ใบ งาน การเขียน เรียงความ ม 3

ชดุ ฝึกทักษะการเขียนเรยี งความ
นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6

จัดทาโดย
นางสาวอรทัย กุลเกล้ยี ง
ครูชานาญการโรงเรยี นบา้ นหว้ ยสวิง
สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 2
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน

คานา

การเขียนเป็นทักษะกระบวนการเรยี นรู้พนื้ ฐานท่ีสาคญั ท่ีผู้เรียนสามารถเกิดการเรยี นรไู้ ด้ดว้ ยตนเอง
ผเู้ ขียนจงึ ตอ้ งมคี วามรู้และทักษะการเขยี นเพ่อื ใหเ้ กดิ ความเข้าใจในเรื่องท่ีเขียนได้อย่างลึกซึง่ การเขยี นมี
จดุ ม่งุ หมายหลายประการ ตามลาดับขนั้ ความยากงา่ ย สาหรับการจัดกิจกรรมการสอนในระดบั ช้นั ประถมศึกษา
ปที ี่ 6 ผเู้ รยี นต้องมีความรู้ ความเขา้ ใจเรื่องการเขียนตามจุดประสงค์ท่ีชัดเจน ซ่ึงจะช่วยให้เกดิ ทักษะการเรยี นรู้ท่ี
รวดเรว็ และเกิดประสิทธิภาพ ผูส้ อนจงึ จดั ทาแบบฝึกเสริมทักษะการเขยี น เร่ืองการเขียนเรยี งความ จานวน 5 ใบ
งาน

แบบฝึกเสริมทักษะการเขียน เร่ือง การการเขยี นเรยี งความ เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ความรู้ความเข้าใจ
สามารถฝึกทักษะไดด้ ้วยตนเอง สามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ได้และเพอ่ื เปน็ สื่อช่วยในการจดั
กจิ กรรมการเรยี นการสอนให้ผ้เู รยี นบรรลตุ ามจดุ ประสงค์ท่ีตัง้ ใจ

นางสาวอรทยั กลุ เกลี้ยง

สารบัญ หนา้

เรอ่ื ง 1
2
คานา 6
สารบญั 13
14
จดุ ประสงค์ของการเรียนรู้ 15
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 16
ใบความรู้เรอื่ งการแยกข้อเทจ็ จริงและข้อคดิ เหน็ จากเรื่องที่อ่าน 17
ใบงานท่ี 1 18
ใบงานที่ 2 21
ใบงานที่ 3 28
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 5
แบบทดสอบหลงั เรยี น
เฉลย
เอกสารอ้างองิ

แบบทดสอบกอ่ นเรียน
เรื่อง การเขยี นเรียงความ
**********************************************************
คาส่ัง ให้ผู้เรียนเลือกคาตอบท่ีถูกต้องท่ีสุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย X (กากบาท)
ลงในกระดาษคาตอบ
1. เรยี งความมอี งคป์ ระกอบกี่สว่ น
ก. 2 สว่ น
ข. 3 ส่วน
ค. 4 ส่วน
ง. 5 สว่ น
2. คานาเป็นสว่ นใดของการเขยี นเรียงความ
ก. สว่ นท่ี 1
ข. ส่วนท่ี 2
ค. สว่ นที่ 3
ง. ส่วนที่ 4
3. ส่วนใดของเรยี งความทมี่ ีความสาคัญทีส่ ุด
ก. คานา
ข. เนื้อเรอื่ ง
ค. สรุป
ง. ถูกทกุ ข้อ
4. ข้อใดไม่ใชข่ ้นั ตอนการเขยี นเรยี งความ
ก. การเลอื กเรอ่ื ง
ข. การคน้ หาขอ้ มูล
ค. การวางโครงเรอ่ื ง
ง. การวิเคราะหเ์ นือ้ หา

5. ข้อใดไม่ใชล่ ักษณะของเรียงความท่ีดี
ก. มีเอกภาพ
ข. มีสมั พนั ธภาพ
ค. มคี วามกลมกลืน
ง. มีสารัตถภาพ

6. ขอ้ ใดไมใ่ ช่การเขยี นเรยี งความท่ีมเี อกภาพ
ก. ต้องมีเน้อื หาไปในทศิ ทางเดยี วกนั
ข. ตอ้ งมีเน้อื หาทเี่ กี่ยวเน่อื งสมั พนั ธ์กัน
ค. ต้องมเี นอ้ื หาสาระทสี่ มบูรณ์ตลอดท้งั เร่อื ง
ง. ตอ้ งมีเน้อื หาบรรยายตลอดทง้ั เรอื่ ง

7. ข้ันตอนการเขยี นเรยี งความข้อใดทม่ี ีการเขยี นคานา เนอื้ เรอ่ื ง สรุป
ก. การเลอื กเร่อื ง
ข. การค้นคว้าข้อมลู
ค. การวิเคราะห์เน้ือหา
ง. การเรียบเรียง

8. องคป์ ระกอบของเรยี งความส่วนใดทีม่ ีการยกคาพดู สุภาษิต หรือบทกวที ีน่ ่าประทับใจ
ก. คานา
ข. เนอ้ื เรื่อง
ค. สรุป
ง. ขอ้ ก และ ข ถูก

9. ขอ้ ใดไม่ใช่สานวนภาษาท่ีใช้ในการเขยี นเรยี งความ
ก. ใชภ้ าษาทเ่ี ปน็ ทางการ
ข. ไม่ควรใชภ้ าษาพดู
ค. ไมค่ วรใช้ภาษาแสลง
ง. ควรหลีกเลย่ี งการใช้คาศัพทท์ ย่ี าก

10. ขอ้ ใดไม่ใชส่ านวนท่ีใชใ้ นการเขียนเรียงความ
ก. แบบบรรยายโวหาร
ข. อปุ ลักษณโ์ วหาร
ค. แบบพรรณนาโวหาร
ง. แบบอปุ มาโวหาร

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
เรอ่ื ง การเขยี นเรยี งความ
1ข
2ก
3ข
4ง
5ค
6ก
7ง
8ค
9ก
10 ข

การเขียนเรียงความ
ความหมายของเรียงความ

เรียงความ เป็นงานเขียนร้อยแก้วชนิดหนึ่งที่ผู้เขียนมุ่งถ่ายทอดเรื่องราว ความรู้ ความคิด
และทศั นคตใิ นเรอ่ื งใดเรื่องหน่งึ ดว้ ยถอ้ ยคาและสานวนทีเ่ รยี บเรยี งอย่างมลี าดับชั้นและสละสลวย
องค์ประกอบของเรียงความ
เรยี งความมอี งค์ประกอบ 3 ส่วน คือ คานา เนอ้ื เรอื่ ง และสรุป

1. คานา เป็นส่วนแรกของเรียงความ ทาหน้าที่เปิดประเด็นหรือนาเข้าสู่เร่ืองท่ีจะเขียน จึง
อาจกล่าวได้ว่า คานาเป็นส่วนที่ดึงดูดความสนใจและทาให้ผู้อ่านเกิดความอยากรู้และต้องติดตาม
เร่อื งตอ่ ไป ผ้เู ขียนจึงตอ้ งเขียนคานาอย่างพิถีพิถันโดยคานึงถึงเรื่องที่ตนจะเขียนและศิลปะในการใช้
ภาษา โดยปกติแล้วไม่มีการกาหนดว่าคานาจะมีกี่ย่อหน้า ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความยาวของเรียงความ
หากเรียงความมีขนาดยาวก็อาจมคี านามากกวา่ 1 ยอ่ หน้าได้

2. เนอื้ เรอื่ ง เปน็ สว่ นสาคัญและเปน็ ส่วนที่ยาวทีส่ ุดของเรียงความ เพราะเน้ือเร่ืองเป็นส่วนที่
นาความรู้ ความคิด และข้อมูลท่ีผู้เขียนได้ค้นคว้า และเรียบเรียงอย่างมีระบบระเบียบ เป็นขั้นตอน
เพอ่ื ให้ผู้อา่ นเขา้ ใจความคดิ สาคัญทัง้ หมดของเรอ่ื งไดอ้ ย่างชดั เจนและแจ่มแจ้ง

3. สรุป เป็นองค์ประกอบสาคัญที่อยู่ส่วนสุดท้ายของเรียงความ ผู้เขียนจะทิ้งท้ายให้ผู้อ่าน
เกดิ ความประทบั ใจ การสรุปควรมีเนื้อหาท่ีสอดคล้องกับเร่ืองท่ีเขียน ไม่ควรสรุปนอกเร่ืองหรือนอก
ประเด็น นอกจากนี้ผู้เขียนจะต้องใช้ศิลปะในการเขียนเป็นอย่างยิ่ง คือ ต้องกระชับรัดกุม และใช้
ขอ้ ความที่ทาใหผ้ ูอ้ า่ นเกิดความประทับใจ

การเขียนสรุปมีหลายวิธี เช่น ฝากข้อคิดและความประทับใจให้แก่ผู้อ่าน ย้าความคิดสาคัญ
ของเรื่อง ชักชวนให้ปฏิบัติตาม ให้กาลังใจแก่ผู้อ่าน ต้ังคาถามท่ีชวนให้ผู้อ่านคิดหาคาตอบ และยก
คาพดู คาคม สภุ าษติ หรือบทกวีทีน่ า่ ประทบั ใจ เปน็ ตน้

ขนั้ ตอนการเขยี นเรียงความ
1. การเลือกเร่ือง โดยทั่วไปครูมักกาหนดหัวข้อเร่ืองให้นักเรียนเขียนเรียงความแต่ถ้าหาก

นกั เรียนจะต้องเป็นผู้เลือกเรื่องเองแล้ว นักเรียนควรจะเลือกเรื่องตามความชอบหรือความถนัดของ
ตน ไมค่ วรเลอื กเรียงทย่ี ากจนเกนิ ไป หรือหาข้อมูลไมไ่ ด้เพียงพอ

2. การค้นคว้าหาข้อมูล อาจทาได้โดยการค้นคว้าจากหนังสือ นิตยสาร วารสาร หรือส่ือ
อน่ื ๆ เช่น วิทยุ โทรทศั น์ และอินเทอรเ์ น็ต เปน็ ต้น

3. การวางโครงร่าง เมื่อได้หัวข้อเรื่องท่ีจะเขียนรียงความแล้ว ผู้เขียนจะต้องวางโครงเร่ือง
โดยคานงึ ถึงการจดั ลาดับหวั ข้อเรอ่ื งท่จี ะเขียนให้สมั พันธต์ ่อเนื่องกัน เช่น

3.1 การจัดลาดับหัวข้อตามเวลาที่เกิด เช่น หากจะเขียนเร่ืองการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ควรเริ่มจาก การเตรียมอปุ กรณ์ ขนั้ ตอนการทดลอง และสรุปผลการทดลอง เปน็ ต้น

3.2 การจัดลาดับหัวข้อจากหน่วยเล็กไปสู่หน่วยใหญ่ เช่น หากจะเขียนเร่ืองสถาบันทาง
สงั คมควรเรมิ่ จาก สถาบันครอบครัว สถาบันการศกึ ษา และสถาบนั ศาสนา เป็นตน้

3.3 การจดั ลาดบั ตามความนยิ ม เช่น หากจะเขียนเรอื่ งพระรัตนตรยั ควรเริ่มจาก
พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ เป็นตน้

4. การเรียบเรยี งตามรูปแบบของเรยี งความ คือ การเขยี นคานา เนื้อเร่อื ง สรุป

การวางโครงเรือ่ งก่อนเขียน
การเขียนเรียงความเป็นการเสนอความคิดต่อผู้อ่าน ผู้เขียนจึงต้องรวบรวมเลือกสรรและจัด

ระเบยี บความคิด แล้วนามาเรียบเรียงเป็นโครงเรือ่ ง การรวบรวมความคดิ อาจจะรวบรวมข้อมูลจาก
ประสบการณ์ของผู้เขียนเองนาส่วนที่เป็นประสบการณ์ตรงและประสบการณ์ทางอ้อม ซ่ึงเกิดจาก
การฟัง การอ่าน การพูดคุย ซักถาม เป็นต้น เม่ือได้ข้อมูลแล้วก็นาข้อมูลมาจัดระเบียบความคิดโดย
จัดเรียงลาดับตามเวลา เหตุการณ์ ความสาคัญและเหตุผล แล้วจึงเขียนเป็นโครงเร่ือง เพื่อเป็น
แนวทางใหง้ านเขยี นอย่ใู นกรอบ ไม่ออกนอกเรื่อง และสามารถนามาเขยี นขยายความเป็นเน้ือเร่ืองที่
สมบูรณ์ เขียนชื่อเร่ืองไว้กลางหน้ากระดาษ เลือกหัวข้อที่น่าสนใจที่สุดเป็นคานา และเลือกหัวข้อท่ี
น่าประทบั ใจท่ีสุดเปน็ สรุป นอกนั้น เป็นเน้ือเร่อื ง

1. ชนิดของโครงเรื่อง การเขียนโครงเรื่องนิยมเขียน ๒ แบบ คือ โครงเร่ืองแบบหัวข้อและ
โครงเรื่องแบบ ประโยค

1.1 โครงเรอื่ งแบบหัวข้อ เขียนโดยใชค้ าหรือวลสี ั้น ๆ เพือ่ เสนอประเดน็ ความคดิ
1.2 โครงเร่ืองแบบประโยค เขียนเป็นประโยคท่ีสมบูรณ์ โครงเรื่องแบบนี้มีรายละเอียดท่ี
ชดั เจนกวา่ โครงเร่อื งแบบหัวขอ้
2. ระบบในการเขียนโครงเรือ่ ง การแบง่ หัวข้อในการวางโครงเร่ืองอาจแบ่งเป็น ๒ ระบบ คือ
2.1 ระบบตวั เลขและตัวอักษร เป็นระบบท่นี ยิ มใชก้ ันท่วั ไป โดยกาหนดตัวเลขหรือประเดน็
หลกั และตัวอกั ษรสาหรับประเด็นรองดงั น้ี
1) ................................................................................................

ก. ........................................................................................
ข. .........................................................................................
2) ……………………………………………………………..
ก. ........................................................................................
ข. .........................................................................................
2.2 ระบบตวั เลข เปน็ การกาหนดตัวเลขหลักเดยี วใหก้ ับประเดน็ หลักและตวั เลขสองหลัก
และสามหลัก ให้กับประเดน็ รอง ๆ ลงไป ดังนี้
1) .................................................................................................
1.1 ......................................................................................
1.2 .....................................................................................
2) .................................................................................................
2.1 .....................................................................................
2.2 ....................................................................................
2.3 หลักในการวางโครงเรอ่ื ง หลักในการวางโครงเร่ืองนั้นควรแยกประเด็นหลักและประเด็น
ย่อยจากกันให้ชัดเจน โดยประเด็นหลักทุกข้อควรมีความสาคัญเท่ากัน ส่วนประเด็นย่อยจะ
เปน็ หวั ขอ้ ที่สนบั สนุนประเด็นหลกั ท้งั นี้ทุกประเดน็ ต้องตอ่ เน่ืองและสอดคล้องกัน จึงจะเป็น
โครงเร่อื งท่ีดี

ตวั อย่างโครงเรอ่ื งแบบหวั ขอ้
เรอ่ื งปัญหาการตดิ ยาเสพตดิ ของวยั รุ่นไทย
1) สาเหตุของการตดิ ยาเสพติด

ก. ตามเพอ่ื น
ข. การหยา่ ร้างของบดิ ามารดา
ค. พอ่ แมไ่ ม่มีเวลาใหล้ กู
ง. การบงั คับขู่เข็ญ
2) สภาพปัญหาของการตดิ ยาเสพติดของวยั ร่นุ ไทย
ก. จานวนผตู้ ดิ ยา
ข. การก่ออาชญากรรม
ค. การค้าประเวณี
3) แนวทางการแกไ้ ขปญั หา
ก. การสร้างภมู ติ ้านทานในครอบครัว
ข. การสร้างชมุ ชนใหเ้ ข้มแขง็
ค. กระบวนการบาบัดรักษาแบบผสมผสาน
ลกั ษณะของเรียงความท่ดี ี
1. มีเอกภาพ ความคดิ สาคัญของแต่ละย่อหน้าต้องมีเนื้อหาไปในทิศทางเดียวกับหัวข้อเรื่อง
และไมก่ ลา่ วนอกเร่ือง
2. มีสัมพันธภาพ มเี นอ้ื หาท่ีเกยี่ วเน่อื งสมั พันธ์กันตลอดทง้ั เร่อื ง และจดั ลาดบั ยอ่ หน้าอย่างมี
ระเบยี บ รวมทัง้ ต้องมีการเรยี บเรียงดว้ ยคาเชื่อมทเ่ี หมาะสม
3. มีสารัตถภาพ ต้องมีเนื้อหาสาระสมบูรณ์ตลอดท้ังเรื่อง โดยในแต่ละย่อหน้าควรจะต้อง
เขียนประโยคใจความสาคญั ใหช้ ดั เจนและต้องมปี ระโยคขยายความที่มีน้าหนักน่าเช่ือถือถูกต้องตาม
ข้อเท็จจรงิ

การใช้โวหารในการเขยี นเรียงความ

สานวนโวหาร สานวนกับโวหารเป็นคาท่ีมีความหมายอย่างเดียวกันนามาซ้อนกัน หมายถึง
ชั้นเชงิ ในการเรยี บเรยี งถ้อยคา ในการเขยี นเรียงความสานวนโวหารท่ีใช้มี 5 แบบ คือ

1. แบบบรรยาย หรือที่เรียกกันว่า บรรยายโวหารเป็นโวหารเชิงอธิบาย หรือเล่าเร่ืองอย่าง
ถ่ีถ้วน โวหารแบบนี้เหมาะสาหรับเขียนเร่ืองประเภทให้ความรู้ เช่น ประวัติ ตานาน บันทึก
เหตกุ ารณ์ ฯลฯ ตวั อยา่ งบรรยายโวหาร เช่น

“ขณะที่เราขับรถข้ึนเหนือไปนครวัด เราผ่านบ้านเรือนซึ่งประดับด้วยธงสีน้าเงินและแดงไว้
นอกบ้าน เราไปหยุดทหี่ น้าวดั ซึ่งประตทู างเขา้ ตกแต่งด้วยดอกไม้และเครือเถาไม้ ในเขตวัด สงฆ์ห่ม
จวี รสสี ม้ สนทนาปราศรยั กับผู้คนทไี่ ปนมัสการอย่ใู นปะราไมป้ ลกู ข้นึ เป็นพิเศษ ความประสงค์ท่ีเราไป
หยุดท่ีวัดก็เพ่ือก่อพระทรายอันเป็นเร่ืองสาคัญท่ีสุดในวันข้ึนปีใหม่ตามศรัทธาของพุทธศาสนิกชน
การกอ่ พระทรายเป็นพิธีบุญ อธิษฐานขอพรอย่างหนึ่ง งานเทศกาลน้ีเป็นเวลาที่วัดทุก ๆ วัด จะต้อง
เก็บกวาดใหส้ ะอาดท่สี ุด มีการสรงน้าพระพุทธรูป เป็นประจาปเี พ่ือขอให้ฝนตกโดยเรว็ ”

2. แบบพรรณนา หรือที่เรียกกันว่า พรรณนาโวหาร คือ โวหารที่กล่าว เป็น เรื่องราวอย่าง
ละเอียดให้ผู้อ่านนึกเห็นเป็นภาพ โดยใช้ถ้อยคาท่ีทาให้ผู้อ่านเกิดภาพในใจ (มโนภาพ) ขึ้น โวหาร
แบบน้ีสาหรับชมความงามของบ้านเมือง สถานท่ี บุคคล เกียรติคุณ คุณความดีต่าง ๆ ตลอดจน
พรรณนาอานุภาพของกษัตริย์และพรรณนาความรู้สึกต่าง ๆ เช่น รัก โกรธ แค้น ริษยา โศกเศร้า
เปน็ ต้น ตวั อยา่ งพรรณนาโวหาร เช่น

“เมื่อถึงตอนน้าต้ืนพวกฝีพายต่างช่วยกันถ่อ ทางน้าค่อยกว้างออกไปเป็นหนองน้าใหญ่ แต่
น้าสงบนิ่ง น่าประหลาด ปุาร่นแนวไปจากริมหนอง ปล่อยให้ต้นหญ้าสีเขียวจาพวกอ้อคอยรับแสง
สะท้อนสีน้าเงนิ แกจ่ ากทอ้ งฟูา ปุยเมฆสมี ว่ งลอยไปมาเหนือศีรษะ ทอดเงาลงมาใต้ใบบัวและดอกบัว
สีเงิน เรือนเล็กหลังหน่ึง สร้างไว้บนเสาสูง แลดูดาเมื่อมาแต่ไกล ตัวเรือนมีต้นชะโอนสองต้น ซึ่งดู
เหมือนจะข้ึนอยู่ในราวปุาเบ้ืองหลัง เอนตัวลงเหนือหลังคา ทั้งต้นและใบคล้ายจะเป็นสัญญาณว่า มี
ความเศร้าโศกสดุ ประมาณ”

3. แบบอุปมา หรือที่เรียกว่าอุปมาโวหาร คือ โวหารท่ียกเอาข้อความ มาเปรียบเทียบเพ่ือ
ประกอบความใหเ้ ด่นชัดข้ึน ในกรณีที่หาถ้อยคามาอธิบายให้เข้าใจ ได้ยาก เช่นเร่ืองที่เป็นนามธรรม
ท้ังหลายการจะทาให้ผู้อ่านเข้าใจเด่นชัด ควรนาส่ิงท่ีมีตัวตน หรือส่ิงที่คิดว่าผู้อ่านเคยพบมา
เปรียบเทยี บ หรืออาจนากริ ยิ าอาการ ของสงิ่ ตา่ ง ๆ มาเปรยี บเทยี บก็ได้ เช่น เย็นเหมือนน้าแข็ง ขาว
เหมือนดง่ั สาลี ไวเหมือนลงิ บางทอี าจนา ความรู้สึกที่สัมผัสได้ทางกายมาเปรียบเทียบเป็นความรู้สึก
ทางใจ เชน่ ร้อนใจดังไฟเผา รกั เหมือนแก้วตา เป็นต้น โวหารแบบน้ีมักใช้แทรกอยู่ในโวหารแบบอ่ืน
ตัวอย่างอุปมาโวหาร เช่น ความสวยเหมือนดอกไม้ เมื่อถึงเวลาจะร่วงโรยไปตามอายุขัย แต่ความดี
เหมือนแผ่นดิน ตราบใดท่ีโลกดารงอยู่ ผืนดินจะไม่มีวันสูญหายได้เลย ความดีจึงเป็นของคู่โลกและ
ถาวร กวา่ ความสวย ควรหรือไม่ถ้าเราจะหันมาเทิดทูนความดีมากกว่าความสวย เราจะได้ทา แต่สิ่ง
ทถ่ี กู เสยี ที

4. แบบสาธก หรือสาธกโวหาร สาธกหมายถึง ยกตัวอย่างมาอ้างให้เห็น สาธกโวหาร จึง
หมายถึงโวหารท่ียกตัวอย่างมาประกอบอ้าง เพ่ือให้ผู้อ่านเข้าใจเร่ือง ให้ชัดเจนขึ้น ตัวอย่างท่ียกมา
อาจจะเป็นตัวอย่างบุคคล เหตุการณ์หรือนิทาน โวหาร แบบนี้มักแทรกอยู่ในโวหารแบบอ่ืน
เชน่ เดียวกบั อุปมาโวหาร ตัวอย่างสาธกโวหาร เช่น

“... พึงสังเกตการบูชาในทางท่ีผิดให้เกิดโทษ ดังต่อไปน้ี ในสานักอาจารย์ทิศาปาโมกข์ เมือง
ตักศิลามีเด็กวัยรุ่นเป็นลูกศิษย์อยู่หลายคน เรียนวิชาต่างกันตามแต่เขาถนัด มีเด็กวัยรุ่นคนหน่ึงช่ือ
สัญชีวะอยู่ในหมู่น้ันเรียนเวทย์มนต์ เสกสัตว์ตายให้ฟ้ืนคืนชีพได้ ตามธรรมเนียมการเรียนเวทย์มนต์
ต้องเรียนผูกและเรียนแก้ ไปด้วยกัน แต่เขาไม่ได้เรียนมนต์แก้” มาวันหน่ึง สัญชีวะกับเพ่ือนหลาย
คนพากันเข้าปุาหาฟืนตามเคย ได้พบเสือโคร่งตัวหน่ึงนอนตายอยู่ “นี่แน่ะเพ่ือน เสือตาย” สัญชีวะ
เอ่ยขึ้น “ข้าจะเสกมนต์ให้เสือตัวน้ีฟื้นคืนชีพขึ้น คอยดูนะเพ่ือน” “แน่เทียวหรือ” เพ่ือนคนหนึ่งพูด
“ลองปลุกมันให้คืนชีพลุกข้ึนดูซิ ถ้าเธอ สามารถ” แล้วเพ่ือน ๆ อื่น ๆ ขึ้นต้นไม้คอยดู “แน่ซ่ีน่า”
สัญชีวะยืนยัน แล้วเร่ิมร่ายมนต์ เสกลงที่ร่างเสือ พอเจ้าเสือฟ้ืนลืมตาลุกข้ึนยืนรู้สึกหิว มองเห็น
สัญชีวะพอเป็นอาหารแก้หิวได้ จึงสะบัดแยกเข้ียว อวดสัญชีวะและคารามว่ิงปราดเข้ากัดก้านคอ
สญั ชีวะลม้ ตายลง เมอ่ื อาจารย์ไดท้ ราบข่าวก็สลดใจและอาลัยรักในลูกศิษย์มาก จึงเปล่งอุทานข้ึนว่า
“น่ีแหละ ผลของการยกย่องในทางที่ผิด ผู้ยกย่องคนเลวร้าย ยอมรับนับถือเขาในทางมิบังควร ต้อง
ได้รับทกุ ข์ถึงตายเชน่ น้ีเอง”

5. แบบเทศนาโวหาร คือ โวหารท่ีอธิบายช้ีแจงให้ผู้อ่านเช่ือถือ ตามโดยยกเหตุผล
ข้อเทจ็ จรงิ อธบิ ายคุณโทษ แนะนาส่ังสอน ตัวอย่างเช่น

“คนคงแก่เรียนย่อมมีปรีชาญาณ ฉลาดคิด ฉลาดทา ฉลาดพูดและมีความรู้สึกสูง สานึกใน
ผิดชอบชว่ั ดี ไม่กลา้ ทาในสิ่งทีผ่ ดิ ทชี่ ัว่ เพราะรู้สึกละอายขวยเขินแก่ใจและรู้สึก สะดุ้ง หวาดกลัว ต่อ
ผลร้ายอันพึงจะได้รับ รู้สึกอ่ิมใจในความถูกต้อง รู้สึกเสียใจในความผิดพลาด และรู้เท่าความถูกผิด
นั้นว่า มิได้อยู่ท่ีดวงดาวประจาตัว แต่อยู่ท่ีการกระทาของตัวเอง พึงทราบว่า ความฉลาดคิด ฉลาด
ทา ฉลาดพูดและความรู้สึกสูง ทาให้คิดดีท่ีจริงและคิดจริง ที่ดี ทาดีท่ีจริงทาจริงท่ีดี และพูดดีที่จริง
พูดจริงท่ีดี น่ีคือวิธีจรรยาของคนแก่เรียน โวหารต่าง ๆ ดังกล่าวเม่ือใช้เขียนเรียงความเรื่องหนึ่ง ๆ
ไม่ได้หมายความว่าจะใช้เพียงโวหารใดโวหารหน่ึงเพียงโวหารเดียว การเขียนจะใช้หลาย ๆ แบบ
ประกอบกันไป แล้วแต่ความเหมาะสมตามลักษณะเน้ือเรื่องที่เขียน การเขียนเรียงความเป็นศิลปะ
หลักการตา่ ง ๆ ทว่ี างไว้ไม่ได้เปน็ หลกั ตายตวั อยา่ ง คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ดังน้ันจึงเป็นเพียงแนว
ปฏิบัตแิ ละข้อเสนอแนะ ในการเขียน อาจพลิกแพลงได้ตามความเหมาะสมท่ีเห็นสมควร
สานวนภาษาในการเขียนเรียงความ ยดึ หลกั การใชภ้ าษาดังน้ี

1. ใช้ภาษาให้ถูกหลักภาษา เช่น การใช้ลักษณะนาม ปากกาใช้ว่า “ด้าม” รถใช้ว่า “คัน”
พระภิกษุใช้ว่า “รูป” เป็นต้น นอกจากนี้ไม่ควรใช้สานวนภาษาต่างประเทศ เช่น ขณะที่ข้าพเจ้าจับ
รถไฟไปเชยี งใหม่ ควรใช้ว่า ขณะที่ขา้ พเจ้าโดยสารรถไฟไปเชียงใหม่ บิดาของข้าพเจ้าถูกเชิญไปเป็น
วทิ ยากร ควรใช้ บิดาของขา้ พเจ้าไดร้ ับเชญิ ไปเป็นวิทยากร

2. ไม่ควรใช้ภาษาพูด เช่น ดีจัง เมื่อไหร่ ทาน ฯลฯ ควรใช้ภาษาเขียนได้แก่ ดีมาก เมื่อไร
รับประทาน

3. ไมค่ วรใชภ้ าษาแสลง เช่น พน่ ฝอย แจวอา้ ว สุดเหวีย่ ง ฯลฯ
4. ควรหลีกเลี่ยงการใช้คาศัพท์ยากที่ไม่จาเป็น เช่น ปริเวทนาการ ฯลฯ ซึ่งมีคาที่ง่ายกว่าท่ี
ควรใช้คือคาว่า วิตก หรือใช้คาที่ตนเองไม่ทราบความหมายที่แท้จริง เช่น บางคนใช้คาว่าใหญ่โต
รโหฐาน คาวา่ รโหฐานแปลวา่ ทล่ี ับ ทถ่ี กู ต้องใช้ ใหญ่โตมโหฬาร เปน็ ตน้
5. ใช้คาให้ถกู ต้องตามกาลเทศะและบคุ คล เช่น คาสุภาพ คาราชาศพั ท์ เป็นตน้
6. ผูกประโยคให้กระชับ “ถ้าเจ้าเดินช้าเช่นนี้เมื่อไรจะไปถึงที่หมายสักที” หรือประโยคว่า
“อันธรรมดาคนเราเกิดมาในโลกน้ี บ้างก็เป็นคนดี บ้างก็เป็นคนช่ัว” ควรใช้ว่า “คนเราย่อมมีทั้งดี
และช่วั ” เป็นตน้

ใบงานท่ี 1

ใบงานท่ี 2

ใบงานท่ี 3

ใบงานที่ 4

จงเขยี นเรียงความจากภาพท่กี าหนดให้ พร้อมต้ังชื่อเร่ือง

ใบงานท่ี 5

แบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง การเขียนเรียงความ
**********************************************************
คาส่ัง ให้ผู้เรียนเลือกคาตอบท่ีถูกต้องท่ีสุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย X (กากบาท)
ลงในกระดาษคาตอบ
1. เรยี งความมอี งคป์ ระกอบกี่สว่ น
ก. 2 สว่ น
ข. 3 ส่วน
ค. 4 ส่วน
ง. 5 สว่ น
2. คานาเป็นสว่ นใดของการเขยี นเรยี งความ
ก. สว่ นท่ี 1
ข. ส่วนท่ี 2
ค. สว่ นที่ 3
ง. ส่วนที่ 4
3. ส่วนใดของเรยี งความทมี่ ีความสาคญั ทีส่ ดุ
ก. คานา
ข. เนื้อเรอื่ ง
ค. สรุป
ง. ถูกทกุ ข้อ
4. ข้อใดไม่ใชข่ ้นั ตอนการเขยี นเรยี งความ
ก. การเลอื กเรอ่ื ง
ข. การคน้ หาขอ้ มูล
ค. การวางโครงเรอ่ื ง
ง. การวิเคราะหเ์ นือ้ หา

5. ข้อใดไม่ใชล่ ักษณะของเรียงความท่ีดี
ก. มีเอกภาพ
ข. มีสมั พนั ธภาพ
ค. มคี วามกลมกลืน
ง. มีสารัตถภาพ

6. ขอ้ ใดไมใ่ ช่การเขยี นเรยี งความท่ีมเี อกภาพ
ก. ต้องมีเน้อื หาไปในทศิ ทางเดยี วกนั
ข. ตอ้ งมีเน้อื หาทเี่ กี่ยวเน่อื งสมั พนั ธ์กัน
ค. ต้องมเี นอ้ื หาสาระทสี่ มบูรณ์ตลอดท้งั เร่อื ง
ง. ตอ้ งมีเน้อื หาบรรยายตลอดทง้ั เรอื่ ง

7. ข้ันตอนการเขยี นเรยี งความข้อใดทม่ี ีการเขยี นคานา เนอื้ เรอ่ื ง สรุป
ก. การเลอื กเร่อื ง
ข. การค้นคว้าข้อมลู
ค. การวิเคราะห์เน้ือหา
ง. การเรียบเรียง

8. องคป์ ระกอบของเรยี งความส่วนใดทีม่ ีการยกคาพดู สุภาษิต หรือบทกวที ีน่ ่าประทับใจ
ก. คานา
ข. เนอ้ื เรื่อง
ค. สรุป
ง. ขอ้ ก และ ข ถูก

9. ขอ้ ใดไม่ใช่สานวนภาษาท่ีใช้ในการเขยี นเรยี งความ
ก. ใชภ้ าษาทเ่ี ปน็ ทางการ
ข. ไม่ควรใชภ้ าษาพดู
ค. ไมค่ วรใช้ภาษาแสลง
ง. ควรหลีกเลย่ี งการใช้คาศัพทท์ ย่ี าก

10. ขอ้ ใดไม่ใชส่ านวนท่ีใชใ้ นการเขียนเรียงความ
ก. แบบบรรยายโวหาร
ข. อปุ ลักษณโ์ วหาร
ค. แบบพรรณนาโวหาร
ง. แบบอปุ มาโวหาร

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
เรอ่ื ง การเขยี นเรยี งความ
1ข
2ก
3ข
4ง
5ค
6ก
7ง
8ค
9ก
10 ข

ใบงานท่ี 1

ใบงานท่ี 2

ใบงานท่ี 3

ข้นึ อยูก่ บั ดลุ ยพินจิ ของครผู ู้ตรวจ

ใบงานท่ี 4

จงเขียนเรียงความจากภาพท่ีกาหนดให้ พร้อมตั้งชือ่ เร่ือง

ข้ึนอยู่กบั ดลุ ยพินจิ ของครผู ู้ตรวจ

ใบงานท่ี 5

เฉลยใบงานท่ี 4-5
คาชี้แจง ให้อยู่ในดลุ ยพินิจของครูผสู้ อนโดยใช้เกณฑป์ ระเมนิ การเขยี นเรียงความ

เอกสารอา้ งองิ

ฐะปะนีย์ นาครทรรพ. การประพนั ธ์ ท.041. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์, 2519.
ภาสกร เกดิ อ่อน. ภาษาไทย ป.5. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์, 2548.
ศึกษาธิการ, กระทรวง. หนงั สือเรียนภาษาไทย ชุดทักษะพัฒนา เลม่ 2. กรุงเทพฯ :

คุรสุ ภาลาดพร้าว. 2531.


Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita