หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้า ศรีปทุม

คุ้นเคย มีสังคมกว้างข้ึน ต้องดูแลตนเองมากขึ้น มีกิจกรรมท้ังการเรียนในห้องและกิจกรรมเสริมหลักสูตรท่ีนักศึกษา

ต้องสามารถจัดแบ่งเวลาให้เหมาะสม นอกจากนี้คือปัญหาด้านความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์และทักษะการใช้

ภาษาองั กฤษ ทงั้ การเรียนในห้องเรียนและการศกึ ษาจากตำราเรยี นทเี่ ป็นภาษาอังกฤษ

2.4กลยุทธ์ในการดำเนนิ การเพอ่ื แกไ้ ขปัญหา / ข้อจำกัดของนกั ศึกษาในข้อ 2.3

(1) กลยุทธ์ในการดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหานักศึกษาด้านการปรับตัว ทางสาขาวิชาฯ จะจัดให้มีการดูแล
อย่างใกล้ชิดโดยอาจารย์ที่ปรึกษา และนักศึกษารุ่นพี่ พร้อมท้ังได้มีการจัดโครงการเสริมหลักสูตรที่เหมาะสมให้กับ

นักศึกษา

(2) กลยุทธใ์ นการแกไ้ ขปัญหาดา้ นพนื้ ฐานทางคณติ ศาสตร์ จะมีการสอนเสริมทักษะทางดา้ นคณติ ศาสตร์
(3) กลยุทธ์ในการแก้ไขปัญหาด้านพ้ืนฐานทางภาษาอังกฤษ จะมีการเร่ิมสอดแทรกเนื้อหาที่เป็น
ภาษาอังกฤษเพม่ิ มากข้ึนตามลำดับชน้ั ปีของนักศกึ ษา

(4) กลยุทธก์ ารเรียนแบบทางไกลทางอเิ ล็กทรอนิกส์ (e-Learning) ในการแก้ไขปัญหาด้านการพัฒนาทักษะ
การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง รวมถึงชว่ ยในการจดั สรรเวลาและการปรบั ตัวของนกั ศกึ ษา

มคอ.2 11

2.5 แผนการรบั นักศึกษาและจำนวนผสู้ ำเรจ็ การศึกษาในระยะเวลา 5 ปี

จำนวนนักศึกษา 2565 จำนวนนักศึกษา (คน) 2568 2569
2566 2567 175 175
120 120
ชั้นปที ี่ 1 175 175 175 105 105
95 95
ชนั้ ปที ่ี 2 120 120 495 495
95 95
ชั้นปที ่ี 3 105

ชั้นปีท่ี 4

รวม 175 295 400

คาดวา่ จะจบการศกึ ษา - - -

2.6 งบประมาณตามแผน

งบประมาณคา่ ใชจ้ ่ายตอ่ หัวตอ่ ปี (สูงสดุ ) 75,000 บาท

งบประมาณคา่ ใชจ้ า่ ยตลอดหลกั สูตร 300,000 บาท

2.7 ระบบการศึกษา

แบบช้ันเรียน ทั้งนี้ในบางรายวิชาอาจมีการเรียนด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) เพ่ิมเติมได้ตามความ

เหมาะสม

2.8 การเทียบโอนหน่วยกติ รายวิชาและการลงทะเบยี นขา้ มมหาวิทยาลัย

เป็นไปตามขอ้ บังคับมหาวทิ ยาลยั ศรปี ทมุ วา่ ดว้ ยการศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี

3. หลกั สตู รและอาจารยผ์ สู้ อน

3.1 หลักสูตร

3.1.1 จำนวนหน่วยกติ

ตลอดหลกั สตู ร 137 หนว่ ยกิต

3.1.2 โครงสรา้ งหลักสูตร

(1) หมวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป 30 หน่วยกติ

(2) หมวดวิชาเฉพาะ 92 หนว่ ยกติ

(2.1)วชิ าพื้นฐานวชิ าชีพ 32 หนว่ ยกิต

- รายวชิ าพนื้ ฐานทางคณติ ศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ 14 หนว่ ยกิต

- รายวชิ าพื้นฐานทางวศิ วกรรมศาสตร์ 18 หน่วยกิต

(2.2)วิชาชีพบงั คับ 45 หนว่ ยกิต

(2.3)วชิ าชพี เลือก 15 หนว่ ยกติ

(3) หมวดวิชาเลอื กเสรี 15 หนว่ ยกติ

3.1.3 รายวชิ า

ความหมายของรหัสวิชา รายวชิ าวศิ วกรรมไฟฟา้ (Electrical Engineering)
EEGxxx สาขาวิชาวศิ วกรรมไฟฟา้
EEG หมายถึง รายวชิ าพื้นฐานวิศวกรรม (General Engineering)

EGR หมายถงึ ชน้ั ปที ่คี วรเรยี น
กลุม่ ประเภทวิชา
หลักร้อย หมายถึง ลำดบั วชิ าในแต่ละกลมุ่
หลักสบิ หมายถึง
หลักหนว่ ย หมายถงึ

มคอ.2 12

(1) หมวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป 30 หน่วยกติ

เลอื กจากรายวิชาที่กำหนดในหมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป มหาวิทยาลยั ศรีปทมุ โดยได้รบั ความเห็นชอบจากคณะ

(2) หมวดวิชาเฉพาะ 92 หน่วยกติ

(2.1)วิชาพน้ื ฐานวิชาชพี 32 หน่วยกติ

หนว่ ยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ัต-ิ ศึกษาดว้ ยตนเอง)

รหัสวิชา ชอ่ื วิชา หนว่ ยกติ
CHM100 เคมีท่ัวไป
(General Chemistry) 3(3-0-6)

CHM110 ปฏิบตั กิ ารเคมีท่ัวไป 1(0-3-1)

(General Chemistry Laboratory)

MAT125 คณิตศาสตรว์ ศิ วกรรม 1 3(3-0-6)

(Engineering Mathematics 1)

MAT126 คณติ ศาสตรว์ ศิ วกรรม 2 3(3-0-6)

(Engineering Mathematics 2)

EGR203 การวิเคราะหข์ ้อมลู ในงานวศิ วกรรม 3(3-0-6)

(Data Analysis in Engineering Operation)

PHY111 ฟิสิกส์ 1 3(3-0-6)

(Physics 1)

PHY121 ปฏบิ ัติการฟสิ ิกส์1 1(0-3-1)

(Physics Laboratory 1)

EGR102 เขียนแบบวศิ วกรรม 3(2-3-5)

(Engineering Drawing)

EGR105 การจดั การวศิ วกรรมความปลอดภัย 3(2-3-5)

(Safety Engineering Management)

EGR205 โปรแกรมคอมพิวเตอรส์ ำหรับวศิ วกร 3(2-3-5)
(Computer Programming for Engineers)

EGR210 วสั ดวุ ิศวกรรม 3(3-0-6)

(Engineering Materials)

EGR220 กลศาสตรว์ ศิ วกรรม 3(3-0-6)

(Engineering Mechanics)

(2.2)วิชาชีพบังคบั 45 หน่วยกิต

หนว่ ยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ัต-ิ ศึกษาดว้ ยตนเอง)

รหสั วิชา ช่ือวชิ า หน่วยกติ

EEG211 วงจรไฟฟ้า 1 3(3-0-6)

(Electric Circuits 1)

EEG213 ปฏิบัติการวงจรไฟฟา้ 1(0-3-1)

(Electric Circuits Laboratory)

มคอ.2 13

รหัสวิชา ช่อื วชิ า หน่วยกิต
EEG215 2(2-0-4)
EEG216 อเิ ล็กทรอนิกสแ์ บบแอนะล็อกและดจิ ติ อล 1(0-3-1)
EEG231 (Analog and Digital Electronics) 2(2-0-4)
EEG271 2(2-0-4)
EEG302 ปฏิบัตกิ ารอเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ บบแอนะลอ็ กและดจิ ติ อล 1(0-3-1)
EEG306 (Analog and Digital Electronics Laboratory) 2(2-0-4)
EEG307 3(2-3-5)
EEG312 สนามแม่เหลก็ ไฟฟ้า 1(0-3-1)
EEG313 (Electromagnetic Fields) 2(2-0-4)
EEG341 3(3-0-6)
EEG342 เทคโนโลยีการส่อื สาร 1(0-3-1)
EEG351 (Communication Technology) 3(3-0-6)
EEG442 3(3-0-6)
EEG448 ปฏิบัตกิ ารระบบควบคุม 3(3-0-6)
EEG453 (Control Systems Laboratory) 3(3-0-6)
EEG498 3(1-4-4)
EEG499 ระบบควบคุม 6(0-40-0)
(Control Systems)

ระบบสมองกลฝังตัวและพแี อลซี
(Embedded System and PLC)

ปฏบิ ัตกิ ารการวัดทางไฟฟ้า
(Measurement Systems Laboratory)

เครอื่ งมอื และการวัดทางไฟฟา้
(Electrical Instruments and Measurements)

เคร่ืองจักรกลไฟฟา้ 1
(Electrical Machines 1)

ปฏบิ ตั ิการเคร่ืองจักรกลไฟฟา้
(Electrical Machines Laboratory)

ระบบไฟฟ้ากำลัง
(Electric Power Systems)

อิเลก็ ทรอนิกส์กำลงั
(Power Electronics)

เทคโนโลยีการผลติ ไฟฟ้าและการกกั เกบ็ พลังงาน
(Power Generation Technology and Energy Storage)

การออกแบบระบบไฟฟ้า
(Electrical System Design)

เตรียมสหกิจศกึ ษาวศิ วกรรมไฟฟา้
(Electrical Engineering Pre-Cooperative Education)

สหกจิ ศกึ ษาวศิ วกรรมไฟฟ้า
(Electrical Engineering Cooperative Education)

หมายเหตุ นกั ศึกษาทไี่ ม่สามารถเรยี นรายวิชา EEG498 เตรยี มสหกิจศึกษาวศิ วกรรมไฟฟ้า และ/หรือ EEG499 สหกิจ
ศึกษาวศิ วกรรมไฟฟ้า ให้เลอื กเรียนรายวิชาทดแทนดังตอ่ ไปนี้แทน โดยได้รบั อนุมัตจิ ากคณะ

มคอ.2 14

รหสั วชิ า ชื่อวิชา หน่วยกติ
EEG390 3(0-35-0)
การฝึกงานวิศวกรรมไฟฟา้
EEG394 (Electrical Engineering Practice) 3(0-9-3)

EEG492 การพฒั นาโครงงานทางวศิ วกรรมไฟฟา้ 3(0-9-3)
(Project Development in Electrical Engineering)

โครงงานวศิ วกรรมไฟฟ้า
(Electrical Engineering Project)

(2.3)วิชาชพี เลือก 15 หน่วยกติ

นักศกึ ษาจะต้องเลือกเรยี นวิชาชีพเลือกจากกล่มุ วิชาใดกลุ่มหนึ่ง จำนวน 15หนว่ ยกติ ดงั ตอ่ ไปน้ี

- กลุ่มระบบไฟฟ้ากำลงั

หนว่ ยกติ (บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาดว้ ยตนเอง)

รหัสวชิ า ชอ่ื วิชา หนว่ ยกติ

EEG352 ปฏิบัติการแบบจำลองสารสนเทศทางไฟฟา้ ของอาคาร 1(0-3-1)

(Building Information Modeling Laboratory)

EEG393 การเรยี นรู้โดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน 3(3-0-6)

(Problem Based Learning)

EEG449 การออกแบบระบบควบคุมเครอื่ งจกั รกลไฟฟา้ 3(3-0-6)

(Design of electromechanical control systems)

EEG450 วศิ วกรรมไฟฟา้ แรงสงู และการป้องกัน 3(3-0-6)

(High Voltage Engineering and Protection)

EEG451 ปฏบิ ัติการวศิ วกรรมไฟฟา้ (กำลงั ) 1(0-3-1)

(Electrical Engineering Laboratory [Power])

EEG452 การวเิ คราะหร์ ะบบไฟฟ้ากำลัง 3(3-0-6)

(Electric Power Systems Analysis)

EEG459 หวั ข้อพเิ ศษทางวศิ วกรรมไฟฟ้า(กำลงั ) 3(3-0-6)

(Special Topics in Electrical Engineering [Power])

EEG469 ปฏบิ ัตกิ ารอเิ ล็กทรอนกิ ส์กำลงั สำหรับอตุ สาหกรรม 1(0-3-1)

(Industrial Power Electronic Laboratory)

- กลุ่มระบบควบคมุ อตั โนมตั แิ ละหุน่ ยนต์

หนว่ ยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ัต-ิ ศกึ ษาด้วยตนเอง)

รหัสวชิ า ชอ่ื วชิ า หนว่ ยกิต

EEG361 อนิ เตอร์เฟสและการสื่อสารในอตุ สาหกรรม 3(3-0-6)

(Interfacing and Communication in Industrial)

EEG362 ระบบควบคมุ หนุ่ ยนตใ์ นอุตสาหกรรม 3(3-0-6)

(Industrial Robot Control System)

EEG443 ระบบขับเคล่ือนไฟฟ้า 3(3-0-6)

(Electric Drives)

มคอ.2 15

รหัสวชิ า ชอ่ื วชิ า หนว่ ยกติ
EEG466 3(3-0-6)
หวั ข้อพิเศษระบบอตั โนมัตแิ ละหนุ่ ยนต์
EEG468 (Special Topic on Autonomous System and Robotics) 3(2-3-5)

EEG482 ระบบอัตโนมัตแิ ละหุ่นยนตอ์ ุตสาหกรรม 3(3-0-6)
(Automation and Industrial Robot)

เทคโนโลยีตวั ตรวจร้แู ละตัวแปลง
(Sensors and Transducers Technology)

หมายเหตุ:
1. หากนักศึกษาไมส่ ามารถเรยี นกลุม่ วิชาใดกลมุ่ วชิ าหนง่ึ นกั ศึกษาสามารถเลอื กเรยี นข้ามกลุ่มได้ ทง้ั นี้ตอ้ ง
ได้รับความเห็นชอบจากคณะ
2. สำหรบั นักศึกษาสาขาวิชาอ่ืน หรือนกั ศึกษาสาขาวชิ าวิศวกรรมไฟฟ้าสามารถเลือกเรยี นเพม่ิ เตมิ เปน็
หมวดรายวชิ าเลอื กเสรตี ามความเหน็ ชอบจากคณะ ในกลมุ่ ดงั ตอ่ ไปนี้

กลุ่มระบบอตั โนมตั ิและหุ่นยนต์อตุ สาหกรรม

รหสั วิชา ช่ือวชิ า หน่วยกติ
3(3-0-6)
EEG235 วิทยาการหนุ่ ยนตแ์ ละระบบอัตโนมตั ิเบือ้ งตน้
3(3-0-6)
(Introduction to Robotics and Automation)
3(3-0-6)
EEG236 เทคโนโลยเี ซนเซอรแ์ ละเครือขา่ ยไร้สาย
3(3-0-6)
(Sensor Technology and Wireless Networks)
3(3-0-6)
EEG237 ระบบสมองกลฝังตวั เบื้องต้น

(Introduction to Embedded System)

EEG238 ระบบควบคมุ อัตโนมตั แิ ละหุ่นยนต์อจั ฉรยิ ะ

(Automatic Control System and Intelligent Robot)

EEG239 การผสมผสานระบบทางวิศวกรรม

(Engineering System Integration)

(3) หมวดวิชาเลือกเสรี 15 หนว่ ยกติ

นักศกึ ษาเลือกจากรายวชิ าที่เปดิ สอนในระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยศรีปทุม ท้ังหลักสูตรภาษาไทย

และหลกั สตู รนานาชาติ ท้ังนตี้ ้องไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะ

มคอ.2 16

3.1.4. แสดงแผนการศกึ ษา

ปีที่1 / ภาคการศึกษาท1่ี

รหัสวิชา ชอ่ื วชิ า หนว่ ยกิต (บรรยาย-ปฏบิ ตั -ิ ศึกษาดว้ ยตนเอง)
3(3-0-6)
CHM100 เคมีทั่วไป 1(0-3-1)
3(3-0-6)
CHM110 ปฏิบตั ิการเคมีทวั่ ไป 3(2-3-5)
3(2-3-5)
MAT125 คณิตศาสตรว์ ิศวกรรม 1 2
2
EGR102 เขียนแบบวศิ วกรรม 2

EGR105 การจัดการวศิ วกรรมความปลอดภัย

กลุ่มสาขาวิชามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์

กลุ่มสาขาวิชาคณิตศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์

กลุ่มสาขาวชิ าภาษาและการส่อื สาร

รวม 19 หน่วยกิต

ปีที1่ / ภาคการศกึ ษาท่ี2

รหัสวชิ า ช่ือวิชา หน่วยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ตั -ิ ศึกษาด้วยตนเอง)

MAT126 คณิตศาสตรว์ ศิ วกรรม 2 3(3-0-6)
PHY111 ฟสิ กิ ส์ 1 3(3-0-6)
PHY121 ปฏบิ ตั ิการฟิสิกส์ 1 1(0-3-1)
EGR210 วสั ดวุ ิศวกรรม 3(3-0-6)
EEG211 วงจรไฟฟา้ 1 3(3-0-6)
กลุ่มสาขาวิชามนษุ ยศ์ าสตรแ์ ละสังคมศาสตร์
กลุ่มสาขาวิชาภาษาและการสอื่ สาร 2
กลุ่มสาขาวชิ าคณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ 2
2

รวม 19 หนว่ ยกติ

รวมหนว่ ยกติ ปที ่ี 1 38 หน่วยกิต
รวมหนว่ ยกิตสะสม 38 หน่วยกิต

มคอ.2 17

ปีท่ี 2 / ภาคการศึกษาที่1

รหัสวิชา ชื่อวชิ า หน่วยกติ (บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาดว้ ยตนเอง)

MAT203 สถิติสำหรับวิศวกร 3(3-0-6)
EGR205 โปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ ำหรับวศิ วกร 3(2-3-5)
EGR220 กลศาสตร์วิศวกรรม 3(3-0-6)
EEG213 ปฏิบตั กิ ารวงจรไฟฟ้า 1(0-3-1)
EEG215 อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ บบแอนะลอ็ กและดจิ ิตอล 2(2-0-4)
EEG231 สนามแมเ่ หล็กไฟฟ้า 2(2-0-4)
กลุ่มสาขาวชิ ามนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์
กลุ่มสาขาวชิ าภาษาและการสื่อสาร 2
2

รวม 18
หน่วยกติ

ปที ่ี 2 / ภาคการศึกษาท่ี 2

รหสั วิชา ช่ือวิชา หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาดว้ ยตนเอง)

EEG216 ปฏบิ ตั ิการอเิ ล็กทรอนกิ ส์แบบแอนะล็อกและดิจิตอล 1(0-3-1)
EEG271 เทคโนโลยีการสื่อสาร 2(2-0-4)
EEG306 ระบบควบคมุ 2(2-0-4)
EEG307 ระบบสมองกลฝงั ตัวและพแี อลซี 3(2-3-5)
EEG313 เครอื่ งมือและการวัดทางไฟฟ้า 2(2-0-4)
EEG341 เคร่ืองจักรกลไฟฟา้ 1 3(3-0-6)
กลมุ่ สาขาวชิ ามนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์
กล่มุ สาขาวชิ าคณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ 2
กลุ่มสาขาวิชาภาษาและการส่ือสาร 2

2

รวม 19 หน่วยกติ

รวมหนว่ ยกติ ปที ่ี 2 37 หนว่ ยกติ
รวมหน่วยกติ สะสม 75 หน่วยกิต

มคอ.2 18

ปที ี่3 / ภาคการศกึ ษาที่ 1

รหสั วิชา ช่อื วชิ า หนว่ ยกิต (บรรยาย-ปฏบิ ัติ-ศึกษาดว้ ยตนเอง)
EEG302 ปฏบิ ัตกิ ารระบบควบคมุ 1(0-3-1)
EEG312 ปฏิบัตกิ ารการวดั ทางไฟฟ้า 1(0-3-1)
EEG342 ปฏิบัตกิ ารเคร่อื งจักรกลไฟฟา้ 1(0-3-1)
EEG351 ระบบไฟฟ้ากำลัง 3(3-0-6)

EEG442 อิเล็กทรอนิกสก์ ำลงั 3(3-0-6)

EEG453 การออกแบบระบบไฟฟา้ 3(3-0-6)

วิชาชีพเลือก 3(3-0-6)

กลมุ่ สาขาวิชาคณิตศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ 2
กลุ่มสาขาวชิ าภาษาและการสอ่ื สาร 2

รวม 19 หนว่ ยกิต

ปที ี่3 / ภาคการศึกษาท่ี 2

รหสั วิชา ชอ่ื วิชา หน่วยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ตั ิ-ศกึ ษาดว้ ยตนเอง)

EEG448 เทคโนโลยกี ารผลติ ไฟฟ้าและการกักเก็บพลงั งาน 3(3-0-6)

วิชาชพี เลือก 3(3-0-6)

วิชาชพี เลอื ก 3(3-0-6)

วชิ าชพี เลือก 3(3-0-6)

วิชาชพี เลอื ก 1(0-3-1)

วชิ าชพี เลอื ก 1(0-3-1)

วิชาชพี เลอื ก 1(0-3-1)

กลมุ่ สาขาวชิ าคณติ ศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 2

กลุม่ สาขาวชิ ามนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ 2

รวม 19 หน่วยกิต

รวมหน่วยกติ ปที ่ี 3 38 หน่วยกติ
รวมหน่วยกติ สะสม 113 หน่วยกติ

มคอ.2 19

ปที ี่4 / ภาคการศกึ ษาท่ี 1

รหสั วิชา ช่อื วชิ า หน่วยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง)
EEG498
เตรียมสหกจิ ศกึ ษาวศิ วกรรมไฟฟา้ 3(1-4-4)

วชิ าเลือกเสรี (1) 3

วิชาเลือกเสรี (2) 3

วิชาเลอื กเสรี (3) 3

วชิ าเลอื กเสรี (4) 3

วชิ าเลอื กเสรี (5) 3

รวม 18 หนว่ ยกิต

รหสั วชิ า ช่ือวชิ า ปีท่ี4 / ภาคการศกึ ษาที่ 2
หน่วยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ัต-ิ ศกึ ษาด้วยตนเอง)
EEG499 สหกจิ ศึกษาวศิ วกรรมไฟฟา้ 6(0-40-0)
รวม 6 หน่วยกติ

หมายเหตุ นกั ศกึ ษาท่ีไม่สามารถเรยี นรายวิชา EEG498 เตรียมสหกิจศกึ ษาวศิ วกรรมไฟฟา้ และ/หรอื EEG499 สหกิจ
ศกึ ษาวศิ วกรรมไฟฟา้ ให้เลอื กเรยี นรายวิชาดังต่อไปน้แี ทน โดยไดร้ บั อนมุ ตั จิ ากคณะ

รหัสวชิ า ชื่อวิชา หน่วยกติ
EEG390 3(0-35-0)
การฝึกงานวศิ วกรรมไฟฟา้
EEG394 (Electrical Engineering Practice) 3(0-9-3)

EEG492 การพฒั นาโครงงานทางวศิ วกรรมไฟฟา้ 3(0-9-3)
(Project Development in Electrical Engineering)

โครงงานวศิ วกรรมไฟฟา้
(Electrical Engineering Project)

รวมหน่วยกติ ปีที่ 4 24 หน่วยกิต
รวมหนว่ ยกติ สะสม 137 หนว่ ยกิต

มคอ.2 20

3.1.5 คำอธบิ ายรายวชิ า

CHM100 เคมที ว่ั ไป 3(3-0-6)

(General Chemistry)

ปริมาณสารสัมพนั ธ์ พน้ื ฐานทฤษฎอี ะตอม คณุ สมบัติของแกส๊ ของแขง็ ของเหลว และ

สารละลาย สมดุลเคมี สมดลุ ไอออนกิ จลนศาสตรเ์ คมี การจดั เรียงอิเลก็ ตรอนในอะตอม พนั ธะเคมี คณุ สมบตั ขิ องธาตุ

ในตารางธาตุ กรดและเบส เคมีไฟฟา้ อณุ หพลศาสตรเ์ บอ้ื งต้น คุณสมบตั ิทางอณุ หพลศาสตรข์ องสสาร พลงั งานความ

รอ้ นในระบบอณุ หพลศาสตร์

CHM110 ปฏิบตั กิ ารเคมที ่ัวไป 1(0-3-1)

(General Chemistry Laboratory)

วิชาบงั คับกอ่ นหรือลงร่วม : CHM100 เคมที ว่ั ไป

การทดลองทส่ี มั พันธก์ ับทฤษฎที ่ีได้ศกึ ษาเกยี่ วกับ การแยกสารผสม ปฏกิ ริ ิยาเคมี เปอร์เซ็นตข์ องธาตุ

ในสารประกอบและสูตรอย่างง่าย การไทเทรตกรดและเบส การหาค่าคงท่ีของแก๊สและปริมาตรหนึ่ง โมลของแก๊สท่ี

สภาวะอุณหภูมิและความดันมาตรฐาน ความร้อนของสารละลายและของปฏิกิริยา อัตราของปฏิกิริยา สมดุลเคมี

ความกระดา้ งของน้ำ ออกซิเจนละลาย พลงั งานความรอ้ นในระบบอณุ หพลศาสตร์

MAT125 คณติ ศาสตรว์ ศิ วกรรม 1 3(3-0-6)

(Engineering Mathematics 1)

ตรีโกณมิติและการประยุกต์เวกเตอร์ในสองและสามมิติ พีชคณิตของเวคเตอร์ ระบบเวกเตอร์ของ

เส้นตรง ระนาบ และพื้นผิวในปริภูมิสามมิติ ลิมิตและความต่อเนื่อง อนุพนั ธแ์ ละการประยุกต์ใช้อนุพันธ์ ปริพนั ธแ์ ละ

การประยุกตใ์ ชป้ ริพันธ์ ค่าเฉล่ียของฟังก์ชนั เทคนคิ การหาปริพันธ์ การหาปรพิ นั ธต์ ามเส้น การหาปรพิ นั ธ์ไมต่ รงแบบ

MAT126 คณติ ศาสตรว์ ศิ วกรรม 2 3(3-0-6)

(Engineering Mathematics 2)

วิชาบังคับกอ่ น : MAT125 คณิตศาสตรว์ ศิ วกรรม 1

อนุพันธย์ ่อยของฟังก์ชันหลายตัวแปร กฎลูกโซ่ อนุพันธ์ย่อยอันดับสูง การหาอตั ราการเปล่ียนแปลง

ของฟังก์ชันหลายตัวแปร พิกัดเชิงขั้ว การหาปริพันธ์หลายชั้นในระบบพิกัดเชิงขั้ว การประยุกต์อนุพันธ์ ปริพันธ์ของ

ฟังก์ชันหลายตัวแปร การหาปริพันธ์ตามพน้ื ผิว สมการอนุพันธ์อันดบั หน่ึงและการหาผลเฉลย การประยุกต์สมการเชิง

อนุพันธ์อันดับหน่ึง สมการอนุพันธ์อันดับสองและการหาผลเฉลย ลำดับและอนุกรม อนุกรมอนันต์ การลู่เข้าและ

ลู่ออกของอนกุ รมอนนั ต์ อนุกรมกำลงั และอนกุ รมเทยเ์ ลอร การหาปรพิ ันธเ์ ชงิ ตวั เลข

มคอ.2 21

PHY111 ฟสิ ิกส์ 1 3(3-0-6)

(Physics 1)

การวดั และระบบหน่วยเอสไอ ปรมิ าณเวกเตอร์ จลนพลศาสตร์ของอนภุ าค พลศาสตร์ของอนุภาค

งานและพลังงาน โมเมนตัม การเคล่อื นทข่ี องระบบอนุภาค การหมนุ ของวัตถแุ ข็งเกร็ง การเคลอื่ นทีแ่ บบแกวง่ กวดั

ความโนม้ ถ่วง สมดลุ สถติ ของวัตถแุ ขง็ เกรง็ และสภาพยืดหยุ่น กลศาสตรข์ องไหล คลน่ื กล ความรอ้ นและทฤษฎจี ลน์

ของแก๊ส หลกั อุณหพลศาสตร์ การสมดุลและการอนุรกั ษพ์ ลงั งาน การถา่ ยเทความรอ้ น

PHY121 ปฏบิ ตั ิการฟิสกิ ส์ 1 1(0-3-1)

(Physics Laboratory 1)

วชิ าบังคบั ก่อนหรือลงร่วม : PHY111 ฟสิ กิ ส์ 1

การทดลองท่ีสัมพันธ์กับทฤษฎีท่ีได้ศึกษาเก่ียวกับการวัดและการวิเคราะห์ข้อมูล การเคลื่อนท่ีแบบ

โพรเจกไทล์ กฎข้อที่สองของนิวตัน การเคลื่อนท่ีแบบซิมเปิลฮาร์มอนิก การเคล่ือนท่ีแบบบอลลิสติกเพนดูลัม การ

เคล่ือนท่ีแบบหมุน คลื่นน่ิงบนเส้นเชือก บีตส์ การขยายตัวเนื่องจากความร้อน การขยายตัวแบบแอเดียแบติก การ

อนรุ ักษพ์ ลังงานกลและพลงั งานความร้อน

EGR102 เขียนแบบวศิ วกรรม 3(2-3-5)

(Engineering Drawing)

การเขียนตัวอักษร การฉายภาพออโธกราฟฟิก การเขียนภาพออโธกราฟฟิก การเขียนภาพพิกตอ

เรียล หลักการให้ขนาดและความเผื่อ การใชว้ ิวช่วย ภาพคลี่และภาพพับ การเขียนภาพตดั การเขียนแบบภาพแยกช้ิน

และภาพประกอบ การสเก็ทซ์แบบร่าง การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการเขียนแบบเบื้องต้น มาตรฐานแบบวิศวกรรมใน

งานอตุ สาหกรรมและการกอ่ สร้างตดิ ต้ัง

EGR105 การจดั การวศิ วกรรมความปลอดภยั 3(2-3-5)

(Safety Engineering Management)

หลักวิศวกรรมการจัดการและการจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัย หลักการในการปอ้ งกนั ความ

สูญเสีย การวเิ คราะห์และการควบคมุ อันตรายในสถานท่ีปฏบิ ตั ิงาน องค์ประกอบของมนุษย์และจิตวิทยาอตุ สาหกรรม

ความสัมพันธ์ระหว่างการออกแบบเพ่ือความปลอดภัยและประสิทธิภาพการดำเนินงาน ข้อกำหนดและมาตรฐานท่ี

เก่ียวข้องกับความปลอดภัยในงานวิศวกรรม หน้าท่ีความรับผิดชอบและจรรยาบรรวิชาชีพของวิศวกร ฝึกปฏิบัติด้าน

ความปลอดภัยในการปฏิบตั งิ านวิชาชีพวศิ วกรรม

EGR203 การวเิ คราะหข์ ้อมลู ในงานวศิ วกรรม 3(3-0-6)

(Data Analysis in Engineering Operation)

การบันทึกข้อมูลจากการวัดและกระบวนการทางดิจทิ ัลสมัยใหม่ การวเิ คราะห์ประมวลผลข้อมลู และ

นำเสนอข้อมูลเชงิ สถิติ สถติ ิเชิงพรรณนา การวัดแนวโน้มเข้าสู่สว่ นกลาง คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน ความแปรปรวน ความ

ถดถอยและสหสัมพันธ์ ทฤษฎีความน่าจะเป็น ตัวแปรสุ่ม การอนุมานเชิงสถิติ การวิเคราะห์ความแปรปรวน การใช้

วิธีการทางสถิติเป็นเคร่ืองมือในการแก้ปัญหา การประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการแก้ปัญหาสถิติ กรณี

ตัวอยา่ งการวเิ คราะหข์ ้อมลู ในงานวิศวกรรม

มคอ.2 22

EGR205 โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับวิศวกร 3(2-3-5)

(Computer Programming for Engineers)

แนวคดิ ของคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพวิ เตอร์ การปฏิสัมพนั ธร์ ะหวา่ งฮารด์ แวร์

และซอฟตแ์ วร์ การโปรแกรมภาษาปัจจุบัน ปฏิบัติการการโปรแกรม หลักการระบบอตั โนมัตแิ ละเทคโนโลยดี จิ ิทัล

สมัยใหมใ่ นงานวศิ วกรรม

EGR210 วสั ดุวศิ วกรรม 3(3-0-6)

(Engineering Materials)

ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งโครงสร้าง คณุ สมบตั ิ กระบวนการผลติ และการใชง้ านของประเภทวสั ดหุ ลักท่ี

ถกู ใชท้ างวิศวกรรม เชน่ โลหะ พลาสตกิ โพลเี มอร์ เซรามกิ ส์ วสั ดผุ สม แอสฟัลต์ ไม้ และคอนกรีต การทดสอบและ

ความหมายของคุณสมบัตทิ างกลของวสั ดุ การเส่ือมสภาพของวัสดุ เทคโนโลยีวสั ดุสมมั ใหมใ่ นงานวศิ วกรรม

EGR220 กลศาสตร์วศิ วกรรม 3(3-0-6)

(Engineering Mechanics)

วิชาบงั คบั ก่อนหรือลงรว่ ม : PHY111 ฟิสกิ ส์ 1

ระบบแรง สมดุลของระบบแรงบนอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง การวิเคราะห์โครงสร้างอย่างง่าย

พลศาสตร์เบ้ืองตน้ กฏการเคล่ือนที่ของนวิ ตนั จลนศาสตร์ (kinematics) และ จลนพลศาสตร์ (kinetics) ของอนภุ าค

และวัตถุแข็งเกร็ง งานและพลงั งาน อิมพัลสแ์ ละโมเมนตมั

EEG211 วงจรไฟฟา้ 1 3(3-0-6)

(Electric Circuits 1)

วชิ าบังคบั ก่อนหรือลงรว่ ม: MAT125 คณติ ศาสตรว์ ิศวกรรม 1

หรอื ไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะเจา้ ของวิชา

องค์ประกอบวงจร การวิเคราะห์แบบเมชและโหนด ทฤษฎีวงจร ความต้านทาน ความเหน่ียวนำ

และความจุไฟฟ้า วงจรอับดับหนง่ึ และอนั ดับสอง แผนภาพเฟสเซอร์ วงจรกำลงั ไฟฟา้ กระแสสลับ ระบบไฟฟ้าสามเฟส

EEG213 ปฏบิ ัตกิ ารวงจรไฟฟา้ 1(0-3-1)

(Electric Circuits Laboratory)

วิชาบังคบั ก่อนหรอื ลงรว่ ม: EEG211 วงจรไฟฟา้ 1 หรอื ได้รบั ความเหน็ ชอบจากคณะเจา้ ของวชิ า

การทดลองเพื่อใช้ทฤษฎีของวงจรไฟฟ้ากับอุปกรณ์วงจรและวงจรจริง พื้นฐานการใช้เคร่ืองมือวัด

ทางไฟฟ้าสำหรับการวัดสัญญาณและอุปกรณ์วงจรต่างๆ การใช้คอมพิวเตอร์ในการคำนวณเปรียบเทียบผลการ

วเิ คราะหท์ างทฤษฎี และการทดลอง

มคอ.2 23

EEG215 อิเลก็ ทรอนิกสแ์ บบแอนะลอ็ กและดจิ ติ อล 2(2-0-4)

(Analog and Digital Electronics)

วิชาบงั คบั กอ่ น: EEG211 วงจรไฟฟ้า 1 หรอื ได้รบั ความเหน็ ชอบจากคณะเจ้าของวิชา

สารก่ึงตัวนำ ทฤษฎีรอยต่อพี-เอ็นเบ้ืองต้น วงจรไดโอด วงจรทรานซิสเตอร์ วงจรโอเปอร์เรช่ันแน

ลแอมปริไฟเออร์ วงจรจ่ายไฟและโมดูลแหล่งจ่ายไฟฟ้า วงจรอิเล็กทรอนิกส์ทางแสงและการประยุกต์ ระบบดิจิตอล

กับระบบอนาลอก ระบบเชิงเลข และรหัสแบบต่างๆ วงจรดิจิตอลพีชคณิต แบบบูล หลักการออกแบบวงจรตรรกเชิง

ผสม หลกั การออกแบบวงจรตรรกเชิงลำดบั การประยุกตใ์ นงานวศิ วกรรมไฟฟ้า

EEG216 ปฏบิ ตั ิการอเิ ลก็ ทรอนิกส์แบบแอนะล็อกและดิจิตอล 1(0-3-1)

(Analog and Digital Electronics Laboratory)

วิชาบงั คบั กอ่ นหรือลงรว่ ม: EEG215 อเิ ลก็ ทรอนิกส์แบบแอนะลอ็ กและดจิ ิตอล

หรือไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะเจา้ ของวิชา

การทดลองเก่ียวกับอุปกรณ์ และวงจรอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ การออกแบบและประเมินการทำงาน

ของวงจรอิเล็กทรอนกิ สแ์ บบแอนะลอ็ กและดจิ ิตอล

EEG231 สนามแมเ่ หล็กไฟฟ้า 2(2-0-4)

(Electromagnetic Fields)

วิชาบงั คบั กอ่ น: EEG211 วงจรไฟฟ้า 1 หรอื ไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะเจา้ ของวชิ า

สนามไฟฟ้าสถิตย์ ตัวนำและไดอิเล็กตริก ความจุไฟฟ้า กระแสการพาและกระแสการนำ ความ

ตา้ นทาน สนามแมเ่ หล็กสถติ ยว์ สั ดุแม่เหลก็ การเหนย่ี วนำ สนามแมเ่ หล็กไฟฟา้ ท่ีแปรตามเวลา สมการแมกซ์แวลล์

EEG235 วิทยาการหุ่นยนตแ์ ละระบบอตั โนมตั ิเบ้ืองตน้ (3-0-6)

(Introduction to Robotics and Automation)

บทนำเก่ียวกับวิทยาการหุ่นยนต์ในปัจจุบัน พ้ืนฐานองค์ประกอบของหุ่นยนต์ โครงสร้าง กลไก

อุปกรณ์ตรวจจบั การควบคมุ ระดบั ล่าง อุปกรณข์ ับเคลือ่ น ตัวอย่างการประยุกตใ์ ชห้ นุ่ ยนต์ในด้านตา่ ง ๆ

EEG236 เทคโนโลยีเซนเซอร์และเครอื ข่ายไร้สาย (3-0-6)

(Sensor Technology and Wireless Networks)

แนะนำเทคโนโลยีการตรวจรู้ด้วยอุปกรณ์เซนเซอร์ ในแบบต่างๆ เช่น อุณหภูมิ ความชื้น อัตราการ

ไหล การตรวจวัดทางกายภาพในรูปแบบสัญญาณทางไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ การแปลงรูปแบบข้อมูลดิจิตอล

กระบวนการส่อื สารขอ้ มูล มาตรฐานการรับส่งขอ้ มูลสื่อสารขอ้ มลู ไร้สาย การสอ่ื สารขอ้ มลู ระยะไกล

EEG237 ระบบสมองกลฝงั ตัวเบ้ืองตน้ (3-0-6)

(Introduction to Embedded System)

บทนำของระบบฝังตัว สถาปัตยกรรมและการเขียนโปรแกรมพื้นฐานสำหรับไมโครคอนโทรลเลอร์

การเชื่อมต่อกับพอร์ต การเช่ือมต่อกับวงจรอนาล็อกและดิจิทัล การเช่ือมต่อกับส่วนแสดงผลและอุปกรณ์อินพุตและ

เอาต์พตุ การตดิ ตอ่ แบบอนกุ รม และการเชอื่ มต่อกบั อปุ กรณต์ รวจวดั

มคอ.2 24

EEG238 ระบบควบคุมอตั โนมัติและหนุ่ ยนตอ์ ัจฉริยะ (3-0-6)

(Automatic Control System and Intelligent Robot)

การควบคุมอปุ กรณ์ตน้ กำลังหุ่นยนต์ การตรวจวดั สถานะการทำงานของระบบหุ่นยนต์ กระบวนการ

การนำข้อมูลจากระบบการตรวจรู้มาประมวลผล การประมวลผลด้วยตรรกะและอัลกอริทึม รูปแบบการประมวลผล

ภาพ การประมวลผลข้อมูลแบบตำแหน่งสามมติ ิ กระบวนการตัดสินใจและการเรยี นรูใ้ หม่

EEG239 การผสมผสานระบบทางวศิ วกรรม (3-0-6)

Engineering System Integration

ศึกษาการทำงานของระบบ กระบวนการ การออกแบบทางกล ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ และสมองกล

ประมวลผลข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การออกแบบและพัฒนาระบบในรูปแบบผสมผสาน การเชื่อมโยงข้อมูล

การตรวจรู้ การจัดเรียงข้อมูลการสื่อสาร ระบบผสมผสานด้วยระบบบังคับมือ ระบบก่ึงอัตโนมัติ และระบบอัตโนมัติ

EEG271 เทคโนโลยกี ารสอ่ื สาร 2(2-0-4)

(Communication Technology)

วิชาบงั คบั ก่อนหรอื ลงรว่ ม: EEG215 อเิ ล็กทรอนิกส์แบบแอนะลอ็ กและดจิ ิตอล

หรือไดร้ บั ความเห็นชอบจากคณะเจ้าของวชิ า

โมเดลการส่ือสารท่ีใช้สายตวั นำสัญญาณ และแบบไร้สายหรือการใช้คล่ืนความถ่ีวิทยุ แนะนำความรู้

เบ้ืองต้นเก่ียวกับสัญญาณและระบบ สเปคตรัมความถ่ีของสัญญาณและการประยุกต์ใช้อนุกรมและแปลงฟูริเยร์

สัญญาณรบกวน การมอดูเลต ทฤษฎีการสุ่มตัวอย่าง ไนควิสต์และควอนไท แนะนำความรู้เบื้องต้นมาตรฐานการ

สอ่ื สาร ระบบเครือข่ายในอตุ สาหกรรม ระบบสกาดา ระบบเครอื ขา่ ยแบบแลน

EEG302 ปฏบิ ัติการระบบควบคมุ 1(0-3-1)

(Control Systems Laboratory)

วชิ าบงั คบั กอ่ นหรือลงร่วม: EEG306 ระบบควบคุม หรือได้รับความเหน็ ชอบจากคณะเจา้ ของวชิ า

การปฏิบัติการ ระบบควบคุมแบบอะนาล็อกและแบบดิจิตอล ในกระบวนการทางอุตสาหกรรม การ

ควบคุมแบบเรียงลำดับ การจำลองระบบด้วยคอมพิวเตอร์ ออกแบบตัวควบคุมแบบต่างๆ การทดลองการขับเคลื่อน

และควบคมุ เคร่ืองจักรกลไฟฟ้าแบบตา่ งๆโดยเนอ้ื หาสอดคลอ้ งกบั วชิ าระบบควบคมุ

EEG306 ระบบควบคุม 2(2-0-4)

(Control Systems)

วชิ าบงั คบั ก่อน: EEG211 วงจรไฟฟา้ 1 หรอื ได้รบั ความเห็นชอบจากคณะเจา้ ของวชิ า

แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของระบบต่างๆ ฟังก์ชันการถ่ายโอน การแปลงลาปลาซ แบบจำลองใน

โดเมนเวลาและความถี่ การตอบสนองทางพลวัตของสัญญาณและระบบ ระบบลำดับหนึ่งและลำดับสอง ระบบ

ควบคุมแบบวงเปิดและวงปิด การควบคุมแบบป้อนกลับ ชนิดของตัวควบคุมแบบป้อนกลับ แนวคิดและเงื่อนไขของ

เสถยี รภาพของระบบ เส้นทางเดินราก

มคอ.2 25

EEG307 ระบบสมองกลฝังตวั และพแี อลซี 3(2-3-5)

(Embedded System and PLC)

วชิ าบงั คับกอ่ น: EGR205 โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรบั วศิ วกร

หรอื ได้รับความเห็นชอบจากคณะเจา้ ของวิชา

ระบบสมองกลฝังตัว การพัฒนาโปรแกรม และ การต่อเช่ือมโยงในรูปแบบต่าง ๆ อุปกรณ์อินพุต

เอาต์พุต สถาปัตยกรรมของพีแอลซี ข้อจำกัดและข้อดีข้อเสียของพีแอลซี การออกแบบระบบท่ีใช้พีแอลซี มาควบคุม

การทางานในวงการอุตสาหกรรม การออกแบบในงานท่ีมีความซับซ้อน การเช่ือมต่อพีแอลซีผ่านระบบเครือข่าย การ

เชื่อมต่อพีแอลซีกับอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้การควบคุมกระบวนการ การรับสัญญาณจากเซนเซอร์และทรานดิวเซอร์ การ

ควบคมุ ความเรว็ มอเตอร์ การวิเคราะหร์ ะบบควบคุมต่างๆ หลักการพิจารณาความเหมาะสมในการเลือกใชร้ ะบบ

EEG312 ปฏิบตั ิการการวดั ทางไฟฟ้า 1(0-3-1)

(Measurement Systems Laboratory)

วิชาบงั คับกอ่ นหรอื ลงรว่ ม: EEG313 เครอื่ งมอื และการวดั ทางไฟฟ้า

หรือไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะเจ้าของวชิ า

ปฏิบัติการเก่ียวกับเคร่ืองมือวัดทางไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ และการออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์

ซึ่งเกี่ยวข้องกับการวัดแรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าและกำลังไฟฟ้า การวัดค่าอิมพิแดนซ์ที่ความถี่ต่ำและสูง

ทรานส์ดิวเซอร์ การวัดทางแม่เหล็ก เทคนิคทางดิจิตอลในการวัด สญั ญาณรบกวน เทคนิคในการเพิ่มค่าอตั ราส่วนของ

สัญญาณต่อสัญญาณรบกวน

EEG313 เคร่ืองมอื และการวดั ทางไฟฟ้า 2(2-0-4)

(Electrical Instruments and Measurements)

วิชาบังคบั กอ่ น: EEG215 อเิ ล็กทรอนิกส์แบบแอนะล็อกและดิจติ อล

หรือไดร้ บั ความเห็นชอบจากคณะเจา้ ของวชิ า

หน่วยและมาตรฐานของการวัดทางไฟฟ้า การจำแนกประเภทและคุณลักษณะของเคร่ืองมือวัด การ

วิเคราะห์การวัด การวัดแรงดันและกระแสของไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับด้วยวธิ ีการอนาลอกและดจิ ิตอล การ

วัดกำลังไฟฟ้า ตัวประกอบกำลังและพลังงาน การวัดค่าความต้านทาน ความเหนี่ยวนำความจุไฟฟ้า การวัดความถี่

และคาบเวลา สญั ญาณและการรบกวน ทรานส์ดิวเซอร์

EEG341 เครื่องจกั รกลไฟฟ้า 1 3(3-0-6)

(Electrical Machines 1)

วิชาบงั คบั ก่อน: EEG211 วงจรไฟฟ้า 1 หรอื ไดร้ ับความเหน็ ชอบจากคณะเจา้ ของวชิ า

วงจรแม่เหล็ก หลักการเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้าและพลังงานกล ทฤษฎีพลังงานและพลังงานร่วมใน

วงจรแม่เหล็กหม้อแปลงไฟฟ้าหนึ่งเฟสและสามเฟส หลักการทำงานของเครื่องจักรกลไฟฟ้า ชนิดหมุน เคร่ืองจักรกล

ไฟฟ้ากระแสตรง โครงสร้างและหลักการทำงานของเคร่ืองจักรกลไฟฟ้ากระแสสลับ เครื่องจักรกลไฟฟ้าซิงโครนัส

เครอื่ งจักรกลไฟฟ้าเหนย่ี วนำหน่ึงเฟสและสามเฟส การปอ้ งกนั เคร่ืองจกั รกลไฟฟา้

มคอ.2 26

EEG342 ปฏิบัตกิ ารเครือ่ งจกั รกลไฟฟ้า 1(0-3-1)

(Electrical Machines Laboratory)

วชิ าบงั คับก่อน: EEG341 เครื่องจกั รกลไฟฟา้ 1 หรือไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะเจ้าของวิชา

ปฏิบัตกิ ารเก่ียวกับหม้อแปลงไฟฟ้ามอเตอร์กระแสตรง มอเตอร์อินดัคชันและเคร่ืองจกั รกลซงิ โครนัส

การควบคมุ มอเตอร์

EEG351 ระบบไฟฟา้ กำลงั 3(3-0-6)

(Electric Power Systems)

วิชาบงั คับกอ่ น: EEG341 เครอื่ งจกั รกลไฟฟ้า 1 หรอื ไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะเจา้ ของวิชา

โครงสร้างของระบบไฟฟ้ากำลัง การผลิต ส่งจ่าย จำหน่ายและการใช้งานของกำลังไฟฟ้า วงจร

กำลังไฟฟ้ากระแสสลับ ระบบไฟฟ้าสามเฟส ระบบต่อหน่วย คุณลักษณะและแบบจำลองของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า

คุณลักษณะและแบบจำลองของหม้อแปลงกำลัง ตัวแปรและแบบจำลองของสายเคเบ้ิล ตัวแปรและแบบจำลองของ

สายส่งไฟฟ้า

EEG352 ปฏบิ ัตกิ ารแบบจำลองสารสนเทศทางไฟฟา้ ของอาคาร 1(0-3-1)

(Building Information Modeling Laboratory)

วชิ าบังคับก่อนหรือลงรว่ ม: EEG453 การออกแบบระบบไฟฟ้า

หรอื ได้รบั ความเห็นชอบจากคณะเจ้าของวชิ า

การประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการวิเคราะห์ ออกแบบ ประมาณการปริมาณวัสดุ

ประมาณราคา และวางแผนทางการตืดตั้งระบบไฟฟา้ การจำลองสถาณการณ์เพอื่ ช่วยให้การบรหิ ารจัดการโครงการมี

ประสทิ ธิภาพ และฝึกหัดการใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอร์กบั งานอาคารอตุ สาหกรรมทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

EEG361 อนิ เตอรเ์ ฟสและการสื่อสารในอุตสาหกรรม 3(3-0-6)

(Interfacing and Communication in Industrial)

วิชาบังคับกอ่ น: EEG307 ระบบสมองกลฝังตัวและพีแอลซี

หรือได้รบั ความเห็นชอบจากคณะเจ้าของวิชา

การอินเตอร์เฟสระบบคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เซนเซอร์ และอุปกรณ์ส่งกำลัง

(Actuators) หลักการส่ือสารมาตรฐานการส่ือสารข้อมูล (Protocol) เช่น Modbus, RS485/422 ระบบเครือข่าย

การสื่อสารแบบไร้สายและแบบมีการเชื่อมต่อโดยใช้สาย ระบบท่ีทำการอินเตอร์เฟสร่วมกับเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตที่

เชื่อมอุปกรณ์และเคร่ืองมือต่างๆ ในภาคอุตสาหกรรม ระบบป้องกันความปลอดภัยในเครือข่าย เช่น password,

pincode เปน็ ตน้

EEG362 ระบบควบคมุ หุ่นยนตใ์ นอุตสาหกรรม 3(3-0-6)

(Industrial Robot Control System)

วชิ าบงั คบั กอ่ น: EEG 306 ระบบควบคุม หรือได้รบั ความเหน็ ชอบจากคณะเจ้าของวชิ า

พนื้ ฐานการเคล่ือนที่แบบจลศาสตร์และพลศาสตร์ ระบบควบคุมตำแหน่ง ความเร็ว แรงบิด กระแส

ป้อนกลับ ด้วยตัวควบคุม เช่น PID control, Fuzzy Control, Hybrid-control ระบบควบคุมต้นกำลัง (Actuator)

ท่ใี ช้งานในภาคอตุ สาหกรรม

มคอ.2 27

EEG390 การฝึกงานวิศวกรรมไฟฟ้า 3(0-35-0)

(Electrical Engineering Practice)

การฝึกงานทางวิศวกรรม ในสาขาที่สัมพันธ์กับสาขาวิชาท่ีศึกษาภายใต้การดูแลของวิศวกรอาวุโส

นักศกึ ษาตอ้ งทำบันทึกประจำวันและรายงานสรุปการฝึกงาน

EEG393 การเรียนรู้โดยใช้ปญั หาเป็นฐาน 3(3-0-6)

(Problem Based Learning)

วชิ าบังคบั ก่อนหรอื ลงรว่ ม: EEG351 ระบบไฟฟา้ กำลัง หรอื ไดร้ ับความเหน็ ชอบจากคณะเจา้ ของวิชา

การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานในด้านวิศวกรรมไฟฟ้า การศึกษาความเป็นไปได้ การสืบค้นข้อมูล การต้ัง

สมมุตฐิ าน กระบวนการวเิ คราะห์ การสรุปผล และการนำเสนอแนวทางการแกป้ ญั หางานทางดา้ นไฟฟา้ กำลงั การแกไ้ ขปญั หาท่ี

สอดคล้องกับสภาพการณ์จริงทางด้านระบบอาคาร โรงงานอุตสาหกรรมและพลังงาน ส่งเสริมให้เกิดความคิดสร้างสรรค์

ความคดิ เชิงบูรณาการ และการนำความรไู้ ปสกู่ ารปฏิบัติ

EEG394 การพฒั นาโครงงานทางวศิ วกรรมไฟฟา้ 3(0-9-3)

(Project Development in Electrical Engineering)

แนะนำวธิ ีการออกแบบทางวิศวกรรมไฟฟา้ นกั ศึกษาต้งั กลุ่มทำงานเขยี นและเสนอความตอ้ งการและ

ข้อกำหนดรายละเอียดของโครงงานออกแบบสำหรับสร้างในวิชา EEG492 สัมมนาการนิยามความต้องการของ

โครงงาน การพิจารณาหาความสำคัญของความต้องการ เทคนิคการจัดลำดับงาน การประเมินค่าใช้จ่ายโครงงาน

และระยะเวลาทใ่ี ช้ การควบคมุ การดำเนนิ งาน โดยใชเ้ ทคนิคทางคอมพวิ เตอร์ การบริหารโครงงานและประเมนิ ผล

EEG442 อเิ ลก็ ทรอนิกสก์ ำลงั 3(3-0-6)

(Power Electronics)

วชิ าบังคับก่อน: EEG211 วงจรไฟฟ้า 1 หรอื ได้รบั ความเห็นชอบจากคณะเจ้าของวิชา

สัญญาณแรงดันและกำลังไฟฟ้าแบบไซนูซอยด์และนันไซนูซอยด์ การประเมินการแพร่กระจายของ

สญั ญาณฮาร์มอนกิ คณุ ลักษณะของอปุ กรณ์ทางอิเลก็ ทรอนิกส์กำลงั ชนดิ ต่าง ๆ หลักการของคอนเวอรเ์ ตอรแ์ บบตา่ ง ๆ

อาทิ เช่นคอนเวอร์เตอร์แบบไฟฟ้ากระแสสลับ เป็นไฟฟ้ากระแสตรง คอนเวอร์เตอร์แบบไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้า

กระแสตรง คอนเวอรเ์ ตอร์กระแสสลับเป็นกระแสสลับ คอนเวอร์เตอร์กระแสตรงเป็นกระแสสลับ ขดลวดและหม้อ

แปลงความถ่สี งู การขบั เคลื่อนมอเตอรแ์ บบต่าง ๆ ด้วยอเิ ล็กทรอนิกสก์ ำลัง

EEG443 ระบบขับเคลื่อนไฟฟา้ 3(3-0-6)

(Electric Drives)

วชิ าบงั คับก่อน: EEG341 เครอื่ งจกั รกลไฟฟา้ 1 หรอื ไดร้ ับความเหน็ ชอบจากคณะเจา้ ของวิชา

ชิ้นส่วนอุปกรณ์ขับเคล่ือนไฟฟ้า ลักษณะภาระของระบบขับเคล่ือนไฟฟ้า ขอบเขตและข้อจำกัดของ

ระบบขับเคลื่อน วิธีเบรคการทำงานของมอเตอร์ ระบบส่งกำลังและขนาดชุดส่งกำลัง ลักษณะความสัมพันธ์ของ

ความเร็วแรงบิดของมอเตอร์ไฟฟ้า ระบบขับเคล่ือนมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง ระบบขับเคลื่อนมอเตอร์ไฟฟ้า

กระแสสลบั ระบบขบั เคลือ่ นมอเตอรเ์ ซอรโ์ ว การประยกุ ต์การใชง้ านของระบบขับเคลอื่ นในอตุ สาหกรรมอตั โนมตั ิ

มคอ.2 28

EEG448 เทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าและการกักเกบ็ พลังงาน 3(3-0-6)

(Power Generation Technology and Energy Storage)

วชิ าบังคบั กอ่ น: EEG341 เครอื่ งจกั รกลไฟฟา้ 1 หรือได้รับความเห็นชอบจากคณะเจา้ ของวชิ า

แนะนำเทคโนโลยีในการผลิตไฟฟ้า เศรษฐศาสตร์ในการผลิตไฟฟ้าและแผนพัฒนากำลังการผลิต

ไฟฟ้าของประเทศ โรงจักรไฟฟ้าพลังงานไอน้ำ โรงจักรไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ โรงจักรไฟฟ้าแก๊สเทอร์ไบน์และความ

ร้อนร่วม โรงจักรไฟฟ้าพลังงานน้ำ เทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน ศักยภาพในการผลิตไฟฟ้าด้วย

พลังงานหมุนเวียนของประเทศ การกักเกบ็ พลงั งาน

EEG449 การออกแบบระบบควบคุมเคร่ืองจักรกลไฟฟา้ 3(3-0-6)

(Design of Electromechanical Control Systems)

วิชาบังคับกอ่ น: EEG341 เครอื่ งจกั รกลไฟฟา้ 1 หรอื ไดร้ ับความเหน็ ชอบจากคณะเจ้าของวิชา

สมรรถนะการทำงานของเครอื่ งจักรกลซิงโครนัสในสถานะช่ัวครู่ การทำงานเชงิ ประยุกต์ของมอเตอร์

เหน่ียวนำสามเฟสในอุตสาหกรรม มอเตอร์เหนี่ยวนำแบบเฟสเดียว การทำงานของมอเตอร์รีลัคแตนซ์ มอเตอร์ยูนิ

เวอร์ซัล มอเตอร์กระแสตรงแบบแม่เหล็กถาวร มอเตอร์เซอร์โว มอเตอร์เหนี่ยวนำเชิงเส้น สเตปปิงมอเตอร์ การ

ควบคมุ และการป้องกนั มอเตอร์ไฟฟา้ อุตสาหกรรม

EEG450 วศิ วกรรมไฟฟา้ แรงสงู และการปอ้ งกนั 3(3-0-6)

(High Voltage Engineering and Protection)

วิชาบงั คบั กอ่ น: EEG351 ระบบไฟฟา้ กำลงั

หรอื ได้รบั ความเห็นชอบจากคณะเจา้ ของวิชา

การกำเนิดไฟฟา้ แรงสงู และเทคนิคการวดั ไฟฟา้ แรงสงู ความเครียดสนามไฟฟ้าและเทคนิคการฉนวน

กลไกการเกิดเบรกดาวนฉ์ นวน แรงดันเกินจากฟ้าผา่ และการสวติ ชงิ ฟ้าผา่ และการป้องกนั กฎของการใชร้ ีเลย์ป้องกัน

พ้ืนฐานของรีเลย์ป้องกัน โครงสร้างของรีเลย์และคุณสมบัติของรีเลย์ รีเลย์กระแสเกิน และการป้องกันการลัดวงจรลง

ดนิ สำหรับสายส่ง การป้องกันโดยรีเลย์ผลต่าง การป้องกันโดยรีเลย์ไพลอตและรีเลย์ระยะทาง การป้องกันหม้อแปลง

ไฟฟา้ การป้องกนั เครื่องกำเนดิ ไฟฟา้ การปอ้ งกนั บัสโซน การปอ้ งกันมอเตอร์

EEG451 ปฏบิ ัตกิ ารวศิ วกรรมไฟฟา้ (กำลัง) 1(0-3-1)

(Electrical Engineering Laboratory [Power])

วชิ าบงั คบั ก่อนหรือลงรว่ ม: EEG351 ระบบไฟฟา้ กำลัง หรือไดร้ ับความเหน็ ชอบจากคณะเจา้ ของวชิ า

การทดลองเก่ียวกับระบบไฟฟ้ากำลัง การผลิตไฟฟ้า การส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า โหลดไฟฟ้า การวัดค่า

ทางไฟฟา้ กำลงั การตอ่ ลงดิน โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ในงานวิศวกรรมไฟฟา้ กำลงั

มคอ.2 29

EEG452 การวิเคราะห์ระบบไฟฟา้ กำลงั 3(3-0-6)

(Electric Power Systems Analysis)

วิชาบังคบั ก่อน: EEG351 ระบบไฟฟา้ กำลงั หรือได้รับความเห็นชอบจากคณะเจ้าของวชิ า

การวิเคราะห์เครือข่ายของระบบส่งจ่ายและจำหน่าย การศึกษาเก่ียวกับโหลดโฟลว์และปัญหาการ

ควบคุม การวเิ คราะห์ลัดวงจรแบบสมมาตร องค์ประกอบสมมาตร การวเิ คราะห์ลัดวงจรแบบไม่สมมาตร เสถียรภาพ

ของระบบไฟฟ้ากำลังในสภาวะทรานเช้ียนท์ การทำงานเชิงเศรษฐศาสตร์ของระบบไฟฟ้ากำลัง โครงสร้างกริดอฉั ริยะ

และการดำเนินงาน

EEG453 การออกแบบระบบไฟฟา้ 3(3-0-6)

(Electrical System Design)

วชิ าบงั คบั กอ่ น: EEG341 เครอ่ื งจักรกลไฟฟา้ 1 หรอื ไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะเจา้ ของวชิ า

แนวคิดพ้ืนฐานในการออกแบบระบบไฟฟ้า ผังและรูปแบบของระบบจำหน่ายไฟฟ้า กฎและ

มาตรฐานในการติดต้ังทางไฟฟ้า การเขียนแบบระบบไฟฟ้า สายไฟฟ้า บริภัณฑ์ไฟฟ้า การออกแบบระบบไฟฟ้าแสง

สว่างและบริภัณฑ์ไฟฟ้า การประมาณค่าภาระทางไฟฟ้า การออกแบบการเดินสายและการเช่ือมต่อวงจร การ

ออกแบบวงจรมอเตอร์ ภาระไฟฟ้า สายป้อนและสายประธาน การต่อลงดิน การคำนวณลัดวงจร การจัดลำดับการ

ทำงานของอปุ กรณป์ ้องกัน การปรับปรุงตวั ประกอบกำลงั ระบบกำลงั ไฟฟ้าสำรองและระบบไฟฟา้ ฉุกเฉนิ

EEG459 หัวข้อพเิ ศษทางวิศวกรรมไฟฟา้ (กำลงั ) 3(3-0-6)
(Special Topics in Electrical Engineering [Power])
วชิ าบังคบั กอ่ น: EEG351 ระบบไฟฟ้ากำลัง

หรอื ไดร้ บั ความเห็นชอบจากคณะเจ้าของวิชา
หัวขอ้ ที่ได้รบั ความสนใจหรือเทคโนโลยใี หม่ๆทางดา้ นไฟฟา้ กำลังในปัจจุบัน

EEG466 หวั ขอ้ พิเศษระบบอตั โนมตั แิ ละหุ่นยนต์ 3(3-0-6)

(Special Topic on Autonomous System and Robotics)

หัวข้อพิเศษซ่ึงเป็นหัวข้อท่ีน่าสนใจ ทางด้านเทคโนโลยีหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ ตามความ

เหมาะสมของเทคโนโลยที ใี่ ช้งานในปจั จุบัน

EEG468 ระบบอัตโนมัตแิ ละหุ่นยนตอ์ ุตสาหกรรม 3(2-3-5)

(Automation and Industrial Robot)

วิชาบงั คบั กอ่ น: EEG306 ระบบควบคมุ หรือได้รับความเห็นชอบจากคณะเจา้ ของวิชา

การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการตรวจสอบสถานะการทำงานและการควบคุมหุ่นยนต์
การประมวลผล การรับส่งข้อมูลและแสดงผลข้อมูล การทำงานร่วมกับอุปกรณ์อื่นๆ เชน่ สายพานลำเลียง เคร่ืองจักร

การพัฒนาการทำงานแบบหุ่นยนต์ประสาน แบบกึ่งอัตโนมัติและแบบอัตโนมัติ ในกระบวนการผลิตของ
ภาคอุตสาหกรรม

มคอ.2 30

EEG469 ปฏบิ ตั กิ ารอเิ ลก็ ทรอนิกสก์ ำลงั สำหรบั อุตสาหกรรม 1(0-3-1)

(Industrial Power Electronic Laboratory)

วิชาบังคับก่อนหรือลงรว่ ม: EEG442 อเิ ลก็ ทรอนกิ สก์ ำลัง

หรอื ไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะเจา้ ของวชิ า

ปฏิบัติการท่ีเก่ียวข้องกับทางด้านอิเล็กทรอนิกส์กำลังสำหรับอุตสาหกรรมและการขับเคลื่อน

เครอื่ งจักรกลไฟฟ้าโดยใช้อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์กำลงั แหล่งจา่ ยไฟฟา้ สวติ ช่งิ ใรระบบอตุ สาหกรรม

EEG482 เทคโนโลยีตวั ตรวจรู้และตัวแปลง 3(3-0-6)

(Sensors and Transducers Technology)

วชิ าบังคบั กอ่ น: EEG313 เครอื่ งมือและการวัดทางไฟฟา้

หรอื ไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะเจ้าของวิชา

แนะนำเครื่องมือวัดและอุปกรณ์ควบคุม แบบอนาล็อคและดิจิตอลทรานดิวเซอร์ เทคนิคการ

ตรวจวัดแรงดันอัตราความเปลี่ยนแปลงของแรงดันในการส่ง การตรวจวัดอัตราการไหลของเหลวรวมถึงด้วยมาตรวัด

ขั้นพ้ืนฐาน มาตรวัดอื่นๆและวิธีการแบบเฉพาะทาง การตรวจวัดอุณหภูมิรวมถึงวิธีการตรวจวัดด้วยไฟฟ้า ไม่พ่ึงพา

ไฟฟ้าและวิธีการถ่ายโอนการตรวจวัดระดับของเหลวในรูปแบบต่างๆ การตรวจวัดระดับของเหลวทางตรงและ

ทางอ้อม รวมถึงวิธีการ Hydrostatic pressure วิธีการทางไฟฟ้าและวิธีการแบบเฉพาะทาง พร้อมการใช้งานตัว

ควบคุมพ้ืนฐาน

EEG492 โครงงานวศิ วกรรมไฟฟา้ 3(0-9-3)

(Electrical Engineering Project)

วชิ าบังคับก่อน: EEG394 การพัฒนาโครงงานทางวศิ วกรรมไฟฟา้

หรือไดร้ บั ความเห็นชอบจากคณะเจ้าของวชิ า

กลุ่มทำงานของนักศึกษาทำการออกแบบ สร้างต้นแบบทดสอบทางวิศวกรรมไฟฟ้าและเขียนเอกสาร

ออกแบบสำหรับระบบทไี่ ด้เสนอไวใ้ นวชิ า EEG394 นักศึกษาทุกคนจะตอ้ งเสนอผลงานของตนเองทง้ั ในรปู ของรายงาน

และปากเปลา่ ตามช่วงเวลาตา่ งๆ ที่กำหนดใหต้ ลอดการศึกษา

EEG498 เตรียมสหกจิ ศกึ ษาวิศวกรรมไฟฟ้า 3(1-4-4)

(Electrical Engineering Pre-Cooperative Education)

วชิ าบังคับกอ่ น: เปน็ นกั ศึกษาปีสดุ ทา้ ย

หรอื ไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะเจา้ ของวิชา

หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับสหกิจศึกษา กระบวนการและขั้นตอนของสหกิจศึกษา ระเบียบ

ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับสหกิจศึกษา ความรู้พื้นฐาน เทคนิคและการเตรียมความพร้อมสำหรับการปฏิบัติงานในสถาน

ประกอบการ วิธกี ารทำโครงงานและรายงานท่ีเก่ียวข้องกับวิชาชีพทางวศิ วกรรมไฟฟ้า เตรียมโครงงาน กำหนดหัวข้อ

ลกั ษณะและรายละเอียดของโครงงานสหกจิ ศกึ ษาทต่ี อ้ งออกปฏบิ ตั ิงานทางวศิ วกรรมไฟฟา้

มคอ.2 31

EEG499 สหกิจศึกษาวศิ วกรรมไฟฟ้า 6(0-40-0)

(Electrical Engineering Cooperative Education)

วชิ าบังคับก่อน: EEG498 เตรยี มสหกจิ ศกึ ษาวศิ วกรรมไฟฟ้า

หรือไดร้ ับความเหน็ ชอบจากคณะเจ้าของวชิ า

การปฏิบัติงานจริงที่เก่ียวข้องกับวิชาชีพทางวิศวกรรมไฟฟ้า ณ สถานประกอบการ การทำโครงงาน

หรือรายงานท่ีเกี่ยวข้องกับวิชาชีพทางวิศวกรรมไฟฟ้า ซึ่งมีประโยชน์ทั้งต่อนักศึกษาและสถานประกอบการ การ

จัดการและการวางแผนวิจารณญาณและการตัดสินใจ การแก้ปัญหา วัฒนธรรมองค์การ การทำงานเป็นทีม มนุษย

สัมพันธ์ บุคลิกภาพและการวางตวั ทักษะการสอื่ สาร ความรับผดิ ชอบ คุณธรรมและจริยธรรม

หมายเหตุ : เงอ่ื นไขรายวิชาบังคับกอ่ น อาจพจิ ารณายกเวน้ ไดต้ ามความเหมาะสม ขน้ึ อยู่กบั การพจิ ารณาของคณะ
กรรมการบรหิ ารคณะ

มคอ.2 32

3.2 ชอ่ื สกลุ เลขประจำตัวบัตรประชาชน ตำแหน่งและคุณวุฒขิ องอาจารย์

3.2.1 อาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบหลักสูตร

ลำดบั ชือ่ -สกลุ / คณุ วฒุ ิการศกึ ษา (สาขาวิชา)/ สถาบนั ท่สี ำเรจ็ การศึกษา ภาระการสอน (ชม./สัปดาห)์ (ต่อปี
เลขประจำตัวบัตร ปที ี่สำเร็จ การศึกษา)

ประชาชน 2565 2566 2567 2568
18 18 18 18
1 ผศ.ปรากฤต วศ.ม.(วศิ วกรรมไฟฟา้ ), 2542 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอม
24 24 24 24
เหล่ียงประดิษฐ์ เกล้าเจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั
24 24 24 24
3-1201-0155X-XX-X วศ.บ.(วศิ วกรรมไฟฟา้ ), 2536 มหาวทิ ยาลัยศรีปทุม
24 24 24 24
2 ผศ.พศวีร์ ศรีโหมด วศ.ม.(วศิ วกรรมไฟฟา้ ), 2542 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอม
24 24 24 24
3-1002-0057X-XX-X เกลา้ เจ้าคณุ ทหารลาดกระบงั

วศ.บ.(วศิ วกรรมไฟฟ้า), 2538 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอม

เกล้าเจา้ คณุ ทหาร ลาดกระบงั

3 ผศ.ดร.วิชชากร เฮงศรธี วชั วศ.ด.(วิศวกรรมไฟฟา้ ), 2554 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3-1012-0227X-XX-X วศ.ม.(วศิ วกรรมไฟฟา้ ), 2541 จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั

วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า), 2538 มหาวิทยาลยั หอการคา้ ไทย

4 ผศ.ดร.วนายุทธ์ แสนเงิน Ph.D.(Intelligent Interaction University of Tsukuba,

3-5201-0003X-XX-X Technologies), 2014 Japan

M.Eng.(Mechatronics), 2006 Asian Institute of

Technology, Thailand

วศ.บ.(วศิ วกรรมไฟฟา้ ), 2543 มหาวิทยาลยั ศรีปทุม

5 ผศ.เอกชัย ดีศิริ M.Eng. (Microelectronics), Asian Institute of

3-1002-0225X-XX-X 2005 Technology, Thailand

วศ.บ.(วศิ วกรรมไฟฟา้ ), 2542 มหาวทิ ยาลยั ศรีปทมุ

3.2.2 อาจารยป์ ระจำหลักสูตร

ลำดบั ชอ่ื -สกลุ / คุณวุฒิการศกึ ษา (สาขาวิชา)/ สถาบันทีส่ ำเรจ็ การศึกษา ภาระการสอน (ชม./สปั ดาห)์ (ต่อปี
เลขประจำตัวบัตร ปีท่ีสำเร็จ การศกึ ษา)

ประชาชน 2565 2566 2567 2568
18 18 18 18
1 ผศ.ปรากฤต วศ.ม.(วศิ วกรรมไฟฟา้ ), 2542 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอม
24 24 24 24
เหลย่ี งประดิษฐ์ เกล้าเจ้าคณุ ทหารลาดกระบงั
24 24 24 24
3-1201-0155X-XX-X วศ.บ.(วศิ วกรรมไฟฟา้ ), 2536 มหาวทิ ยาลัยศรีปทุม

2 ผศ.พศวีร์ ศรีโหมด วศ.ม.(วศิ วกรรมไฟฟา้ ), 2542 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอม

3-1002-0057X-XX-X เกลา้ เจ้าคณุ ทหารลาดกระบงั

วศ.บ.(วศิ วกรรมไฟฟา้ ), 2538 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอม

เกล้าเจา้ คณุ ทหาร ลาดกระบงั

3 ผศ.ดร.วชิ ชากร เฮงศรีธวชั วศ.ด.(วศิ วกรรมไฟฟ้า), 2554 จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย

3-1012-0227X-XX-X วศ.ม.(วศิ วกรรมไฟฟ้า), 2541 จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย

วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟา้ ), 2538 มหาวทิ ยาลัยหอการคา้ ไทย

มคอ.2 33

ลำดบั ชอื่ -สกลุ / คณุ วฒุ ิการศกึ ษา (สาขาวชิ า)/ สถาบนั ท่ีสำเรจ็ การศกึ ษา ภาระการสอน (ชม./สัปดาห)์ (ต่อปี
เลขประจำตัวบัตร ปที ่ีสำเร็จ การศึกษา)

ประชาชน 2565 2566 2567 2568
24 24 24 24
4 ผศ.ดร.วนายุทธ์ แสนเงนิ Ph.D.(Intelligent Interaction University of Tsukuba,
24 24 24 24
3-5201-0003X-XX-X Technologies), 2014 Japan 18 18 18 18

M.Eng.(Mechatronics), 2006 Asian Institute of 24 24 24 24
21 21 21 21
Technology, Thailand 18 18 18 18
24 24 24 24
วศ.บ.(วศิ วกรรมไฟฟา้ ), 2543 มหาวิทยาลัยศรีปทุม
24 24 24 24
5 ผศ.เอกชัย ดีศิริ M.Eng. (Microelectronics), Asian Institute of 24 24 24 24

3-1002-0225X-XX-X 2005 Technology, Thailand

วศ.บ.(วศิ วกรรมไฟฟ้า), 2542 มหาวิทยาลัยศรีปทมุ

6 ผศ.ดร.ภรชัย จูอนวุ ัฒนกลุ Ph.D. (Electrical and Curtin University,

3-1017-0051X-XX-X Computer Engineering), Australia,

2555

วศ.ม.(วศิ วกรรมไฟฟา้ ), 2541 มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์

วศ.บ.(วศิ วกรรมไฟฟา้ ), 2535 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

7 ผศ.ดร.สำเริง ฮนิ ท่าไม้ วศ.ด.(วิศวกรรมไฟฟ้า), 2548 มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์

3-1201-0020X-XX-X วศ.ม.(วิศวกรรมไฟฟา้ ), 2541 มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์

วศ.บ.(วศิ วกรรมไฟฟ้า), 2536 มหาวิทยาลัยศรีปทมุ

8 ผศ.กษิเดช ทพิ ย์อมรววิ ัฒน์ วศ.ม.(วิศวกรรมไฟฟ้า), 2549 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอม

3-8699-0005X-XX-X เกลา้ เจา้ คณุ ทหารลาดกระบัง

วศ.บ.(วศิ วกรรมไฟฟา้ ), 2537 มหาวิทยาลัยศรีปทุม

9 ผศ.ธนภัทร พรหมวฒั นภกั ดี วศ.ม. (วิศวกรรมพลังงาน), 2546 มหาวิทยาลยั เชียงใหม่

3-6402-0002X-XX-X วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ้า), 2541 มหาวิทยาลยั ศรีปทุม

10 ผศ.วชิ ติ เครือสุข M.Eng. (Electric Power Asian Institute of

3-9505-0006X-XX-X System Management), Technology, Thailand

2007

วศ.บ. (วศิ วกรรมไฟฟา้ ), 2543 มหาวิทยาลัยศรีปทมุ

11 ผศ.เตมิ พงษ์ ศรีเทศ บธ.ม., 2552 มหาวิทยาลยั ศรีปทมุ

3-6799-0018X-XX-X วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟา้ ), 2540 มหาวิทยาลยั ศรีปทมุ

12 อาจารยเ์ สมา พฒั นฉ์ ิม คอ.ม. (วศิ วกรรมแมคคาทรอ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยจี อม

3-9505-0006X-XX-X นิกส์), 2560 เกล้าพระนครเหนือ

วศ.บ.(วิศวกรรมคอมพวิ เตอร์) , มหาวทิ ยาลยั ศรีปทมุ

2546

มคอ.2 34

4. องคป์ ระกอบเกี่ยวกับประสบการณภ์ าคสนาม (การฝึกงาน หรอื สหกิจศึกษา)
จากผลการประเมินความพึงพอใจจากผู้ใช้บัณฑิต มีความต้องการให้บัณฑิตมีประสบการณ์ในวิชาชีพก่อนเข้าสู่การ

ทำงานจริง ดังน้ันในหลักสูตรจึงมีรายวิชาประสบการณ์ภาคสนาม เพอื่ ฝึกให้นักศึกษารู้จักการประยุกตใ์ ช้ความรู้ที่เรียนมา
มาใชก้ ับสภาพการทำงานจริง และเพ่ือเป็นการเตรียมความพร้อมในทกุ ๆด้าน ก่อนออกไปทำงานจริง

4.1. ผลการเรียนรู้ของประสบการณภ์ าคสนาม
ความคาดหวังในผลการเรียนรปู้ ระสบการณ์ภาคสนามของนกั ศึกษา มีดงั นี้
(1) ทักษะในการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ ตลอดจนมีความเข้าใจในหลักการ ความจำเป็นในการ

เรยี นรู้ทฤษฎมี ากยงิ่ ข้ึน
(2) บูรณาการความรทู้ ่ีเรยี นมาเพอื่ นำไปแกป้ ญั หาทางระบบวศิ วกรรมไฟฟ้าได้
(3) มมี นษุ ยสัมพนั ธแ์ ละสามารถทำงานร่วมกับผู้อน่ื ได้ดี
(4) มีระเบียบวินัย ตรงเวลา และเข้าใจวัฒนธรรมขององค์กร ตลอดจนสามารถปรับตัวให้เข้ากับสถาน

ประกอบการได้
(5) มีความกล้าในการแสดงออก และนำความคดิ สรา้ งสรรค์ไปใชป้ ระโยชนใ์ นงานได้

4.2 ชว่ งเวลา
ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ของนกั ศกึ ษาชัน้ ปที ี่ 4 หรือช่วงเวลาตามลำดบั การเรยี นรู้ทเี่ หมาะสม

4.3 การจดั เวลาและตารางสอน

ภาคการศึกษาที่ 2 ของนักศกึ ษาช้นั ปีที่ 4 หรือช่วงเวลาตามลำดบั การเรยี นรูท้ ่ีเหมาะสม

5. ขอ้ กำหนดเกยี่ วกบั การทำโครงงานหรืองานวจิ ัย
ข้อกำหนดในการทำโครงงาน ตอ้ งเป็นหัวข้อที่เกยี่ วข้องกับการประยุกตใ์ ช้ความรู้ทางด้านวศิ วกรรมไฟฟา้ มา

ประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีจำนวนผู้ร่วมโครงงานประมาณ
2-4 คน และ มีรายงานท่ีตอ้ งนำสง่ ตามรูปแบบและระยะเวลาทีห่ ลักสูตรกำหนด

5.1 คำอธิบายโดยยอ่
หัวข้อวิชาโครงงาน จะเป็นหัวข้อที่นักศึกษาสนใจ สามารถศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมได้ สามารถแก้ไขปัญหา

สามารถคิดวิเคราะห์ ออกแบบและพัฒนาได้ โดยสามารถนำทฤษฎีมาประยุกต์ใช้ในการทำโครงงานได้ มีขอบเขต
โครงงานท่ีสามารถทำเสร็จภายในระยะเวลาท่กี ำหนด รว่ มกบั สหกจิ ศึกษา

5.2 ผลการเรยี นรู้
นักศึกษาสามารถทำงานเดียวหรือเป็นกลุ่ม สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อ่ืนได้ มีความสามารถในการ

สื่อสารด้วยภาษาเขียนและภาษาพูด มีความเช่ียวชาญในการใช้เครื่องมือ มีการประยุกต์ใช้ทฤษฏีในการทำโครงงาน
โครงงานสามารถเปน็ ต้นแบบในการพฒั นาตอ่ ได้

5.3 ช่วงเวลา
ภาคการศกึ ษาที่ 1-2 ของชน้ั ปที ี่ 4 หรอื ชว่ งเวลาตามลำดับการเรียนร้ทู เี่ หมาะสม

5.4 จำนวนหนว่ ยกติ
6 หน่วยกิต

5.5 การเตรยี มการ
มีการอบรมให้ความรู้ในการจัดทำโครงงานตั้งแต่การเขียนโครงร่างงานวิจัย (Proposal) โดยมีวิทยากร

ผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกมาให้ความรู้และถ่ายทอดประสบการณ์ มีการกำหนดช่ัวโมงการให้คำปรึกษา มีการให้
คำปรึกษา ให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโครงงานทางเว็บไซต์ และปรับปรุงให้ทันสมัยเสมอมีกระบวนการให้นักศึกษา
รายงานความก้าวหนา้ ปัญหาอปุ สรรคอยา่ งต่อเนื่องตลอดภาคการศึกษา อกี ทงั้ มีตวั อยา่ งโครงงานใหศ้ ึกษา

มคอ.2 35

5.6 กระบวนการประเมนิ ผล
ประเมนิ ผลจากรายงานความก้าวหนา้ ในการทำโครงงาน มีหนังสอื โครงงานท่ีตรวจสอบโดยอาจารย์ท่ีปรึกษา

มีการประเมินผลจากผลสำเร็จของโครงงาน โดยโครงงานดังกล่าวต้องสามารถทำงานได้ในเบื้องต้น และการจัดสอบ
การนำเสนอต่อกรรมการสอบ ซ่งึ ประกอบดว้ ยอาจารย์และผทู้ รงคณุ วุฒิรวมไม่ต่ำกว่า 3 คน

มคอ.2 36

หมวดท่ี 4 ผลการเรยี นรูแ้ ละกลยทุ ธก์ ารสอนและการประเมนิ ผล
1. การพัฒนาคณุ ลกั ษณะพเิ ศษของนกั ศึกษา

คณุ ลักษณะพเิ ศษ กลยทุ ธ์หรอื กิจกรรมของนักศึกษา

1. มีคุณธรรมจริยธรรมถ่อมตนและทำหน้าท่ีเป็น ส่งเสริมและสอดแทรกให้นักศึกษามีจรรยาบรรณในวิชาชีพ

พลเมืองดีรับผิดชอบต่อตนเองวิชาชีพและสังคม เคารพในสิทธทิ างปญั ญาและข้อมลู ส่วนบุคคล การใช้เทคโนโลยี

ปฏิบัติตนภายใต้จรรยาบรรณวิชาชีพด้วยความ ในการพัฒนาสังคมท่ีถูกต้อง นอกจากนี้อาจมีการจัดค่ายพัฒนา

ซอ่ื สัตยส์ ุจรติ และเสียสละ ชุมชน เพื่อให้นักศึกษามีโอกาสประยุกต์หรือเผยแพร่ความรู้ท่ี

ไดศ้ ึกษามา

2. มีความรู้ในศาสตร์ที่เกี่ยวข้องท้ังภาคทฤษฎีและ รายวิชาบังคับของหลักสูตรต้องปูพื้นฐานของศาสตร์และสร้าง

ปฏิบัติ สามารถประยุกต์ใช้ศาสตร์ดังกล่าวอย่าง ความเชื่อมโยงระหว่างภาคทฤษฎีและปฏิบัติ มีปฏิบัติ การ

เหมาะสม เพื่อการประกอบวิชาชีพของตนและ แบบฝึกหัด โครงงาน และกรณีศึกษาให้นักศึกษาเข้าใจการ

การศึกษาตอ่ ในระดบั สงู ขึน้ ไปได้ ประยกุ ต์องคค์ วามรกู้ ับปัญหาจริง

3. มีความรู้ทันสมัยใฝ่รู้และมีความสามารถพัฒนา รายวชิ าเลือกท่ีเปิดสอนตอ้ งต่อยอดความรู้พ้ืนฐานในภาคบงั คับ
ความรู้เพอ่ื พฒั นาตนเอง พัฒนางาน และพฒั นาสังคม และปรับตามวิวัฒนาการของศาสตร์ มีโจทย์ปัญหาท่ีท้าทายให้

นกั ศีกษาคน้ ควา้ หาความรูใ้ นการพัฒนาศักยภาพ

4. คิดเป็นทำเป็นและเลือกวิธีการแก้ปัญหาได้อย่าง ทุกรายวิชาต้องมีโจทย์ปัญหา แบบฝึกหัด หรือโครงงาน ให้

เปน็ ระบบและเหมาะสม นกั ศกึ ษาไดฝ้ ึกคิด ฝกึ ปฏิบัติ ฝึกแกป้ ัญหา แทนการท่องจำ

5. มีความสามารถทำงานร่วมกับผู้อ่ืนมีทักษะการ โจทย์ปัญหาและโครงงานของรายวิชาต่าง ๆ ควรจัดแบบ

บรหิ ารจัดการและทำงานเป็นหมู่คณะ คณะทำงาน แทนท่ีจะเป็นแบบงานเด่ียว เพ่ือส่งเสริมให้

นักศึกษาไดฝ้ กึ ฝนการทำงานเปน็ หมู่คณะ

6. รู้จักแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและสามารถ ต้องมีการมอบหมายงานให้นักศึกษาได้สืบค้นข้อมูล รวบรวม

ตดิ ตอ่ สอื่ สารกบั ผู้อนื่ ได้เปน็ อยา่ งดี ความรู้ที่นอกเหนือจากได้นำเสนอในช้ันเรียน และเผยแพร่

ความรทู้ ่ีได้ระหว่างนักศกึ ษาดว้ ยกัน หรือให้กบั ผสู้ นใจภายนอก

7. มีความสามารถในการใช้ภาษาไทยและภาษา มีระบบเพื่อสื่อสารแลกเปล่ียนความคิดเห็นในหมู่นักศึกษาหรือ
ตา่ งประเทศในการสือ่ สารและใช้เทคโนโลยีได้ดี บุคคลภายนอกที่ส่งเสริมให้เกิดการแสวงหาความรู้ที่ทันสมัย

การเผยแพร่ การถามตอบ และการแลกเปลย่ี นความรู้

8. มีความสามารถวิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนา ติดต้ัง ต้องมีวิชาท่ีบูรณาการองค์ความรู้ท่ีได้ศึกษามา (เช่น วิชา

และปรับปรุงระบบทางวิศวกรรมไฟฟ้าให้ตรงตาม โครงงานวิศวกรรม) ในการวิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนา ติดตั้ง

ขอ้ กำหนด และปรับปรุงระบบไฟฟา้ ตามขอ้ กำหนดของโจทยป์ ัญหาท่ีไดร้ บั

[[

มคอ.2 37

2. การพฒั นาผลการเรียนรใู้ นแตล่ ะด้าน
2.1 การพัฒนาผลการเรียนรหู้ มวดศึกษาทั่วไป
2.1.1 ดา้ นคุณธรรม
(1) มีคารวะธรรม ซอ่ื สัตยส์ ุจริต และกตญั ญู
(2) มีวินัย มีความรับผิดชอบ มีความตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับของ

องค์กรและสงั คม
(3) มีจติ สาธารณะ รับผิดชอบตอ่ ตนเอง สังคม และสง่ิ แวดลอ้ ม
(4) มีความใฝ่รแู้ ละใฝ่เรยี น
(5) เคารพและชน่ื ชมงานศิลปวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ และสากล

2.1.2 ด้านความรู้
(1) มคี วามรอบรู้ อย่างกวา้ งขวาง ตดิ ตามความกา้ วหน้า ก้าวทันการเปลย่ี นแปลง
(2) มีความสามารถในการเชื่อมโยงและบรู ณาการศาสตร์ไปใชใ้ นการดำเนนิ ชีวิต
(3) ตระหนกั ถงึ งานวิจัยในปจั จบุ ันทเ่ี กยี่ วข้องกบั ชีวิตและสังคม
(4) มีความรู้และสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพ่ือการพัฒนา

อยา่ งยังยืน
2.1.3 ด้านทักษะทางปัญญา
(1) สามารถในการคิดวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ และประเมนิ ผลอย่างเป็นระบบ
(2) สามารถค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ ประเมินขอ้ มูลจากหลกั ฐานได้ และนำขอ้ สรปุ มาใช้
(3) สามารถศึกษาวิเคราะหป์ ัญหาทซ่ี บั ซอ้ นและเสนอแนวทางแก้ไขที่สรา้ งสรรค์
2.1.4 ด้านทักษะความสัมพันธร์ ะหวา่ งบุคคลและความรับผิดชอบ
(1) สามารถปรับตวั ทำงานรว่ มกบั ผู้อ่นื ทั้งในฐานะผนู้ ำและสมาชิกกลมุ่
(2) สามารถวางแผนและรับผดิ ชอบในการเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองอย่างต่อเนอ่ื ง
(3) เป็นแบบอยา่ งทด่ี ีต่อผ้อู นื่ มีภาวะผูน้ ำและผูต้ ามที่ดี
(4) เคารพในคณุ ค่าและศักด์ิศรีของความเปน็ มนุษย์
(5) สามารถนำทกั ษะด้านพลานามัยและสุขศึกษามาใชใ้ นการดำเนนิ ชวี ิตไดอ้ ย่างสมบรู ณ์
2.1.5 ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตวั เลข การส่อื สาร และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ
(1) มีความรู้พ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการประมวล การแปลความหมาย การ

วเิ คราะห์สถานการณ์ และการแนะนำประเดน็ การแกไ้ ขปัญหาทเี่ กีย่ วข้องอยา่ งถกู ตอ้ งและสร้างสรรค์
(2) สามารถสรุปประเด็น และสื่อสาร ท้ังการพูดและการเขียน และเลือกใช้รูปแบบการ

นำเสนอไดเ้ หมาะสมทง้ั ภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศ
(3) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อส่ือสาร การเก็บรวบรวมข้อมูล การ

วเิ คราะห์ และสงั เคราะหข์ อ้ มูลได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

2.2 การพฒั นาผลการเรยี นรูต้ ามหลักสตู ร
2.2.1 ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม
2.2.1.1 ผลการเรยี นรดู้ ้านคณุ ธรรม จริยธรรม
นักศึกษาต้องมีคุณธรรมจริยธรรมมีวินัย เคารพกฎเกณฑ์ของสังคม สามารถทำหน้าท่ีในฐานะผู้นำ

หรอื ผู้ตามทีด่ ไี ด้ เพอ่ื ใหส้ ามารถดำเนินชีวติ ร่วมกบั ผู้อน่ื ในสังคมอยา่ งราบรน่ื และเป็นประโยชนต์ อ่ สว่ นรวมนอกจากน้ัน
อุตสาหกรรมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นภาคการผลิตหรือบริการ มีความสำคัญต่อความม่ันคงและการพัฒนาประเทศ การ
ออกแบบหรืออำนวยการใช้ระบบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องจำเป็นมีความรับผิดชอบต่อผลที่เกิดข้ึนเช่นเดียวกับการประกอบ

มคอ.2 38

อาชีพในสาขาอ่ืนๆอาจารย์ท่ีสอนในแต่ละวิชาต้องพยายามสอดแทรกเรื่องที่เก่ียวกับส่ิงต่อไปน้ี ทั้ง 5 ข้อเพ่ือให้
นักศึกษาสามารถพัฒนาคณุ ธรรมและจริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการต่างๆท่ีศกึ ษารวมทั้งอาจารยต์ ้องมีคุณสมบัติด้าน
คุณธรรมและจริยธรรม 5 ข้อตามที่ระบุไว้

(1) เข้าใจและซาบซ้ึงในวัฒนธรรมไทยตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรมจริยธรรมเสียสละและ
ซอื่ สัตยส์ จุ รติ

(2) มีวินัยตรงต่อเวลารับผิดชอบต่อตนเองและสังคมเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆของ
องคก์ รและสังคม

(3) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นหมู่คณะสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับ
ความสำคัญเคารพสทิ ธแิ ละรับฟังความคิดเหน็ ของผอู้ น่ื รวมทงั้ เคารพในคุณคา่ และศกั ด์ิศรขี องความเป็นมนุษย์

(4) สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคลองค์กรสังคม
และสิ่งแวดลอ้ ม

(5) มจี รรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชพี และมีความรับผดิ ชอบในฐานะผปู้ ระกอบวชิ าชพี
รวมถึงเขา้ ใจถงึ บริบททางสงั คมของวชิ าชพี วศิ วกรรมในแต่ละสาขาตงั้ แต่อดตี จนถึงปจั จบุ นั

2.2.1.2 กลยทุ ธ์การสอนทใี่ ช้พฒั นาการเรยี นรดู้ ้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าช้ันเรียนให้
ตรงเวลาตลอดจนการแตง่ กายที่เปน็ ไปตามระเบียบของมหาวิทยาลยั นกั ศึกษาต้องมีความรบั ผิดชอบโดยในการทำงาน
กลุ่มน้ันต้องฝึกให้รู้หน้าท่ีของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตใน
การสอบหรือลอกการบ้านของผู้อ่ืน เป็นตน้ นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมใน
การสอนทุกรายวชิ า รวมท้ังมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมเชน่ การยกย่องนักศึกษาท่ีทำดี ทำประโยชน์
แกส่ ว่ นรวม เสียสละ
2.2.1.3.1 กลยทุ ธ์การประเมินผลการเรยี นรู้ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม

(1) ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียนการส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่
มอบหมาย และการร่วมกิจกรรม

(2) ประเมินจากการมวี นิ ัยและพร้อมเพรยี งของนักศึกษาในการเขา้ รว่ มกิจกรรมเสรมิ หลักสตู ร
(3) ปรมิ าณการกระทำทุจรติ ในการสอบ
(4) ประเมนิ จากความรบั ผิดชอบในหนา้ ทที่ ี่ได้รบั มอบหมาย

2.2.2 ดา้ นความรู้
2.2.2.1 ผลการเรียนรูด้ า้ นความรู้
นักศึกษาต้องมีความรู้เกี่ยวความเข้าใจกับวิชาที่ศึกษาในสาขาวิศวกรรมไฟฟ้าทั้งในด้านวิศวกรรม

บริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์รวมท้ังสามารถบูรณาการความรู้ และประยุกต์ใช้เครื่องมือท่ีเหมาะสมในการแก้ไข
ปัญหา และนำไปปฏิบตั ิจรงิ ได้ ดงั นนั้ มาตรฐานความรูต้ อ้ งครอบคลุมส่ิงตอ่ ไปน้ี

(1) มคี วามรแู้ ละความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พน้ื ฐานวิทยาศาสตรพ์ ืน้ ฐานวิศวกรรมพนื้ ฐานและ
เศรษฐศาสตร์เพอื่ การประยุกต์ใชก้ ับงานทางด้านวิศวกรรมไฟฟา้ และการสร้างนวตั กรรมทางเทคโนโลยี

(2) มคี วามรูแ้ ละความเขา้ ใจเกย่ี วกบั หลกั การทส่ี ำคญั ทง้ั ในเชงิ ทฤษฎแี ละปฏบิ ตั ิในเนอ้ื หาของ
สาขาวิชาเฉพาะดา้ นทางวิศวกรรมไฟฟ้า

(3) สามารถบูรณาการความรใู้ นสาขาวิชาทศี่ ึกษากบั ความรูใ้ นศาสตรอ์ นื่ ๆที่เกี่ยวขอ้ ง
(4) สามารถวเิ คราะห์และแก้ไขปญั หาดว้ ยวิธกี ารทเี่ หมาะสมรวมถึงการประยกุ ตใ์ ชเ้ ครอ่ื งมือที่
เหมาะสมเช่นโปรแกรมคอมพวิ เตอรเ์ ปน็ ต้น
(5) สามารถใชค้ วามรแู้ ละทกั ษะในสาขาวิชาของตนในการประยกุ ตแ์ ก้ไขปญั หาในงานจรงิ ได้

มคอ.2 39

2.2.2.2 กลยทุ ธ์การสอนทใ่ี ช้พัฒนาการเรยี นรู้ดา้ นความรู้
ใช้การสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ใช้ทางปฏิบัติใน

สภาพแวดล้อมจริง เช่น กรณีศึกษาโรงงานอุตสาหกรรม หรือหน่วยงานที่เก่ียวข้อง โดยทันต่อการเปล่ียนแปลงทาง
เทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ นอกจากน้ีควรจัดให้มีการ
เรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เช่ียวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะ
เร่อื งตลอดจนฝึกปฏบิ ัติงานในสถานประกอบการ เชน่ สหกิจศึกษา หรอื ฝกึ งาน เป็นตน้

2.2.2.3 กลยทุ ธก์ ารประเมนิ ผลการเรียนรดู้ า้ นความรู้
ประเมินจากผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนและการปฏบิ ัติของนักศกึ ษา ในดา้ นต่างๆ คือ
(1) การสอบยอ่ ย
(2) การทดสอบย่อย
(3) การสอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรยี น
(4) ประเมินจากรายงานที่นกั ศึกษาจดั ทำ
(5) ประเมนิ จากโครงงานวศิ วกรรม
(6) ประเมนิ จากการเสนอรายงานในชั้นเรียน
(7) ประเมนิ จากวิชาสหกิจศึกษา หรอื ฝึกงาน

2.2.3 ด้านทักษะทางปญั ญา
2.2.3.1 ผลการเรยี นรูด้ ้านทกั ษะทางปัญญา
นักศึกษาต้องสามารถคิดอย่างมีระบบ มีตรรกะท่ีเหมาะสม เพ่ือที่จะสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่าง

ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งปรับความรู้ที่มีอยู่ใช้กับสถานการณ์ต่างๆ ที่ประสบได้ และมีความสามารถในการ
เรียนรูอ้ ย่างตอ่ เนอื่ งเพอ่ื ให้ทำงานไดเ้ ขา้ กับสภาพในปัจจบุ ันและอนาคตได้

(1) มคี วามคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณท่ีดี
(2) สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์และสรปุ ประเดน็ ปัญหาและความตอ้ งการ
(3) สามารถคิดวเิ คราะหแ์ ละแกไ้ ขปัญหาด้านวศิ วกรรมได้อยา่ งมีระบบรวมถงึ การใชข้ อ้ มูล
ประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ
(4) มีจนิ ตนาการและความยดื หยนุ่ ในการปรับใช้องค์ความรทู้ เ่ี กยี่ วข้องอยา่ งเหมาะสมในการ
พฒั นานวัตกรรมหรอื ตอ่ ยอดองค์ความรจู้ ากเดมิ ได้อย่างสรา้ งสรรค์
(5) สามารถสืบคน้ ข้อมูลและแสวงหาความรเู้ พิ่มเตมิ ได้ด้วยตนเองเพื่อการเรียนรตู้ ลอดชวี ิตและทัน
ต่อการเปลี่ยนแปลงทางองคค์ วามรู้และเทคโนโลยีใหมๆ่
2.2.3.2 กลยุทธก์ ารสอนที่ใชใ้ นการพฒั นาการเรียนรูด้ า้ นทักษะทางปญั ญา
(1) กรณศี กึ ษาทางการประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ดา้ นวศิ วกรรมไฟฟ้า
(2) การอภปิ รายกลุ่ม
(3) ใหน้ ักศึกษามโี อกาสปฏบิ ัติจริง
2.2.3.3 กลยทุ ธ์การประเมินผลการเรยี นรูด้ า้ นทกั ษะทางปญั ญา
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา น้ีสามารถทำได้โดยการออกข้อสอบท่ีให้
นกั ศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดของการแก้ปัญหา และวิธกี ารแกป้ ัญหาโดยการประยุกตค์ วามรู้ทีเ่ รยี นมา หลีกเลี่ยง
ข้อสอบท่ีเป็นการเลือกคำตอบท่ีถูกมาคำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา ไม่ควรมีคำถามเกี่ยวกับนิยามต่างๆ หรือ
การใช้ความจำ

มคอ.2 40

ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น ประเมินจากการนำเสนอ
รายงานในชน้ั เรียน การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรอื สัมภาษณ์ เปน็ ตน้

2.2.4 ดา้ นทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลและความรบั ผดิ ชอบ
2.2.4.1 ผลการเรียนรู้ดา้ นทักษะความสมั พันธ์ระหว่างตัวบคุ คลและความสามารถในการ
รับผิดชอบ
นักศึกษาต้องออกไปประกอบอาชีพซ่ึงส่วนใหญ่ต้องเกี่ยวข้องกับคนท่ีไม่รู้จักมาก่อน คนที่มาจาก

สถาบันอื่นๆ และคนท่ีจะมาเป็นผู้บังคับบัญชา หรือคนที่จะมาอยู่ใต้บังคับบัญชา หรือคนที่ใช้ภาษาหรือการสื่อสารท่ี
แตกต่างกันออกไป ความสามารถท่ีจะปรับตัวให้เข้ากับกลุ่มคนต่างๆ เป็นเร่ืองจำเป็นอย่างย่ิง ดังนั้นอาจารย์ต้อง
สอดแทรกวิธีการที่เก่ียวข้องกับคุณสมบัติต่างๆ ต่อไปน้ีให้นักศึกษาระหว่างท่ีสอนวิชา หรืออาจให้นักศึกษาไปเรียน
วิชาทางด้านสังคมศาสตร์ท่ีเกีย่ วกับคุณสมบัตติ ่างๆ ดังน้ี

(1) สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนท่ีหลากหลายและสามารถสนทนา ท้ังภาษาไทยและ
ภาษาต่างประเทศได้อยา่ งมีประสิทธิภาพสามารถใช้ความรใู้ นสาขาวชิ าชพี มาสือ่ สารตอ่ สังคมไดใ้ นประเดน็ ทเี่ หมาะสม

(2) สามารถเปน็ ผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ท้ังส่วนตวั และส่วนรวม
พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะท้ังของตนเองและของกลุ่มรวมท้ังให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกใน
การแกไ้ ขปัญหาสถานการณต์ า่ งๆ

(3) สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและสอดคล้องกับทาง
วชิ าชพี อยา่ งต่อเนอ่ื ง

(4) รู้จักบทบาทหน้าท่ีและมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมายท้ังงานบุคคลและงาน
กลุ่มสามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อ่ืนทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถวางตัวได้อย่าง
เหมาะสมกับความรับผิดชอบ

(5) มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงานและการรักษาสภาพแวดล้อมต่อ
สังคม

2.2.4.2 กลยทุ ธ์การสอนทใ่ี ช้ในการพัฒนาการเรยี นร้ดู ้านทกั ษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
และความรบั ผิดชอบ
ใช้การสอนท่ีมีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น

ข้ามหลักสูตร หรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอ่ืน หรือผู้มีประสบการณ์ มีการศึกษาค้นคว้าหรือทำ
รายงานท่ีจำเป็นต้องใช้ภาษาต่างประเทศโดยมีความคาดหวังในผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัว
บคุ คลและความสามารถในการรบั ผดิ ชอบ ดังน้ี

(1) สามารถทำงานกับผ้อู ื่นได้เป็นอย่างดี
(2) มีความรบั ผดิ ชอบต่องานทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย รวมทั้งความปลอดภัยและสง่ิ แวดลอ้ ม
(3) สามารถปรับตวั เข้ากบั สถานการณแ์ ละวัฒนธรรมองคก์ รท่ีไปปฏบิ ตั งิ านไดเ้ ป็นอยา่ งดี
(4) มีมนุษยสัมพนั ธท์ ดี่ กี ับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทัว่ ไป
(5) มีภาวะผนู้ ำ
2.2.4.3 กลยทุ ธก์ ารประเมนิ ผลการเรียนรดู้ ้านทักษะความสัมพนั ธร์ ะหว่างบุคคลและความรับผดิ ชอบ
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน และ
สังเกตจากพฤติกรรมท่ีแสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูลที่ได้
รวมถึงความสามารถในการทำงานหรือใชภ้ าษาตา่ งประเทศ

มคอ.2 41

2.2.5 ดา้ นทกั ษะในการวเิ คราะหเ์ ชิงตัวเลข การส่อื สาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
2.2.5.1 ผลการเรยี นรู้ดา้ นทกั ษะในการวเิ คราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

นกั ศึกษาตอ้ งมีทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชงิ ตวั เลข การส่ือสารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ ข้ันตำ่ ดงั น้ี
(1) มีทกั ษะในการใชค้ อมพวิ เตอร์สำหรับการทำงานท่เี ก่ยี วขอ้ งกับวิชาชพี ไดเ้ ป็นอย่างดี
(2) มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการ
แกป้ ัญหาที่เกย่ี วข้องไดอ้ ย่างสรา้ งสรรค์
(3) สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมี
ประสิทธภิ าพ
(4) มีทกั ษะในการสือ่ สารข้อมลู ทง้ั ทางการพูดการเขียนและการสอ่ื ความหมายโดยใช้สญั ลักษณ์
(5) สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรมเพ่ือประกอบวิชาชีพในสาขา
วิศวกรรมท่ีเกีย่ วข้องได้
2.2.5.2 กลยุทธก์ ารสอนที่ใชใ้ นการพัฒนาการเรียนรู้ดา้ นทกั ษะในการวิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข การ
ส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
กลยุทธก์ ารสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการสื่อสารน้ี
อาจทำได้ในระหว่างการสอน โดยอาจให้นักศึกษาแก้ปัญหา โดยใช้ความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าที่มีอยู่ผนวกกับ
เทคโนโลยีสารสนเทศ และทำการสื่อสารผลของการดำเนินการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้อง
เขา้ ใจไดอ้ ยา่ งชัดเจนในภาพรวมของปัญหาและการแก้ไขทง้ั หมด
2.2.5.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสาร และการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
(1) ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฎี การเลือกใช้เคร่ืองมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หรือคณิตศาสตรแ์ ละสถติ ิ ท่ีเกี่ยวข้อง
(2) ประเมินจากความสามารถในการอธบิ าย ถงึ ข้อจำกดั เหตผุ ลในการเลือกใช้เครอ่ื งมือตา่ งๆ การ
อภปิ ราย กรณีศึกษาต่างๆทม่ี กี ารนำเสนอตอ่ ชัน้ เรยี น

3. ผลการพฒั นาผลการเรยี นรู้
3.1 ผลการพฒั นาการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (PLO)
PLO 1. มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมในการดำเนินชีวติ บนพนื้ ฐานปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
PLO 2. ตระหนกั และสำนึกในความเป็นไทย
PLO 3. มีความรอบรู้อย่างกว้างขวาง มีโลกทัศน์กวา้ งไกล เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง ผู้อ่ืน สังคม

ศิลปวฒั นธรรมและธรรมชาติ
PLO 4. มีทักษะการแสวงหาความรู้ตลอดชวี ิต เพ่ือพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เน่อื ง
PLO 5. มีทกั ษะการคดิ แบบองคร์ วม
PLO 6. มีจิตอาสาและสำนกึ สาธารณะ เป็นพลเมืองท่ีมคี ุณค่าของสังคมไทยและสังคมโลก
PLO 7. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งรเู้ ทา่ ทนั
PLO 8. ใช้ภาษาในการสือ่ สารอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

3.2 ผลการพัฒนาการเรยี นรู้ตามหลกั สูตร (PLO)
1. PLO1 ประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎีพื้นฐานทางวิศวกรรมกับการใช้งานวิชาชีพ โดยแสดงออกถึง

ความเข้าใจในศาสตรด้านวิศวกรรมพื้นฐานของสาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสำหรับการประกอบวิชาชีพและประยุกต์ใช้องค์
ความรใู้ นการปฏบิ ัตงิ านจริง

มคอ.2 42

2. PLO2 ประยุกต์ใช้ โปรแกรมจำลองทางคอมพิวเตอร์ เคร่ืองมือดิจิทัลทางวิศวกรรม หรือ
เทคโนโลยสี มัยใหม่ที่เหมาะสม เพื่อการปฏบิ ตั ิงานในการสร้างคุณค่าให้แกภ่ าคอตุ สาหกรรมอยา่ งมอื อาชพี

3. PLO3 สามารถแก้ปัญหาหรือพัฒนางานไดอ้ ย่างเป็นระบบ และสามารถศึกษาเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
แสดงถึงความสามารถในคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ประกอบด้วย การกำหนดประเดน็ การศึกษาค้นคว้าข้อมูล การ
ออกแบบวิธีการ การลงมือทำเก็บบันทึกข้อมูลและการวิเคราะห์ผล สรุปประมวลผลและรายงานผลงานในเชิง
วิศวกรรมไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

4. PLO4 แสดงออกถึงการมีมนุษย์สัมพันธ์ การส่ือสารท่ีดี การทำงานร่วมกับผู้อ่ืน มีภาวะผู้นำตาม
วุฒิภาวะและบรรทดั ฐานทางสงั คม

5. PLO5 แสดงออกถึงจิตสำนึกการมีความรับผิดชอบต่อสังคม และความมีจริยธรรมและ
จรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ

3.3 ผลการพฒั นาการเรยี นรยู้ ่อยของหลักสูตร (SubPLO)
1. PLO1 ประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎีพื้นฐานทางวิศวกรรมกับการใช้งานวิชาชีพ โดยแสดงออกถึงความ
เข้าใจในศาสตรด้านวิศวกรรมพ้ืนฐานของสาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสำหรับการประกอบวิชาชีพและประยุกต์ใช้
องค์ความรใู้ นการปฏิบตั ิงานจรงิ
PLO1 Sub1 : เข้าใจองคค์ วามรูพ้ ื้นฐานทางวศิ วกรรมไฟฟา้
PLO1 Sub2 : เข้าใจและประยุกต์ใช้เครื่องมือพ้ืนฐานทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้าในการแก้ปัญหา

ทางดา้ นระบบไฟฟ้าและพลังงานในงานอาคาร อตุ สาหกรรม
PLO1 Sub3 : สามารถนำความรู้ภาคทฤษฎีมาออกแบบวิเคราะห์และแก้ปัญหาในงานอาคาร

อุตสาหกรรมได้อยา่ งเปน็ ระบบ
2. PLO2 ประยุกต์ใช้ โปรแกรมจำลองทางคอมพิวเตอร์ เคร่ืองมือดิจิทัลทางวิศวกรรม หรือเทคโนโลยี

สมยั ใหม่ที่เหมาะสม เพือ่ การปฏิบัตงิ านในการสร้างคณุ ค่าให้แก่ภาคอุตสาหกรรมอย่างมอื อาชีพ
PLO2 Sub1 : เข้าใจหลักการของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเครื่องมือดจิ ทิ ลั
PLO2 Sub2 : ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ และเคร่ืองมือดิจิทัลในกระบวนการทำงานดา้ น

วิศวกรรมไฟฟา้
3. PLO3 สามารถแก้ปัญหาหรือพัฒนางานได้อย่างเป็นระบบ และสามารถศึกษาเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง แสดง

ถึงความสามารถในคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ประกอบด้วย การกำหนดประเด็น การศึกษาค้นคว้าข้อมูล การ
ออกแบบวิธีการ การลงมือทำเก็บบันทึกข้อมูลและการวิเคราะห์ผล สรุปประมวลผลและรายงานผลงานในเชิง
วศิ วกรรมได้อย่างมีมาตรฐาน

PLO3 Sub1 : ออกแบบกระบวนการดำเนินงานในการศึกษาพัฒนางาน และแก้ปัญหาอย่างเป็น
ระบบ

PLO3 Sub2 : ดำเนนิ การวเิ คราะห์ และประมวลผลได้อยา่ งสมเหตสุ มผล
PLO3 Sub3 : สามารถรายงานผลการดำเนนิ งานไดอ้ ย่างมมี าตรฐาน
4. PLO4 แสดงออกถึงการมีมนุษย์สัมพันธ์ การสื่อสารท่ีดี การทำงานร่วมกับผู้อื่น มีภาวะผู้นำตามวุฒิภาวะ
และบรรทดั ฐานทางสังคม
PLO4 Sub1 : สามารถปรับตัวและเขา้ ใจการทำงานเปน็ ทมี ในสภาวะแวดลอ้ มตา่ งๆ
PLO4 Sub2 : แสดงบทบาทเป็นท่พี ึ่งในการทำงาน
PLO4 Sub2 : แสดงออกถงึ บุคลิกภาพทเ่ี หมาะสม
5. PLO5 แสดงออกถึงจิตสำนึกการมีความรับผิดชอบตอ่ สังคม และความมีจริยธรรมและจรรยาบรรณในการ
ประกอบอาชีพ

มคอ.2 43

PLO5 Sub1: ตระหนักถึงความปลอดภัยในงานด้านวศิ วกรรมและสังคม
PLO5 Sub2: ประยุกต์ใช้หลักการทางวิศวกรรมในการปฎิบัติหน้าท่ีได้อย่างถูกต้อง และรับผิดชอบต่อ
สงั คม

มคอ.2 44

3.4 แผนที่แสดงการกระจายความรบั ผิดชอบต่อผลการเรียนรหู้ มวดวชิ าศึกษาทัว่ ไป

• ความรับผิดชอบหลัก  ความรับผดิ ชอบรอง

5 .ทักษะการ

วิเคราะหเ์ ชิง

หมวดวชิ าศกึ ษาท่ัวไป 1. คณุ ธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทกั ษะทาง 4. ทกั ษะความสมั พันธ์ระหวา่ ง ตัวเลขการ
ปญั ญา บุคคลและความรบั ผิดชอบ สือ่ สารและ

เทคโนโลยี

สารสนเทศ

(1) (2) (3) (4) (5) (1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (1) (2) (3) (4) (5) (1) (2) (3)

PLO 1. มคี ุณธรรมจริยธรรมในการดำเนนิ ชวี ติ บน • • • • o o • o o o o o o o o o • • o o

พ้ืนฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

PLO 2. ตระหนักและสำนึกในความเปน็ ไทย •o•o•oooo•ooooo•oo•o

PLO 3. มีความรอบรอู้ ย่างกว้างขวาง มีโลกทศั น์ ooo•••o•oooo•o•o•ooo
กว้างไกล เขา้ ใจและเห็นคณุ ค่าของตนเอง ผอู้ ื่น

สงั คม ศลิ ปวฒั นธรรมและธรรมชาติ

PLO 4. มีทกั ษะการแสวงหาความรู้ตลอดชีวติ เพือ่ o • o • o • o • • • • • o • o o o • • •

พัฒนาตนเองอย่างต่อเน่อื ง

PLO 5. มีทกั ษะการคิดแบบองคร์ วม o••ooo•oo•••ooooo•••

PLO 6. มจี ติ อาสาและสำนึกสาธารณะ เป็นพลเมือง o o • o o o o o o o o o • o o • o o o o

ทม่ี คี ุณค่าของสังคมไทยและสงั คมโลก

PLO 7. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างร้เู ทา่ ทัน o••oo•oo•oooooooo•o•

PLO 8. ใชภ้ าษาในการส่อื สารอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ o o o o o • • o • o o o • o o o o o • •

มคอ.2 45

3.5 แผนทแ่ี สดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบต่อผลการเรยี นรู้ตามหลักสตู ร
• ความรบั ผดิ ชอบหลกั  ความรบั ผดิ ชอบรอง

Knowledge ID 1. คณุ ธรรม 2. ความรู้ 3. ทกั ษะทางปัญญา 4. ทกั ษะ 5. ทกั ษะการ

จริยธรรม ความสมั พนั ธ์ วิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข

ระหว่างบคุ คล การสื่อสารและ

และความรบั ผิดชอบ เทคโนโลยี

สารสนเทศ

Program Learning Outcome 123451234512345 1 23 4 5 1 2345

ของหลักสูตร

PLO1 ประยกุ ตใ์ ช้ความรภู้ าคทฤษฎีพนื้ ฐานทาง • •• • •  ••
วศิ วกรรมกับการใช้งานวชิ าชีพ โดยแสดงออกถงึ ••

ความเขา้ ใจในศาสตรดา้ นวิศวกรรมพ้นื ฐานของสาขา

วิศวกรรมไฟฟ้าสำหรบั การประกอบวชิ าชพี และ

ประยุกตใ์ ชอ้ งค์ความรใู้ นการปฏิบัติงานจริง

PLO2 ประยกุ ต์ใช้ โปรแกรมจำลองทางคอมพวิ เตอร์   • •• • • 
เครอ่ื งมือดจิ ทิ ัลทางวศิ วกรรม หรอื เทคโนโลยี

สมัยใหม่ท่เี หมาะสม เพอื่ การปฏบิ ัติงานในการสรา้ ง

คุณคา่ ใหแ้ ก่ภาคอตุ สาหกรรมอย่างมอื อาชีพ

PLO3 สามารถแก้ปัญหาหรอื พฒั นางานได้อยา่ งเป็น  •• •• •  • • ••
ระบบ และสามารถศกึ ษาเรยี นรู้ได้ดว้ ยตนเอง แสดง
ถงึ ความสามารถในคดิ วิเคราะห์อยา่ งเป็นระบบ
ประกอบดว้ ย การกำหนดประเด็น การศึกษาค้นควา้

มคอ.2 1. คณุ ธรรม 2. ความรู้ 3. ทกั ษะทางปัญญา 4. ทกั ษะ 46
Knowledge ID จริยธรรม ความสมั พนั ธ์
ระหวา่ งบคุ คล 5. ทกั ษะการ
Program Learning Outcome 123451 234512345 และความรบั ผิดชอบ วิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข
12345
ของหลกั สูตร การส่ือสารและ
 • เทคโนโลยี
ข้อมูล การออกแบบวธิ กี าร การลงมือทำเกบ็ บนั ทึก สารสนเทศ
ข้อมลู และการวิเคราะหผ์ ล สรุปประมวลผลและ ••
รายงานผลงานในเชงิ วิศวกรรมได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 1 2345

PLO4 แสดงออกถงึ การมมี นษุ ย์สัมพันธ์ การส่ือสารที่ •  • •  • •
ดี การทำงานร่วมกบั ผ้อู นื่ มีภาวะผู้นำตามวุฒภิ าวะ
และบรรทัดฐานทางสังคม •

PLO5 แสดงออกถงึ จิตสำนึกการมคี วามรบั ผิดชอบต่อ   • • • •
สงั คม และความมีจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณในการ
ประกอบอาชพี

มคอ.2 47

3.6 แผนท่แี สดงการกระจายความรับผดิ ชอบตอ่ ผลการเรยี นรจู้ ากหลักสูตรส่รู ายวชิ า (Curriculum mapping)

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita