมือกล
ระยะเวลาที่ใชท้ ำวิจัย ปกี ารศึกษา 2560
ทอ่ี ยู่ทต่ี ดิ ตอ่ ได้สะดวก พรอ้ มหมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร และไปรษณยี อ์ ิเล็กทรอนิกส์
ท่ีอยูท่ ่ี 138 หมู่ท่ี 8 ตำบลนาชะอัง อำเภอเมือง จังหวดั ชุมพร 86000
(e-mail) [email protected]
2. ช่ือ - นามสกลุ (ภาษาไทย) นายพงษ์ศริ ิ พรมทศั
Name – Surname (ภาษาอังกฤษ) Mr, Pongsiri Promtat
เลขหมายบตั รประจำตวั ประชาชน 1869900373899
ระดับการศึกษา  ปวช. ชั้นปีท.ี่ .........  ปวส. ชัน้ ปีท่ี......1.... ทล.บ. ชั้นปที ี่..........
สาขาวิชาเทคนคิ การผลิต สาขาเคร่อื งมือกล
ระยะเวลาที่ใช้ทำวจิ ยั ปกี ารศึกษา 2560
ท่อี ยู่ทต่ี ดิ ต่อไดส้ ะดวก พร้อมหมายเลขโทรศพั ท์ โทรสาร และไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
ทอ่ี ยทู่ ่ี 138 หมู่ที่ 8 ตำบลนาชะองั อำเภอเมือง จังหวดั ชุมพร 86000
(e-mail)[email protected]
3. ชอ่ื - นามสกุล (ภาษาไทย) นายจิณวัตร นอ้ ยนาเวศ
Name – Surname (ภาษาองั กฤษ) Mr, Jinnawat Noinaweth
เลขหมายบตั รประจำตวั ประชาชน 1840301094234
ระดับการศึกษา  ปวช. ช้ันปีท่ี........  ปวส. ชน้ั ปที .ี่ .....1..... ทล.บ. ชน้ั ปที ี่..........
สาขาวชิ าเทคนิคการผลติ สาขาเครอ่ื งมือกล
ระยะเวลาทใี่ ช้ทำวจิ ัย ปกี ารศกึ ษา 2560
ทีอ่ ยู่ท่ีติดตอ่ ได้สะดวก พรอ้ มหมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร และไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
ท่อี ยทู่ ี่ 138 หมู่ท่ี 8 ตำบลนาชะอัง อำเภอเมือง จังหวัดชมุ พร 86000
(e-mail) [email protected]
4. ชื่อ - นามสกุล (ภาษาไทย) นายณฐั วฒุ ิ รองมาลี
Name – Surname (ภาษาองั กฤษ) Mr. Nattawut Rongmalee
เลขหมายบตั รประจำตวั ประชาชน 1869900343027
ระดับการศกึ ษา  ปวช. ชน้ั ปีท่ี..........  ปวส. ช้ันปีท.ี่ .....1.... ทล.บ. ชนั้ ปีท.่ี .........
สาขาวชิ าเทคนิคการผลิต สาขาเครื่องมอื กล
ระยะเวลาทใ่ี ช้ทำวิจัย ปกี ารศึกษา 2560
ทอ่ี ยู่ท่ตี ดิ ต่อไดส้ ะดวก พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร และไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์
ทีอ่ ยทู่ ี่ 138 หมู่ท่ี 8 ตำบลนาชะอัง อำเภอเมือง จังหวดั ชมุ พร 86000
(e-mail) [email protected]

28

ประวตั ิครูที่ปรกึ ษา (ไมเ่ กิน 5 คน)

1. ชื่อ นายอภิชาติ นามสกลุ เนินพรหม
Name – Surname (ภาษาองั กฤษ) Mr, Apichat Nernprom
เลขหมายบตั รประจำตัวประชาชน 3809900034446
ตำแหนง่ ปจั จบุ ันครเู ชี่ยวชาญ แผนกวิชา ช่างกลโรงงาน
เงินเดือน 40,190 บาท
หนว่ ยงานและสถานที่อยู่ท่ีตดิ ตอ่ วทิ ยาลยั เทคนคิ ชุมพร ท่ี 138 หมู่ท่ี 8 ตำบลนาชะองั
อำเภอเมอื ง จงั หวดั ชมุ พร 86000
ประวัติการศกึ ษา ปรัชญาดษุ ฎบี ัณฑิต (วิจัยวัดผลและสถิติศึกษา)

2. ชอื่ นายทพิ ยร์ ตั น์ นามสกุล ทพิ ยก์ รรณ
Name – Surname (ภาษาอังกฤษ) Mr. Tiprat Tipkun
เลขหมายบัตรประจำตวั ประชาชน 3860100142807
ตำแหนง่ ปัจจุบันครูชำนาญการ แผนกวชิ า ช่างกลโรงงาน
เงินเดือน 36,030 บาท
หน่วยงานและสถานทอี่ ยู่ทต่ี ิดตอ่ วทิ ยาลยั เทคนคิ ชุมพร ที่ 138 หมู่ท่ี 8 ตำบลนาชะอัง
อำเภอเมือง จังหวัดชมุ พร 86000
ประวตั ิการศกึ ษา ครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรมบณั ฑิต (วิศวกรรมอุตสาหการ)

29
สว่ นท่ี 2 แบบรายงานการวิจัย

แบบรายงานการวจิ ยั
เรอ่ื ง

อุปกรณต์ ดั แตง่ หอยแมลงภู่
(Green Mussel Cutter)

วิทยาลัยเทคนิคชุมพร

อาชีวศกึ ษาจังหวัดชุมพร
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

กระทรวงศึกษาธกิ าร

30

ชื่อผลงาน อปุ กรณ์ตัดแต่งหอยแมลงภู่

ชือ่ ผูว้ ิจัย 1. นายยัญไนอู้ ปวส. 1 สาขาวิชาเทคนิคการผลิต

2. นายพงษ์ศิริ พรมทัศ ปวส. 1 สาขาวชิ าเทคนิคการผลิต

3. นายณฐั วุฒิ รองมาลี ปวส. 1 สาขาวิชาเทคนคิ การผลิต

4. นายจณิ วัตร นอ้ ยนาเวศ ปวส. 1 สาขาวิชาเทคนิคการผลิต

แผนกวชิ า ช่างกลโรงงาน

ปีการศกึ ษา 2560

สถานศึกษา วทิ ยาลยั เทคนิคชมุ พร

บทคดั ยอ่

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างอุปกรณ์ตัดแต่งหอยแมลงภู่และหาประสิทธิภาพของอุปกรณ์ตัด

แต่งหอยแมลงภู่ กลุ่มเป้าหมายเป็นเกษตรผู้เลี้ยงหอยแมลงภู่ ต.ทุ่งค่า อ.เมือง จ.ชุมพร จำนวน 10 คน

เคร่ืองมือที่ใช้วิจัยประกอบด้วย 1)อุปกรณ์ตัดแต่งหอยแมลงภู่ 2) แบบประเมินผลคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ

3) แบบประเมินความพึงพอใจและ 4)แบบบันทึกผลการทดลอง การวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉล่ีย ส่วน

เบ่ียงเบนมาตรฐาน และหาประสิทธิภาพของอุปกรณ์ตัดแต่งหอยแมลงภู่เทียบกับวิธีการปกติ ผลการวิจัย

พบวา่ อปุ กรณต์ ดั แตง่ หอยแมลงภู่ท่ีสร้างข้ึนมลี ักษณะผสานระหวา่ งกรรไกรกับใบมดี โดยมสี กรูยึดท่ีสามารถ

ถอดใบมีดออกมาลับคมได้ มีความยาว 30 ซม. น้ำหนัก 350 กรัม สามารถใช้ในการตัดหนวดหอยแมลงภู่

และแต่งเพรียงหินออกจากเปลือกหอยได้อย่างรวดเร็วอำนวยความในการใช้งานเพิ่มผลผลิตและลด

อุบัติเหตุได้เป็นอยา่ งดีมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมากและประสิทธิภาพของอุปกรณ์ตัดแต่งหอยแมลงภู่พบว่า

อปุ กรณ์ตัดแต่งหอยแมลงภู่ทำได้ปริมาณเฉลี่ยต่อช่ัวโมง 17 กโิ ลกรัม/ ชั่วโมง และใช้มดี สบั ได้ปรมิ าณเฉล่ีย

13.60 กโิ ลกรัม/ ช่วั โมง โดยประสิทธิภาพของอุปกรณ์ตดั แต่งหอยแมลงภู่ทสี่ ร้างข้ึนสงู กวา่ การใช้มีดสบั (วิธี

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita