รถยนต์ 7 ที่นั่งเสียภาษีเท่าไร

ในการชำระภาษีรถยนต์แต่ละปี แต่ละประเภท เราสามารถคำนวณภาษีรถยนต์แบบง่ายๆ ที่ผู้ใช้รถควรรู้ วิธีคำนวณภาษีรถยนต์ 2564 เรื่องง่ายๆ ที่ควรรู้

วิธีคำนวณภาษีรถยนต์ 2564 เรื่องง่ายๆ ที่ควรรู้

วิธีคำนวณภาษีรถยนต์ สำหรับรถที่เราใช้กันอยู่จะต้องจ่ายภาษีเท่าไหร่ ต้องเตรียมเอกสารอะไรบ้าง เวลาไปดำเนินการด้วยตัวเอง

  • สมุดเล่มทะเบียนรถ
  • หลักฐานการทำ พ.ร.บ.
  • ใบรับรองการตรวจสภาพรถ

จากนั้น ก็จะสามารถไปยื่นเรื่องขอต่อภาษีรถยนต์ได้ แต่หากไม่มีเวลาไปที่สำนักงานขนส่งฯ กรมการขนส่งทางบกเพิ่มช่องทางการต่อภาษีรถยนต์อีกช่องทางหนึ่งนั่นก็คือ ต่อภาษีรถยนต์ออนไลน์ 

วิธีคำนวณภาษีรถยนต์ ทำอย่างไรบ้าง

อัตราการเสียภาษีรถยนต์ขึ้นกับส่วนประกอบหลายๆอย่าง เช่น ประเภทรถ รุ่นรถ ขนาดเครื่องยนต์ (ซีซี) น้ำหนักรถ หรืออายุรถ เป็นต้น เหล่านี้จะเป็นตัวกำหนดว่าเราต้องเสียภาษีประจำปีละเท่าไหร่ วิธีคำนวณภาษีรถยนต์ต่างๆ จะมีรายละเอียดดังนี้

  1. รถป้ายทะเบียนพื้นขาวตัวหนังสือดำ

รถป้ายทะเบียนพื้นขาวตัวหนังสือดำ คือ  รถยนต์นั่งส่วนบุคคลที่ไม่เกิน 7 ที่นั่ง เช่น รถกระบะ 4 ประตู รถเก๋ง เป็นต้น โดยการคำนวณภาษีรถจะขึ้นอยู่กับขนาดเครื่อง (cc) โดยรายละเอียดมีดังนี้

  • ตั้งแต่1-600 cc คิดอัตราภาษี cc ละ 50 สตางค์
  • ตั้งแต่ 601-1800 cc คิดอัตราภาษี cc ละ 50 บาท
  • ตั้งแต่ 1801 cc ขึ้นไป คิดอัตราภาษี cc ละ 4 บาท

ส่วนรถยนต์ที่มีอายุการใช้งานตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไปก็จะมีส่วนลดค่าภาษีดังนี้

  • อายุการใช้งานเกิน 6 ปี จะได้รับส่วนลดค่าภาษี 10%
  • อายุการใช้งานเกิน 7 ปี จะได้รับส่วนลดค่าภาษี 20%
  • อายุการใช้งานเกิน 8 ปี จะได้รับส่วนลดค่าภาษี 30%
  • อายุการใช้งานเกิน 9 ปี จะได้รับส่วนลดค่าภาษี 40%
  • อายุการใช้งานเกิน 10 ปี จะได้รับส่วนลดค่าภาษี 50%

ตัวอย่างการคำนวณภาษีรถยนต์

รถยนต์ ยี่ห้อ BMW รุ่น 330 อายุรถ 4 ปี เครื่องยนต์ 2,979 cc
ช่วง 600 cc แรก / cc ละ 0.5 สตางค์ = 600 x 0.5 = 300 บาท
2. ช่วง 601-1800 cc / cc ละ 1.50 บาท = (1,800 – 600) = 1200 x 1.50 = 1,800 บาท
3. ส่วนที่เกินจาก 1800 cc / cc ละ 4 บาท = (2,979 – 1,800) x 4 = 1179 x 4.00 = 4,716 บาท
รวมค่าภาษีทั้งหมดที่ต้องจ่าย = 300 + 1,800 + 4,716 บาท = 6,816 บาท
*หากเสียภาษีช้าต้องเสียค่าปรับ 1% ต่อเดือน (เศษของวันนับเป็น 1 เดือน)

       2. รถป้ายทะเบียนพื้นขาวตัวหนังสือเขียว

รถป้ายทะเบียนพื้นขาวตัวหนังสือเขียว คือ รถบรรทุกส่วนบุคคลที่เกิน 7 ที่นั่ง การคำนวณภาษีจะขึ้นอยู่กับน้ำหนักรถ โดยมีรายละเอียดดังนี้

  • น้ำหนักรถ 501- 750 กิโลกรัม – อัตราภาษี 450 บาท
  • น้ำหนักรถ 751 – 1000 กิโลกรัม – อัตราภาษี 600 บาท
  • น้ำหนักรถ 1001 – 1250 กิโลกรัม – อัตราภาษี 750 บาท
  • น้ำหนักรถ 1251 – 1500 กิโลกรัม – อัตราภาษี 900 บาท
  • น้ำหนักรถ 1501 – 1750 กิโลกรัม – อัตราภาษี 1,050 บาท
  • น้ำหนักรถ 1751 – 2000 กิโลกรัม – อัตราภาษี 1,350 บาท
  • น้ำหนักรถ 2001 – 2500 กิโลกรัม – อัตราภาษี 1,650 บาท

      3. รถป้ายทะเบียนพื้นขาวตัวหนังสือน้ำเงิน

รถป้ายทะเบียนพื้นขาวตัวหนังสือน้ำเงิน คือ รถยนต์ส่วนบุคคลเกิน 7 ที่นั่ง การคำนวณภาษีจะขึ้นอยู่กับน้ำหนักรถ แต่จะมีการคิดอัตราภาษีแตกต่างจากแบบรถบรรทุก โดยมีรายละเอียดดังนี้

  • น้ำหนักรถไม่เกิน 1800 กิโลกรัม – อัตราภาษี 1,300 บาท
  • น้ำหนักรถเกิน 1800 กิโลกรัม – อัตราภาษี  1,600 บาท

      4. อัตราภาษีจัดเก็บเป็นรายคัน
ประกอบด้วย

  • รถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล คันละ 100 บาท
  • รถจักรยานยนต์สาธารณะ คันละ 100 บาท
  • รถพ่วงของรถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล คันละ 50 บาท
  • รถพ่วงนอกจากรถพ่วงของรถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล คันละ 100 บาท
  • รถบดถนน คันละ 200 บาท
  • รถแทรกเตอร์ที่ใช้ในการเกษตร คันละ 50 บาท

      5. อัตราภาษีรถยนต์ที่ขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า
รถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน ให้เก็บภาษีตามน้ำหนักของรถในอัตรารถยนต์นั่งส่วนบุคคลเกินเจ็ดคน

ข้อควรรู้ การชำระภาษีรถล่วงหน้าก่อนสิ้นอายุภาษีได้ไม่เกิน 90 วัน หากชำระภาษีเลยวันครบกำหนด จะเสียค่าปรับ 1% ต่อเดือน ทั้งหมดนี้น่าจะช่วยให้หลายๆคน สามารถคำนวณภาษีรถยนต์และเตรียมเอกสารพร้อมเงินที่ต้องชำระ โดยไม่ต้องไปติดๆขัดๆช่วงหน้างานอีกต่อไป

หลังจากที่วันก่อนเราได้พูดคุยกันถึงความแตกต่างระหว่างภาษีรถยนต์ กับ พ.ร.บ. กันเป็นที่เรียบร้อยแล้วว่ามันคือคนละตัวกัน มันต้องจ่ายเงินแยกส่วนกันต่างหาก ทำให้เพื่อน ๆ หลายคนเริ่มจะเข้าใจกันมากขึ้นว่าปี ๆ นึงเราต้องเสียค่าใช้จ่ายในเรื่องของรถยนต์อยู่ทั้งหมดประมาณ 3 ส่วนด้วยกันคือ 1. ค่าพ.ร.บ. 2. ค่าภาษีรถยนต์ และ 3. ค่าประกันภัยรถยนต์ ซึ่งเรื่องของประกันภัยเราก็ให้ความรู้กันอยู่ตลอดเวลา คงไม่น่ามีปัญหาอะไรสักเท่าไหร่ ส่วนเรื่อง พ.ร.บ. ก็เพิ่งเขียนไปเมื่อล่าสุด

งั้นวันนี้เราจะมาคุยกันถึงเรื่องภาษีรถยนต์กันบ้างว่า ภาษีรถยนต์ต้องจ่ายเท่าไหร่กันแน่ รวมทั้งสอนคำนวณภาษีรถยนต์กันเลยว่ามีวิธีคิดยังไง

 

ไอเทมจำเป็นที่ต้องมี ก่อนต่อภาษีรถยนต์

แต่ก่อนจะข้ามไปดูสูตรการคำนวณภาษีรถยนต์ เราขอแวะจัดเตรียมเอกสารต่าง ๆ ให้พร้อมก่อน ซึ่งเพื่อน ๆ ที่กำลังจะไปต่อภาษีรถยนต์ก็ต้องเตรียมเอกสารเหล่านี้ให้เรียบร้อยด้วย จะได้ไปต่อภาษีกันได้แบบไม่พลาด

  1. สมุดเล่มทะเบียนรถ
  2. หลักฐานการทำ พ.ร.บ.
  3. ใบรับรองการตรวจสภาพรถ

แค่เอกสารทั้ง 3 อย่างนี้พร้อม เพื่อน ๆ ก็สามารถเดินเข้าขนส่งเพื่อยื่นเรื่องขอต่อภาษีรถยนต์ได้ทันทีเลย หรือเพื่อน ๆ คนไหนที่ไม่อยากเดินทางไกล ก็มีอีกหนึ่งช่องทางในการต่อภาษีรถยนต์ออนไลน์ ที่จะอำนวยความสะดวกให้เพื่อน ๆ แบบเต็มที่ อยู่บ้านเฉย ๆ ก็ต่อภาษีรถยนต์ได้ แต่จะต้องทำยังไงนั้นขอเราอุบไว้ก่อน เดี๋ยวดูเรื่องการคำนวณภาษีเสร็จเมื่อไหร่ จะรีบพาไปทำความรู้จักแน่นอนไม่ต้องห่วง

 

เคล็ดลับง่าย ๆ คำนวณภาษีรถยนต์แบบเป๊ะ ๆ จ่ายเท่าไหร่ รู้ได้เลย ไม่ต้องรอลุ้น

เพื่อน ๆ รู้มั้ยครับว่าค่าภาษีรถยนต์ของรถแต่ละคันนั้นไม่เหมือนกัน เพราะการจะคิดภาษีออกมาได้ว่ารถของเราต้องจ่ายเท่าไหร่นั้นต้องดูที่หลายปัจจัยด้วยกัน ทั้งประเภทรถ รุ่นรถ ขนาดเครื่องยนต์ น้ำหนักรถ หรือแม้แต่อายุของรถเองก็มีผล ซึ่งการคำนวณภาษีรถยนต์นั้นจะทำยังไง แล้วภาษีรถยนต์ของเราต้องจ่ายเท่าไหร่ เรามาดูสูตรการคำนวณที่แสนง่ายดายกันได้เลยครับ

  1. รถป้ายทะเบียนขาวตัวหนังสือดำ (รถปกติทั่วไป) คือ รถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 ที่นั่ง เช่น รถเก๋ง รถกระบะ 4 ประตู ภาษีจะขึ้นอยู่กับขนาดของเครื่อง (cc) โดยรถที่มีอายุการใช้งานเกิน 6 ปี จะได้รับส่วนลดค่าภาษี 10%, 7 ปีลด 20%, 8 ปีลด 30%, 9 ปีลด 40% และ 10 ปีเป็นต้นไปลด 50%

– 1-600 ซีซีละ 0.50 สตางค์

– 601-1800 ซีซีละ 1.50 บาท

– 1801 ขึ้นไป ซีซีละ 4 บาท

เช่น เราขับ Honda Jazz อายุรถ 4 ปี เครื่องยนต์ 1,500 cc ก็คำนวณภาษีรถยนต์ได้ดังนี้

600 cc แรก cc ละ 0.5 บาท = 600 x 0.5 = 300 บาท

601-1500 cc ละ 1.50 บาท = (1,500 – 600) = 899 x 1.50 = 1,348.50 บาท

รวมค่าภาษี 300 + 1,348.50 = 1,648.50 บาท

 

  1. รถป้ายทะเบียนขาวตัวหนังสือเขียว คือ รถบรรทุกส่วนบุคคลเกิน 7 ที่นั่ง ซึ่งรถแบบนี้จะคำนวณภาษีจากน้ำหนักรถแทนครับ

น้ำหนักรถ 501- 750 กก. อัตราภาษี 450 บาท

น้ำหนักรถ 751 – 1000 กก. อัตราภาษี 600 บาท

น้ำหนักรถ 1001 – 1250 กก. อัตราภาษี 750 บาท

น้ำหนักรถ 1251 – 1500 กก. อัตราภาษี 900 บาท

น้ำหนักรถ 1501 – 1750 กก. อัตราภาษี 1,050 บาท

น้ำหนักรถ 1751 – 2000 กก. อัตราภาษี 1,350 บาท

น้ำหนักรถ 2001 – 2500 กก. อัตราภาษี 1,650 บาท

  1. รถป้ายทะเบียนพื้นขาวตัวหนังสือน้ำเงิน คือ รถยนต์ส่วนบุคคลเกิน 7 ที่นั่ง ภาษีรถยนต์ก็จะขึ้นอยู่กับน้ำหนักรถเช่นกัน แต่คิดคนละแบบกับของรถบรรทุก

น้ำหนักรถไม่เกิน 1800 กก. อัตราภาษี 1,300 บาท

น้ำหนักรถเกิน 1800 กก. อัตราภาษี  1,600 บาท

 

จ่ายภาษีรถยนต์ออนไลน์ ไม่ต้องออกไปไหน ก็ต่อภาษีได้ชิล ๆ

เดี๋ยวนี้อะไร ๆ ก็ออนไลน์กันไปซะหมดเลยนะครับ ไม่ใช่เฉพาะเรื่องของประกันภัยเท่านั้นที่เราสามารถทำผ่านช่องทางออนไลน์ได้ ขนาดภาษีรถยนต์ยังต่อผ่านออนไลน์ได้เลย ซึ่งขั้นตอนนั้นก็ง่ายแสนง่ายเพียงแค่…

  1. ตรวจสอบรถที่สามารถใช้บริการออนไลน์ได้ – ต้องเป็นรถเก๋ง รถตู้ รถกระบะ ที่จดทะเบียนไม่เกิน 7 ปีเท่านั้น และต้องค้างชำระภาษีไม่เกิน 1 ปีด้วย
  2. เข้าเว็บไซต์ www.dlte-serv.in.th – การต่อภาษีรถยนต์ออนไลน์ให้เข้าไปกรอกข้อมูลลงทะเบียนรถให้ครบ เพื่อรับรหัสผ่าน จากนั้นเข้าไปกรอกรายละเอียดเกี่ยวกับรถของเรา ทั้งหลักฐานการเอาประกันตาม พ.ร.บ. ทั้งหลักฐานหนังสือรับรองการตรวจและทดสอบฯ ต่าง ๆ เหล่านี้กรอกให้ครบนะครับ
  3. ชำระเงิน – หลังจากกรอกข้อมูลการต่อภาษีรถยนต์ออนไลน์ทุกอย่างได้ครบถ้วน ก็เลือกเลยว่าจะจ่ายเงินแบบไหน ได้ทั้งแบบหักบัญชีเงินฝาก ชำระด้วยบัตรเครดิต/บัตรเดบิต หรือจะไปพิมพ์ใบแจ้งชำระภาษีรถแล้วเอาไปจ่าย ณ เคาน์เตอร์หรือตู้ ATM ก็แล้วแต่สะดวกเลย

 

หลังจากที่ทำทุกอย่างตามขั้นตอนเสร็จสิ้นเรียบร้อย กรมการขนส่งทางบกเค้าก็จะส่งใบเสร็จรับเงิน พร้อมป้ายภาษี มาให้เราถึงบ้านภายในระยะเวลา 7 วัน เราก็เอาป้ายภาษีที่ได้มาไปแปะไว้หน้ารถ เท่านี้ขับไปไหนต่อไหนก็ไม่ต้องกลัวโดนตำรวจจับแล้วล่ะครับ และสำหรับบางคน ที่ยังมีข้อสงสัยเกี่ยวกับประเด็นอื่นๆ ก็สามารถเข้าเว็บไซต์ //money.priceza.com/

ต่อภาษีรถยนต์เครื่อง 2,000 กี่บาท

เช่น รถ 2,000 ซีซี จะเท่ากับ (2,000-1,800)x4 = 800 บาท + 300 บาท (เรตภาษี 600 ซีซีแรก) + 1800 บาท (เรตภาษี 601-1800 ซีซี) รวมเป็นเงิน 2,900 บาท

เสียภาษีรถยนต์กี่บาท

1. ค่าใช้จ่ายต่อภาษีรถยนต์นั่งส่วนบุคคล ไม่เกิน 7 คน เช่น รถเก๋งทั่วไป หรือ กระบะ 4 ประตู 600 ซีซี (CC) แรก = ซีซี (CC) ละ 0.50 บาท 601 – 1800 ซีซี (CC) ต่อมา = ซีซี (CC) ละ 1.50 บาท ส่วนเกิน 1800 ซีซี (CC) = ซีซี (CC) ละ 4 บาท

ต่อภาษีรถยนต์เครื่อง 3000กี่บาท

สำหรับรถยนต์ 4 ประตู ขนาดเครื่อง 3,000 ซีซี มีอัตราภาษีที่ต้องจ่าย 5 ปีแรก ที่คำนวณออกมา ด้วยวิธีดังนี้ สูตรคำนวณช่วงที่ 1 : 600 ซีซี x 0.5 เท่ากับ 300 บาท สูตรคำนวณช่วงที่ 2 : (1,800-600) = 1,200 ซีซี นำไปคูณ 1.5 เท่ากับ 1,800 บาท สูตรคำนวณช่วงที่ 3 : (3,000-1,800) = 1,200 ซีซี นำไปคูณ 4 เท่ากับ 4,800 บาท

ต่อภาษีรถเก๋ง 1500 cc กี่บาท

การเก็บภาษีรถยนต์ 1 – 600 cc [600 x 0.5 บาท] = 300 บาท การเก็บภาษีรถยนต์ 601 – 1,800 cc [1,800 – 600 = 1,200 cc x 1.50 บาท] = 1,800 บาท การเก็บภาษีรถยนต์ตั้งแต่ 1,801 cc ขึ้นไป [3,000 – 1,800 = 1,200 cc x 4 บาท] = 4,800 บาท

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita