อนุสัญญากรุงเวียนนา มีกี่ข้อ

        คือสนธิสัญญาสากลที่ถูกกำหนดขึ้นเพื่อควบคุม, ยับยั้ง, และรณรงค์ให้ลดการผลิตและการใช้สารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซน เพื่อรักษาชั้นบรรยากาศโอโซนที่เริ่มจะสูญสลายไปเนื่องจากสารเหล่านี้ โดยพิธีสารได้เปิดให้ประเทศต่างๆ ลงนามเป็นประเทศภาคีสมาชิกในวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2530 (1987) และเริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2532 (1989) เป็นต้นมา ตั้งแต่นั้นมา ได้มีการแก้ไขปรับปรุงพิธีสาร 5 ครั้งด้วยกัน ครั้งแรก ณ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร เมื่อ พ.ศ. 2533 (1990), ครั้งที่สอง ณ กรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก เมื่อ พ.ศ. 2535 (1992), ครั้งที่สาม ณ กรุงเวียนนา สาธารณรัฐออสเตรีย เมื่อ พ.ศ. 2538 (1995), ครั้งที่สี่ ณ เมืองมอนทรีออล ประเทศแคนาดา เมื่อ พ.ศ. 2540 (1997) และครั้งที่ห้า ณ กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน เมื่อ พ.ศ. 2542 (1999) เนื่องจากมีการนำไปใช้อย่างกว้างขวาง ทั้งได้รับเสียงสนับสนุนและชื่นชมจากนานาประเทศและหลาย ๆ องค์กร พิธีสารมอนทรีออลจึงได้รับการยกย่องให้เป็นตัวอย่างการร่วมมือกันระหว่างประเทศในการแก้ไขปัญหาในระดับนานาชาติ

ความเป็นมาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
            กฎหมายว่าด้วยสนธิสัญญาเกิดจากแนวทางปฏิบัติของรัฐเกี่ยวกับการจัดทำข้อตกลงและการเคารพข้อตกลงระหว่างกัน แนวทางปฏิบัตินี้ใช้กันแพร่หลายจนกลายเป็นจารีตประเพณีระหว่างประเทศ และต่อมาได้มีการประมวลขึ้นเป็นกฎหมายลายลักษณ์อักษร คือ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ค.ศ. 1969 ซึ่งมีลักษณะที่เป้นความตกลงระหว่างประเทศในรูปแปลายลักษณ์อักษร ซึ่งกระทำขึ้นโดยรัฐ และอยู่ในขอบเขตของกฎหมายระหว่างประเทศ แต่ขณะเดียวกันกฎหมายจารีตประเพณีอื่น ๆ ที่มิได้ระบุในอนุสัญญานี้ยังคงถือว่ามีผลใช้บังคับ

สนธิสัญญาตามอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ค.ศ. 1969 มีลักษณะดังนี้
            1. เป็นความตกลงระหว่างประเทศในรูปลายลักษณ์ อักษร
            2. กระทำขึ้นระหว่างรัฐ
            3. อยู่ในขอบเขตกฎหมายระหว่างประเทศ


สนธิสัญญาระหว่างสยามกับฝรั่งเศส
ที่มาภาพ ://haab.catholic.or.th/web/index.php?option=com_content&view=article&id=433:2012-10-01-07-01-36

องค์ประกอบสนธิสัญญา
            ความหมายของสนธิสัญญามีองค์ประกอบได้ดังนี้
            1. สนธิสัญญาเป็นเอกสารลายลักษณ์อักษรที่กระทำระหว่างคู่ภาคีสองฝ่ายหรือมากกว่าสองฝ่ายขึ้นไป
            2. สนธิสัญญาต้องกระทำโดยคู่ภาคีซึ่งเป็นบุคคลคลระหว่างประเทศ
            3. ความตกลงที่กระทำขึ้นต้องอยู่ภายตั้งคับของกฎหมายระหว่างประเทศ
            4. ความตกลงที่กระทำขึ้นควรก่อพันธะทางกฎหมาย

ประเภทของสนธิสัญญา
            1. ประเภทสนธิสัญญาที่พิจารณาจากผู้เข้าร่วม
                        1.1 สนธิสัญญาทวิภาคี หมายถึงสนธิสัญญาสองฝ่ายหรือสนธิสัญญาที่มีคู่ภาคี 2 ฝ่าย เช่น สนธิสัญญาการค้า การพาณิชย์ และทางไมตรีซึ่งไทยทำกับประเทศต่าง ๆ
                        1.2 สนธิสัญญาพหุภาคี หมายถึงสนธิสัญญาทีมีผู้ร่วมเจรจาหรือร่วมลงนามมากกว่าสองฝ่ายขึ้นไป หรืออาจขยายขอบเขตเพิ่มเติมจากสนธิสัญญาทวิภาคีที่มีอยู่แล้วก็ได้ เช่นสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ และกติกาสัญญาวอร์ซอ

         

   2. ประเภทของสนธิสัญญาที่พิจารณาจากสถานะของผู้เข้าร่วมทำสนธิสัญญา
                        2.1 สนธิสัญญาที่กระทำโดยประมุขของรัฐ โดยถือเป็นอัครภาคีผู้ทำสัญญา เช่นอนุสัญญา
                        2.2 สนธิสัญญาที่กระทำโดยรัฐบาล เป็นการตกลงระหว่างรัฐบาล โดยทั่วไปใช้ตกลงทางด้านเทคนิคหรือเรื่องที่มิใช่การเมือง
                        2.3 สนธิสัญญาที่กระทำโดยรัฐ เป็นสนธิสัญญาที่มุ่งให้เป็นข้อตกลงระหว่างรัฐโดยผู้ลงนามจะเรียกว่าเป็น ภาคี เช่น สนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ
                        2.4 สนธิสัญญาที่กระทำโดยรัฐมนตรี
                        2.5 สนธิสัญญาที่กระทำโดยหน่วยงานของรัฐบาล เช่นตัวแทนของหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านศุลกากรของประเทศคู่ภาคี
                        2.6 สนธิสัญญาที่กระทำโดยประมุขของรัฐบาล
            3. ประเภทของสนธิสัญญาที่พิจารณาจากชื่อต่าง ๆ ที่ใช้เรียก
                        3.1 สนธิสัญญา มักใช้กับความตกลงระหว่างประเทศที่สำคัญเป็นพิเศษ เช่นสนธิสัญญาสันติภาพ
                        3.2 อนุสัญญา
                        3.3 พิธีสาร
                        3.4 ความตกลง
                        3.5 บันทึกหรือหนังสือแลกเปลี่ยน
                        3.6 ข้อตกลง
                        3.7 บันทึกการเจรจา
                        3.8 ข้อบัญญัติหรือธรรมนูญ
                        3.9 ปฏิญญา
                        3.10 ความตกลงชั่วคราว
                        3.11 กรรมสารสุดท้าย
                        3.12 กรรมสารทั่วไป
                        3.13 ข้อตกลงของฝ่ายบริหาร
                        3.14 สนธิสัญญาที่มีชื่อเรียกเป็นอย่างอื่น

ขั้นตอนในการทำสนธิสัญญา
            1.การเจรจา
            2.การยอมรับชั่วคราว
            3.การยอบรับขั้นสุดท้าย
            4.กระบวนการภายหลังการให้สัตยาบันสนธิสัญญา

การตั้งเงื่อนไขในสนธิสัญญา
            ภาคีในสนธิสัญญาอาจตั้งเงื่อนไขบางอย่างในการยอมรับสนธิสัญญา โดยทั่วไปรัฐอาจตั้งเงื่อนไขสำคัญในรูปดังนี้
            1. ข้อสงวน
                        1.1 หมายความของข้อสงวน คือ กรณีที่รัฐต้องการลงนามหรือให้สัตยาบันแสดงความยินยอมรับข้อผูกพันตามสนธิสัญญา โดยตั้งเงื่อนไขว่าไม่ยอมรับบทบัญญัติบางข้อ หรือยอมรับโดยมีข้อเปลี่ยนแปลงบางอย่าง
                        1.2 การยอมรับและการคัดค้านข้อสงวน
                        1.3 ผลทางกฎหมายของข้อสงวน
            2. ความเข้าใจ คือการขยายความหรือตีความบทบัญญัติในสนธิสัญญาไว้ล่วงหน้า

การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสนธิสัญญา
            หลักการสำคัญ คือ ให้รัฐที่เกี่ยวข้องให้ความเห็นชอบ เพระหากไม่ให้ความเห็นชอบแล้ว โดยทั่วไปสนธิสัญญาฉบับแก้ไขย่อมไม่ผูกพันรัฐที่ไม่ให้ความเห็นชอบ

การตีความสนธิสัญญา
            1. แนวคิดทั่วไปที่ยอมรับเกี่ยวกับการตีความก็คือวัตถุประสงค์ของการตีความ หากไม่มีหลักฐานใดแสดงไว้เป้นอย่างอื่นต้องมีการตีความสนธิสัญญาโดยสุจริต
            2. กรณีของการตกลงตีความ
                        2.1 การตกลงตีความระหว่างภาคี
                        2.2 การตีความโดยฝ่ายที่สาม ศาล องค์การระหว่างประเทศ คณะอนุญาโตตุลาการ
                        2.3 หลักทั่วไปในการตีความสนธิสัญญา
                                    ก. การตีความตามตัวอักษรและตามเจตนารมณ์ของภาคี
                                    ข. การตีความตามวัตถุประสงค์และความมุ่งหมายแห่งสนธิสัญญา
                                    ค. การตีความตามหลักเหตุผลและความสอดคล้องของถ้อยคำและเนื้อหา
                                    ง. การตีความตามความเป็นมา
                                    จ. การตีความตามหลักประสิทธิผล

สาเหตุที่อาจทำให้สนธิสัญญาไม่สมบูรณ์ ได้แก่
            1.ความสามรถในการทำสัญญา
            2.อำนาจของตัวแทน
            3.การขมขู่หรือบังคับ
            4.การใช้กลฉ้อฉล การกระทำการมิชอบของตัวแทน
            5.ความสำคัญผิดในสาระสำคัญ
            6.การกระทำการขัดแย้งกับหลักเกณฑ์ที่มิอาจยกเว้นได้ของกฎหมายระหว่างประเทศ
            7.สาเหตุอื่น ๆ

สนธิสัญญาสิ้นสุด ดังนี้
            1.สนธิสัญญาที่กำหนดวาระสิ้นสุด
            2.ภาคีตกลงให้สิ้นสุด
            3.มีการละเมิดสนธิสัญญา
            4.สถานการณ์เปลี่ยนแปลงไป
            5.สนธิสัญญาไม่อาจได้รับการปฏิบัติ
            6.ภาคีใดภาคีหนึ่งสิ้นสภาพ
            7.เกิดหลักเกณฑ์ที่ไม่อาจยกเว้นได้ของกฎหมายระหว่างประเทศที่เกิดขึ้นใหม่


//www.l3nr.org/posts/217561

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita