ความหมายของอุตสาหกรรมเกษตร

2019

หน่วยที่ 1 ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั อุตสาหกรรมเกษตร

จิรพชั ร์ บุญชดั

วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยพี งั งา

6/4/2019

หนว่ ยที่ 1 2

หน่วยที่ 1
ความรู้เบื้องต้นของงานอตุ สาหกรรมเกษตร

สาระการเรียนรู้

ความรู้เบ้ืองตน้ ของงานอุตสาหกรรมเกษตร

1. ความหมายของอุตสาหกรรมเกษตร
2. ความสาํ คญั และประโยชน์ของอุตสาหกรรมเกษตร
3. ประเภทของอุตสาหกรรมเกษตร

จุดประสงค์การเรียนรู้
เม่ือศึกษาจบหน่วยการเรียนรู้นีแ้ ล้ว ผ้เู รียนสามารถ

1. บอกความหมายของอุตสาหกรรมเกษตรได้
2. บอกความสาํ คญั ของอุตสาหกรรมเกษตรได้
3. บอกประโยชนข์ องอุตสาหกรรมเกษตรได้
4. จาํ แนกประเภทของอุตสาหกรรมเกษตรได้
5.
อุตสาหกรรมเกษตร (Agro – Industry) เป็นธุรกิจการเกษตร (Agribusiness) ประเภทหน่ึง จดั อยใู่ น
ธุรกิจการเกษตรประเภทการผลิตและการแปรรูป (Production and processing) เป็นการดาํ เนินการ
ท้งั ส่วนของการผลิต คือ การเกษตรกรรม เพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลผลิตมาใชเ้ ป็นวตั ถุดิบและเป็นการดาํ เนินการ
ในส่วนของการแปรรูป คือการนาํ เอาวตั ถุดิบมาทาํ ใหเ้ ป็นผลิตภณั ฑต์ า่ งๆ ท้งั จากตวั ของวตั ถุดิบ
โดยตรงและจากผลพลอยไดจ้ ากวตั ถุดิบน้นั โดยเคร่ืองจกั รกล ดว้ ยระบบการดาํ เนินการผลิตแบบ
อุตสาหกรรมเกษตร รวมท้งั การจดั จาํ หน่ายผลิตภณั ฑท์ ่ีผลิตได้ โดยใหม้ ีการสูญเสียนอ้ ยที่สุด

ธุรกิจเกษตร คือ การดาํ เนินงานท้งั หมดที่เก่ียวกบั การผลิตและการจดั จาํ หน่ายปัจจยั การผลิตสินคา้
เกษตร กิจกรรมการผลิตในฟาร์ม การเก็บรักษา การแปรรูป และการจดั จาํ หน่ายสินคา้ เกษตรและ
ผลิตผลพลอยไดจ้ ากสินคา้ เกษตร (ทองโรจน์ อ่อนจนั ทร์)

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยพี งั งา อตุ สาหกรรมเกษตรเบ้ืองตน้

ความรู้เบอื ้ งต้นของงานอตุ สาหกรรมเกษตร 3

ความหมายของอุตสาหกรรมเกษตร
พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ.2493 ไดใ้ หค้ วามหมายของคาํ วา่ อุตสาหกรรมไว้

วา่ หมายถึง “การทาํ สิ่งของเพื่อใหเ้ ป็นสินคา้ ” ตอ่ มาพระราชบญั ญตั ิส่งเสริมการลงทุนเพอ่ื กิจการ
อุตสาหกรรม พ.ศ. 2503 ไดใ้ หค้ วามหมายของคาํ วา่ กิจการอุตสาหกรรมไวค้ รอบคลุมในเรื่องของ
การเพาะปลูก การเล้ียงสตั ว์ การประมง การขนส่ง และการจดั ใหค้ วามสะดวก หรือส่งเสริมการ
ท่องเที่ยว

พจนานุกรม พ.ศ. 2545 ไดใ้ หค้ วามหมายของคาํ วา่ อุตสาหกรรม (อุดสาหะกาํ ) ไวว้ า่
หมายถึง การทาํ สิ่งของเพอื่ ใหเ้ กิดผลประโยชนเ์ ป็นกาํ ไร การประกอบธุรกิจขนาดใหญ่ที่ตอ้ งใชท้ ุน
มากใหค้ วามหมายของคาํ วา่ เกษตร (กะเสด) หมายถึง ท่ีดิน ทุง่ นา ไร่ และ ใหค้ วามหมายคาํ
วา่ เกษตรกรรม (กะเสดตระกาํ ) ไวว้ า่ หมายถึง การใชท้ ่ีดินเพาะปลูกพืชต่างๆ รวมท้งั การเล้ียงสัตว์
การประมง และการป่ าไม้

อุตสาหกรรมเกษตร หมายถึง การนาํ ผลผลิตทางการเกษตร ไม่วา่ จะเป็นการเพาะปลูก
การเล้ียงสัตว์ การประมง และการป่ าไม้ มาทาํ ใหเ้ กิดผลประโยชน์เป็นกาํ ไร โดยอาศยั การ
ประกอบธุรกิจขนาดใหญ่ที่ตอ้ งใชท้ ุนมาก หรือประกอบการในรูปของโรงงานอุตสาหกรรมอยา่ ง
ครบวงจร

ในการแปรรูปน้นั นอกจากจะไดผ้ ลิตภณั ฑต์ ามจุดประสงคแ์ ลว้ ยงั ไดร้ ับผลิตผลพลอยได้
(by-products) เช่น ในการสีขา้ วจะไดร้ ําปลายขา้ วและแกลบหรือการทาํ น้าํ ตาลจากออ้ ย กจ็ ะไดช้ าน
ออ้ ยและกากน้าํ ตาล เป็นตน้ ผลิตผลพลอยไดเ้ หล่าน้ี สามารถนาํ มาใชเ้ ป็นวตั ถุดิบในการทาํ
ผลิตภณั ฑอ์ ื่นไดอ้ ีก เช่น รําขา้ ว ใชท้ าํ วตั ถุดิบเพื่อสกดั น้าํ มนั กากราํ ที่เหลือนาํ มาใชเ้ ล้ียงสตั ว์
ชานออ้ ยนาํ มาทาํ กระดาษอดั กากน้าํ ตาลนาํ มาทาํ ป๋ ุยชีวภาพหรือ ผสมทาํ หญา้ หมกั สาํ หรับสตั วใ์ หญ่
พวกโค กระบือ เป็นตน้

การนาํ ผลิตผลพลอยได้ มาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ เป็นการเพิม่ มูลคา่ ของสินคา้ เกษตรที่
นาํ มาใชเ้ ป็นวตั ถุดิบไดม้ ากข้ึน และนาํ กาํ ไรไปลดตน้ ทุนการผลิตของผลิตภณั ฑห์ ลกั ได้

ความเป็ นมา และการพฒั นาอุตสาหกรรมเกษตร
การเกษตรกรรมจดั เป็นอาชีพหลกั อาชีพแรกของมนุษยก์ ารผลิตแตเ่ ดิมเป็นการผลิตเพอื่

เล้ียงตนเองหรือครอบครัว หากมีเหลือจากการบริโภคกน็ าํ ไปแลกกบั ปัจจยั ในการดาํ รงชีพอ่ืนๆ
หรือเก็บถนอมไวใ้ ชย้ ามขาดแคลน มีการผลิตเครื่องอุปโภค บริโภคท่ีจาํ เป็นในการดาํ รงชีพ เช่น
การทอผา้ จกั สาน เครื่องป้ันดินเผา การทาํ ร่ม การทาํ มีด เมื่อคนในหมูบ่ า้ นมีความตอ้ งการมาก
ข้ึน แทนที่จะผลิตเม่ือมีเวลาวา่ งจากงานเกษตรกม็ ีผผู้ ลิตเป็นอาชีพหลกั จึงเกิดการผลิตเพือ่ จาํ หน่าย

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยพี งั งา อุตสาหกรรมเกษตรเบ้ืองตน้

ความรู้เบอื ้ งต้นของงานอตุ สาหกรรมเกษตร 4

หรือแลกเปล่ียน เกิดเป็นอุตสาหกรรมในครอบครัว (home industry) ข้ึนและเม่ือประชากรเพ่ิมมาก
ข้ึน การผลิตแบบอุตสาหกรรมในครอบครัวจึงไมส่ ามารถสนองความตอ้ งการของผใู้ ชท้ ี่เพิม่ ข้ึน
อยา่ งรวดเร็วไดเ้ พราะมีข้ อจาํ กดั ในเรื่องแรงงาน การใชเ้ ทคโนโลยใี นการผลิต ประกอบกบั สงั คมมี
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ มีการพฒั นาทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีการนาํ เคร่ืองมือ
เคร่ืองจกั รมาใชแ้ ละพฒั นาเติบโตมาเป็นอุตสาหกรรมเกษตรขนาดเลก็ และขนาดใหญ่ ตามลาํ ดบั

จากการที่ประชากรมีจาํ นวนเพมิ่ ข้ึนอยา่ งรวดเร็ว แต่ที่ดินทาํ กินยงั คงมีอยเู่ ทา่ เดิมหรือลด
นอ้ ยลงไปเพราะเปล่ียนไปเป็นที่อยอู่ าศยั หรือบางแห่งเปลี่ยนไปเป็นสนามกอลฟ์ การผลิตอาหารจึง
ควรนาํ มาใชใ้ หค้ ุม้ คา่ มากท่ีสุด ซ่ึงอุตสาหกรรมเกษตร สามารถรองรับปัญหาการขาดแคลนอาหาร
ไดใ้ นระดบั หน่ึง

ความสาคัญ และประโยชน์ของอตุ สาหกรรมเกษตร

ผลิตภณั ฑจ์ ากอุตสาหกรรมเกษตร นาํ มาซ่ึงปัจจยั สี่ของการดาํ รงชีวติ ของมนุษย์ ไม่วา่ จะ

เป็นผลิตภณั ฑอ์ าหาร เส้ือผา้ เคร่ืองนุ่งห่ม ที่อยอู่ าศยั และยารักษาโรค การผลิตในระบบเดิมอาจ

ไม่เพยี งพอกบั จาํ นวนประชากรที่เพม่ิ มากข้ึน จึงจาํ เป็นตอ้ งอาศยั ระบบอุตสาหกรรม (Mass

manufacture) เพอ่ื ใหผ้ ลิตไดจ้ าํ นวนมากและมีคุณภาพ

ความสาํ คญั และประโยชนข์ องอุตสาหกรรมเกษตร สรุปไดด้ งั น้ี

1. ช่วยให้มนุษย์สามารถใช้ประโยชน์จากผลติ ผลเกษตร ท้งั ท่ีไดจ้ ากการเกษตรกรรม หรือ
จากธรรมชาติไดเ้ ตม็ ที่ ใหม้ ีการสูญเสียนอ้ ยท่ีสุดโดยนาํ ไปแปรรู ปและเกบ็ ถนอมไวใ้ หอ้ ยไู่ ดน้ านๆ
ทาํ ใหอ้ าหารมีปริมาณเพม่ิ มากข้ึน ลดปัญหาการขาดแคลนอาหารและการขาดสารอาหารของ
ประชากร

2. อตุ สาหกรรมเกษตรทาให้เกดิ ธุรกจิ การเกษตรอ่ืนๆ เพิ่มข้ึนตอ่ เนื่องครบวงจร เช่น เกิด
อุตสาหกรรมผลิตเคร่ืองจกั รและอุปกรณ์ที่นาํ มาใชใ้ นการเกษตร เช่น ป๋ ุย ยาปราบศตั รูพชื โรงงาน
อุตสาหกรรมหอ้ งเยน็ โรงงานฟอกหนงั เป็นตน้

3. ทาให้เกดิ ผลติ ภณั ฑ์ชนิดใหม่ๆ เช่น การนาํ มนั สาํ ปะหลงั ออ้ ย และกากน้าํ ตาล มาใช้
เป็นวตั ถุดิบในการผลิตเอทิลแอลกอฮอล์ ( Ethyl Alcohol ) แลว้ นาํ ไปผสมกบั น้าํ มนั เบนซิน ใช้
เป็นเช้ือเพลิงของเครื่องยนตท์ ี่ใชน้ ้าํ มนั เบนซินได้

4. ช่วยให้การพฒั นาการเกษตรของประเทศสาเร็จผลมากขนึ้ ช่วยรองรับสินคา้ เกษตร ทาํ
ใหส้ ามารถพฒั นาไปไดอ้ ยา่ งครบวงจร ลดการสูญเปล่าของสินคา้ เกษตร

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยพี งั งา อุตสาหกรรมเกษตรเบ้ืองตน้

ความรู้เบอื ้ งต้นของงานอตุ สาหกรรมเกษตร 5

5. ทาให้เกดิ เสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ แก่ประเทศ ดว้ ยประชากรราวร้อยละ 70 ของไทย
เป็นเกษตรกร เศรษฐกิจของประเทศจึงข้ึนกบั รายไดข้ องเกษตรกร

6. ช่วยลดการเสียเปรียบดุลการค้ากบั ต่างประเทศ ผลิตภณั ฑท์ ี่ไดจ้ ากโรงงานอุตสาหกรรม
เกษตร สามารถส่งออกไดใ้ นราคาที่สูงข้ึน เป็นการช่วยยกระดบั ราคาของผลิตผลทางการเกษตร
เกิดอาํ นาจในการตอ่ รองราคากบั ประเทศผรู้ ับซ้ือ และยงั ลดความผนั ผวนของราคาสินคา้ เกษตรได้
อีกดว้ ย

7. การเกดิ โรงงานอตุ สาหกรรมเกษตร ช่วยให้คนมีงานทา มากข้ึน ช่วยใหป้ ระชากรของ
ประเทศมีรายไดเ้ พิม่ ข้ึน

8. เพมิ่ ความมั่นคงของชาติ กองทพั มีอาหารสาํ รอง ยามเกิดภาวะสงคราม

จะเห็นไดว้ า่ อุตสาหกรรมเกษตร มีความสาํ คญั และจาํ เป็นตอ่ การพฒั นาประเทศ
เกษตรกรรม และเป็นธุรกิจท่ีก่อใหเ้ กิดเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ของประเทศท่ีสาํ คญั

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยพี งั งา อตุ สาหกรรมเกษตรเบ้ืองตน้

ความรู้เบอื ้ งต้นของงานอตุ สาหกรรมเกษตร 6

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยพี งั งา อุตสาหกรรมเกษตรเบ้ืองตน้

ความรู้เบอื ้ งต้นของงานอตุ สาหกรรมเกษตร 7

3. ประเภทของอุตสาหกรรมเกษตร

อุตสาหกรรมเกษตรจดั เป็นส่วนหน่ึงของอุตสาหกรรม ซ่ึงไดม้ ีการจดั แบง่ ไวห้ ลายประเภท
ตามลกั ษณะตา่ งๆ ไดแ้ ก่

3.1 แบง่ ตามลกั ษณะของการใชผ้ ลิตภณั ฑท์ ่ีผลิตได้
3.2 แบง่ ตามวตั ถุดิบ
3.3 แบง่ ตามขนาดกาํ ลงั การผลิตของเคร่ืองจกั ร
3.1 แบ่งตามลกั ษณะการใช้ผลติ ภัณฑ์ทผ่ี ลติ ได้ ซ่ึงแบ่งไดเ้ ป็น 3 ประเภท คือ

3.1.1อุตสาหกรรมอาหาร (food industry) หมายถึงอุตสาหกรรมเกษตรที่ผลิต ผลิตภณั ฑท์ ่ี
เป็นอาหาร ท้งั ท่ีเป็นอาหารสาํ เร็จรูป , ก่ึงสาํ เร็จรูป และผลิตภณั ฑอ์ าหารดิบ

3.1.2 อุตสาหกรรมก่ึงอาหาร (semi – food industry) หมายถึงอุตสาหกรรมเกษตรท่ีผลิต
ผลิตภณั ฑ์ ท่ีใชเ้ ป็นส่วนประกอบหรือปรุงแตง่ อาหาร เช่น น้าํ ตาลทราย น้าํ มนั พชื ชา
กาแฟ สีผสมอาหาร เบียร์และวตั ถุปรุงแต่งรสอาหาร

3.1.3 อุตสาหกรรมผลิตภณั ฑ์ ท่ีไมใ่ ช่อาหาร (Non – food product industry) หมายถึง
อุตสาหกรรมเกษตรท่ีผลิต ผลิตภณั ฑเ์ คร่ืองอุปโภคต่างๆ เช่น อุตสาหกรรมทอผา้ (ไหม
ฝ้าย) อุตสาหกรรมทอกระสอบ อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมเอทิลแอลกอฮอล์
อุตสาหกรรมฟอกหนงั

3.2 แบ่งตามวตั ถุดบิ แบ่งไดเ้ ป็น 19 ชนิดไดแ้ ก่

3.2.1 อุตสาหกรรมเน้ือสัตว์ (Slaughtering Preparing and Preserving Meat)
อุตสาหกรรมประเภทน้ีไดแ้ ก่ การแปรรูปเน้ือววั เน้ือลูกววั เน้ือแกะ เน้ือหมู และ สัตวป์ ี ก
นาํ มาแปรรูปเป็นเบคอน แฮม เน้ือเคม็ หมูรมควนั ไส้กรอก เป็นตน้

3.2.2 อุตสาหกรรมนมและผลิตภณั ฑน์ ม (Manufacture of Dairy Products)
อุตสาหกรรมประเภทน้ีไดแ้ ก่ นมขน้ และครีมขน้ นมผงและครีมผง เนยเหลว เนยแขง็
ไอศกรีม เป็นตน้

3.2.3 อุตสาหกรรมผกั และผลไมก้ ระป๋ อง (Canning and Preserving of Fruits and
Vegetables) อุตสาหกรรมประเภทน้ีไดแ้ ก่ ผลไมแ้ ช่อิ่ม แยมผวิ ส้ม แยม เยลล่ีผลไม้ น้าํ

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยพี งั งา อตุ สาหกรรมเกษตรเบ้ืองตน้

ความรู้เบอื ้ งต้นของงานอตุ สาหกรรมเกษตร 8

ผลไม้ น้าํ ผลไมผ้ สมท้งั ท่ีแช่แขง็ และไม่แช่แขง็ ผกั - ผลไมแ้ ช่แขง็ ผกั - ผลไมบ้ รรจุกระป๋ อง
หรือขวด เป็นตน้

3.2.4 อุตสาหกรรมสัตวน์ ้าํ และการแปรรูป (Canning, Preserving and processing
of Fish Crustacean and Similar Foods) อุตสาหกรรมประเภทน้ีไดแ้ ก่ ปลาแช่แขง็ ปลาเคม็
ปลาตากแหง้ หรือรมควนั และปลากระป๋ อง รวมท้งั สัตวน์ ้าํ อื่นๆ เช่น กุง้ ปู หอย และหมึก

3.2.5 อุตสาหกรรมน้าํ มนั พชื น้าํ มนั สัตว์ และไขสัตว์ (Manufacture of Vegetable
and Animal Oils and Fats) อุตสาหกรรมประเภทน้ีไดแ้ ก่ เนยเทียม มนั หมู และไขสตั วอ์ ื่นๆ
น้าํ มนั และไขของสัตวน์ ้าํ น้าํ มนั ถวั่ เหลืองบริสุทธ์ิ น้าํ มนั ถว่ั เหลืองดิบ น้าํ มนั เมลด็ ฝ้าย
น้าํ มนั ถวั่ ลิสง น้าํ มนั มะกอก เป็นตน้

3.2.6 อุตสาหกรรมเมลด็ ธญั ญพชื (Grain Mill Products) อุตสาหกรรมประเภทน้ี
ไดแ้ ก่ การทาํ แป้งจากขา้ วสาลี ขา้ วโพด อาหารเชา้ สาํ เร็จรูป มกั กะโรนี เส้นก๋วยเตี๋ยว เป็น
ตน้

3.2.7 อุตสาหกรรมขนมอบ (Manufacture of Bakery Products) อุตสาหกรรม
ประเภทน้ีไดแ้ ก่ ขนมปัง ขนมปังกรอบ ขนมปังหวานแหง้ เพสทรี เคก้ ขนมอบชนิดต่างๆ
เป็ นตน้

3.2.8 อุตสาหกรรมน้าํ ตาลและน้าํ ตาลบริสุทธ์ิ (Sugar Factories and Refineries)
อุตสาหกรรมประเภทน้ีไดแ้ ก่ น้าํ ตาลดิบ น้าํ ตาลบริสุทธ์ิ ผลไมแ้ ช่อ่ิมแหง้ เป็นตน้

3.2.9 อุตสาหกรรมโกโก้ ชอคโกเลต และลูกกวาด (Manufacture of Cocoa,
Chocolate and Sugar Confectioneries) อุตสาหกรรมประเภทน้ีไดแ้ ก่ โกโกผ้ ง โกโกเ้ หลว
ชอคโกเลต กาแฟผงสาํ เร็จรูป กลิ่นกาแฟสกดั ลูกกวาด เป็นตน้

3.2.10 อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม (Beverage Industry) อุตสาหกรรมประเภทน้ีไดแ้ ก่
สุราตม้ กลนั่ ยกเวน้ เอทิลแอลกอฮอลบ์ ริสุทธ์ิ เครื่องด่ืมอ่ืนๆที่มี เอทิลแอลกอฮอล์ ไวน์
ชนิดต่างๆ เคร่ืองด่ืมที่ทาํ จากขา้ วมอลท์ เบียร์ น้าํ แร่ น้าํ อดั ลม เป็นตน้

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยพี งั งา อุตสาหกรรมเกษตรเบ้ืองตน้

ความรู้เบอื ้ งต้นของงานอตุ สาหกรรมเกษตร 9

3.2.11 อุตสาหกรรมพชื เส้นใย ไดแ้ ก่ อุตสาหกรรมทอกระสอบ หีบฝ้าย ทอผา้
ป่ันนุ่น

3.2.12 อุตสาหกรรมเยอ่ื กระดาษ และกระดาษ ไดแ้ ก่ การผลิตเยอ่ื กระดาษจาก
ปอ ไมเ้ น้ืออ่อน ฟาง ชานออ้ ย ไมส้ น เป็นตน้

3.2.13 อุตสาหกรรมยางพารา ไดแ้ ก่ อุตสาหกรรมยางแผน่ ดิบ ยางเครป ยาง
แท่ง ยางรมควนั ผลิตภณั ฑย์ างอื่นๆ เช่น ยางรถยนต์ อุปกรณ์การแพทยท์ ี่ทาํ จากยาง
รองเทา้ ยาง เป็นตน้

3.2.14 อุตสาหกรรมป๋ ุย ไดแ้ ก่ ป๋ ุยอินทรีย์ ป๋ ุยเคมี

3.2.15 อุตสาหกรรมยาปราบศตั รูพชื ไดแ้ ก่ ยาฆา่ แมลง ยาปราบวชั พชื ยากาํ จดั
เช้ือรา

3.2.16 อุตสาหกรรมเครื่องทุ่นแรง ไดแ้ ก่ รถแทรกเตอร์ เครื่องสูบน้าํ เครื่อง
หยอดเมลด็

3.2.17 อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ไดแ้ ก่ อาหารสัตวผ์ สม ปลาป่ น เปลือกหอยบด
ใบกระถินบด ขา้ วโพดบด

3.2.18 อุตสาหกรรมมนั สาํ ปะหลงั เช่น มนั เส้น และมนั อดั เมด็
3.2.19 อุตสาหกรรมอ่ืนๆ ไดแ้ ก่ บะหมี่ก่ึงสาํ เร็จรูป บะหม่ี วนุ้ เส้น เป็นตน้
3.3 แบ่งตามขนาดกาลงั การผลติ ของเครื่องจักร ไดเ้ ป็น 2 ชนิด คือ
3.3.1 อุตสาหกรรมเกษตรขนาดเล็ก (Small - scale agro-industry) คือ
อุตสาหกรรมเกษตรท่ีมีกาํ ลงั ผลิตขนาดเลก็ อาจมีปัญหาในการดาํ เนินงาน โดยเฉพาะเรื่อง
เทคโนโลยใี นการผลิต การควบคุมคุณภาพของผลิตภณั ฑ์ การตลาดและอาจขาดแคลนแรงงาน
เน่ืองจากมีความแตกตา่ งกบั อุตสาหกรรมเกษตรขนาดใหญ่ในดา้ นสวสั ดิการของคนงาน

3.3.2 อุตสาหกรรมเกษตรขนาดใหญ่ (Large – scale agro- industry) หมายถึง
อุตสาหกรรมเกษตรที่ดาํ เนินการผลิตโดยใชเ้ คร่ืองจกั รขนาดใหญ่ สามารถผลิตไดจ้ าํ นวนมาก และ
อาจดาํ เนินการผลิตท้งั ผลิตภณั ฑห์ ลกั และผลิตภณั ฑท์ ่ีไดจ้ ากผลพลอยได้ หรือของเหลือ

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยพี งั งา อุตสาหกรรมเกษตรเบ้ืองตน้

ความรู้เบอื ้ งต้นของงานอตุ สาหกรรมเกษตร 10

อุตสาหกรรมเกษตรขนาดใหญ่ อาจจะมีแหล่งผลิตวตั ถุดิบของตนเอง เช่น โรงงาน
อุตสาหกรรมน้าํ ตาล อาจจะประกอบดว้ ย ไร่ออ้ ยของโรงงาน โรงงานอุตสาหกรรมน้าํ ตาลโรงงาน
อุตสาหกรรมเอทิลแอลกอฮอล์ โรงงานอุตสาหกรรมเยอื่ กระดาษ เป็นตน้

อุตสาหกรรมเกษตรขนาดใหญ่ ตอ้ งใชเ้ งินลงทุนที่สูงมาก แต่สามารถใชป้ ระโยชนจ์ าก
วตั ถุดิบทางการเกษตร ไดค้ ุม้ คา่ มากท่ีสุด อยา่ งไรก็ตามอุตสาหกรรมเกษตรขนาดเลก็ ก็ยงั คงมี
ความจาํ เป็นและมีความสาํ คญั ในสังคมไทยอยมู่ าก

ความสาคัญของอตุ สาหกรรมเกษตรขนาดเลก็

อุตสาหกรรมเกษตรขนาดเล็ก เป็นธุรกิจท่ีเปิ ดโอกาสใหผ้ มู้ ีความรู้ ความสามารถและ
ต้งั ใจจริงมีโอกาสท่ีจะกา้ วไปสู่ความสาํ เร็จในอนาคต ท้งั ยงั มีความสาํ คญั ต่อการพฒั นาเศรษฐกิจ
และสงั คมของประเทศท่ีกาํ ลงั พฒั นา ไดห้ ลายประการไดแ้ ก่

1. อุตสาหกรรมเกษตรขนาดเลก็ เป็ นรากฐานของอตุ สาหกรรมเกษตรขนาดใหญ่ การเร่ิม
ธุรกิจจากอุตสาหกรรมเกษตรขนาดเลก็ ช่วยใหม้ ีความรู้ ประสบการณ์ เงินทุนและการตลาดท่ี
มนั่ คง

2. ต้องการทรัพยากรทนี่ ามาใช้ในการผลติ ในปริมาณไม่มาก ทรัพยากรดา้ นบุคคล หรือ
แรงงานฝีมือ เงินทุนและวตั ถุดิบ โดยเฉพาะวตั ถุดิบจากธรรมชาติ หากมีการนาํ มาใชใ้ นปริมาณท่ี
มากเกินไป อาจทาํ ใหเ้ กิดการขาดแคลน เช่น วตั ถุดิบสตั วน์ ้าํ ปลาบางชนิดอาจสูญพนั ธุ์ไดถ้ า้ ไม่มี
การวางแผนป้องกนั

3. สามารถปรับปรุงเทคโนโลยกี ารผลติ หรือพฒั นาผลติ ภัณฑ์ได้ง่าย เพราะเคร่ืองมือ
เครื่องจกั รตา่ งๆ มีราคาไม่แพงมาก

4. สามารถผลติ ผลติ ภณั ฑ์บางชนิดได้โดยมตี ้นทุนตา่ กว่า เช่นการทอผา้ การจา้ งแรงงาน
อาจเหมาจา่ ยเป็นชิ้นไดแ้ ตโ่ รงงานขนาดใหญจ่ าํ เป็นตอ้ งจา่ ยคา่ แรงตามท่ีกระทรวงแรงงานและ
สวสั ดิการสงั คมกาํ หนด ซ่ึงมกั มีราคาสูงกวา่ การเหมาจ่าย รวมท้งั เครื่องจกั รบางชนิดที่นาํ มาใช้ ใน
โรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ มีราคาที่สูงมาก เม่ือบวกค่าเสื่อมของเคร่ืองมือเขา้ ไปในตน้ ทุนการ
ผลิตแลว้ อาจทาํ ใหม้ ีตน้ ทุนการผลิตที่สูงกวา่

5. ช่วยให้เกดิ การจ้างแรงงานเข้าสู่โรงงานมากขึน้ ตา่ งจากอุตสาหกรรมเกษตรขนาดใหญ่
ที่ใชเ้ คร่ืองจกั รมากกวา่ แรงงานคน

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยพี งั งา อุตสาหกรรมเกษตรเบ้ืองตน้

ความรู้เบอื ้ งต้นของงานอตุ สาหกรรมเกษตร 11

6. ช่วยให้เกษตรกรในชนบทมงี านทาและมีรายได้เพมิ่ ขนึ้ เนื่องจากอุตสาหกรรมเกษตร
ขนาดเลก็ มกั ต้งั กระจายอยใู่ นชนบทที่ใกลแ้ หล่งวตั ถุดิบ

อุตสาหกรรมเกษตรขนาดเลก็ ทาํ ใหม้ ีการนาํ ทรัพยากรของประเทศมาใช้ ใหเ้ กิดประโยชน์แก่
ส่วนรวม โดยไมจ่ าํ เป็นตอ้ งพ่ึงทรัพยากรจากต่างประเทศ ไมว่ า่ จะเป็นเงินทุนหรือวตั ถุดิบ เพราะมี
ปริมาณการใชไ้ ม่มาก เมื่อมีรายไดจ้ ากการจาํ หน่ายผลิตภณั ฑ์ กส็ ามารถหมุนเวยี นใชจ้ ่ายอยู่
ภายในประเทศได้

ปัญหาของอุตสาหกรรมเกษตรขนาดเลก็
อุตสาหกรรมเกษตรขนาดเลก็ แมจ้ ะมีขอ้ ดีอยหู่ ลายประการ แต่ยงั พบวา่ มีปัญหาในการ

ดาํ เนินธุรกิจ อยหู่ ลายประการเช่นกนั ไดแ้ ก่
1. คุณภาพของผลติ ภัณฑ์ และการควบคุมคุณภาพ อุตสาหกรรมเกษตรขนาดเล็กมกั ขาด

เงินทุนในการจดั ต้งั หอ้ งปฏิบตั ิการเพื่อตรวจสอบคุณภาพของผลิตภณั ฑ์ ท้งั ในทางกายภาพ เคมี
จุลินทรียแ์ ละทางประสาทสมั ผสั ของผลิตภณั ฑ์ จึงอาจทาํ ใหผ้ ลิตภณั ฑท์ ่ีได้ มีคุณภาพไมส่ ม่าํ เสมอ
การส่งตวั อยา่ งผลิตภณั ฑไ์ ปตรวจสอบที่ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทย์ จะตรวจสอบไดเ้ พยี ง
ผลิตภณั ฑท์ ี่สาํ เร็จรูปแลว้ เท่าน้นั ไมส่ ามารถตรวจสอบผลิตภณั ฑใ์ นทุกข้นั ตอนการผลิตได้

2. การตลาด ผลิตภณั ฑจ์ ากอุตสาหกรรมเกษตรขนาดเล็กส่วนใหญจ่ ะมีจาํ หน่ายเฉพาะใน
ประเทศเนื่องจากมีปริมาณการผลิตต่าํ และคุณภาพไมแ่ น่นอน ถูกผกู ขาดตลาดการคา้ โดย
อุตสาหกรรมเกษตรขนาดใหญ่ และมีการแขง่ ขนั กนั เองภายในประเทศ ท้งั ยงั ขาดปัจจยั ในดา้ นการ
โฆษณา จึงจาํ เป็นตอ้ งสร้างความเชื่อถือในคุณภาพสินคา้ เพื่อใหผ้ ลิตภณั ฑเ์ ป็นท่ียอมรับของ
ผบู้ ริโภค

3. ข้อจากดั ในการนาเทคโนโลยบี างอย่างมาใช้ การพฒั นามาจากอุตสาหกรรมในครัวเรือน
ทาํ ใหม้ ีขอ้ จาํ กดั ในการใชเ้ ทคโนโลยี ซ่ึงอาจมีผลจากเงินทุน เคร่ืองมืออุปกรณ์ที่ใช้ ถา้ สามารถนาํ
เทคโนโลยที ี่ทนั สมยั มาใชจ้ ะช่วยใหก้ ารผลิตมีประสิทธิภาพมากข้ึน

4. ขาดการรวมกลุ่มกนั ซ่ึงมีผลใหข้ าดอาํ นาจในการตอ่ รองทางการคา้ ถา้ ไดม้ ีการ
รวมกลุ่มกนั จะช่วยแกป้ ัญหาการตลาดท้งั ภายในและตา่ งประเทศได้ ช่วยใหเ้ กิดความเชื่อถือใน
คุณภาพสินคา้ และจากแหล่งเงินทุน

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยพี งั งา อตุ สาหกรรมเกษตรเบ้ืองตน้

ความรู้เบอื ้ งต้นของงานอตุ สาหกรรมเกษตร 12

รัฐบาลใหก้ ารสนบั สนุนธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม จดั ใหม้ ีสถาบนั พฒั นาวสิ าหกิจ
ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (Small and Medium Enterprises หรือ SMEs) มีธนาคาร SME ให้เงิน
ลงทุนกลุ่มผปู้ ระกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก การจดั หาตลาด การจดั งานแสดงสินคา้ การจดั
ฝึกอบรมใหค้ วามรู้ มีโครงการ 1 ตาํ บล 1 ผลิตภณั ฑ์ มีเครือข่ายองคค์ วามรู้พ้นื ฐานผลิตภณั ฑช์ ุมชน
KBO (Knowledge Base OTOP) ทวั่ ประเทศ

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยพี งั งา อุตสาหกรรมเกษตรเบ้ืองตน้


ประโยชน์ของอุตสาหกรรมเกษตรมีอะไรบ้าง

การที่เรานำอุตสาหกรรมเกษตรมาใช้ จะทำให้อาชีพเกษตรกร กลายเป็นอาชีพที่พึ่งพาเทคโนโลยีและฐานข้อมูล มากกว่าการพึ่งพิงลมฟ้าอากาศ มีการวางแผนการเพาะปลูกและเพาะเลี้ยงให้เหมาะสมกับสถานการณ์จริง ทำให้เกษตรกรได้รับกำไรมากขึ้น มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และอาจจะลดการพึ่งพาสารเคมีต่างๆ น้อยลงเรื่อยๆ หากสามารถนำเทคโนโลยีชีวภาพเข้ามาใช้ ...

อุตสาหกรรมเกษตรและอาหารคืออะไร

ธุรกิจเกษตรและอุตสาหกรรมอาหารมีความหมายครอบคลุมถึง การด าเนินธุรกิจการเกษตร เพื่อให้เกิดผลิตผลทางการเกษตร และจากการ จัดหาเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบการแปรรูปโดยกระบวนการอุตสาหกรรม เพื่อให้ได้ ผลิตภัณฑ์ตามต้องการ และเกิดการสูญเปล่าน้อยที่สุด รวมทั้งการจัดจ าหน่าย ผลิตภัณฑ์ ซึ่งส่วนใหญ่หมายถึง สินค้าประเภทอาหาร เครื่องดื่ม ...

การเกษตรมีความหมายอย่างไร

การเกษตร หมายถึง การปลูกพืช (Domesticated Plant) และการ เลียงสัตว์ (Domesticated Animal) เพือใช้ในการดํารงชีวิต โดยมนุษย์ มีบทบาททีสําคัญในการดําเนินกิจกรรม วัตถุประสงค์ของการทําการเกษตร 1 มีความแตกต่างกันตังแต่ระดับเกษตรกร-ระดับชาติ ▪ระดับเกษตรกร - เพือยังชีพ - เพือรายได้ – เพือสภาพแวดล้อม

อุตสาหกรรมเกษตรต่างจากอุตสาหกรรมอื่นอย่างไร

4. ความแตกต่างของอุตสาหกรรมเกษตรกับอุตสาหกรรมอื่น 4.1.1 วัตถุดิบของอุตสาหกรรมเกษตรเป็น สิ่งชีวภาพ จึงมีการเปลี่ยนแปลงและ เสื่อมตามธรรมชาติ 4.1.2 คุณภาพและปริมาณไม่สม่าเสมอคงที่แน่นอน 4.1.3 มีอยู่เฉพาะท้องถิ่นและเฉพาะฤดูกาล เท่านั้น

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita