ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบไร้สาย มีอะไรบ้าง ตัวกลางในการสื่อสารมีความสำคัญอย่างไร ตัวกลางในการนำข้อมูลที่นิยมใช้เชื่อมต่อระบบเครือข่าย คือข้อใด สื่อหรือตัวกลางของระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับคอมพิวเตอร์มีกี่ประเภทอะไรบ้าง ตัวกลางในการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีอะไรบ้าง ตัวกลางแบบมีสาย มีอะไรบ้าง ตัวกลางที่ใช้เชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย เรียกว่า ตัวกลางในการสื่อสารเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีกี่แบบ ตัวกลางการสื่อสารแบบไร้สาย ตัวกลางในการสื่อสารแบบมีสายและแบบไร้สาย มีอะไรบ้าง ตัวกลางในการสื่อสารแบบมีสาย มีอะไรบ้าง ชนิดตัวกลางแบบมีสายมีอะไรบ้างพร้อมอธิบาย

ตัวกลาง การ สื่อสาร ใน เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์

สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ from Khunakon Thanatee

2. แหล่งกำเนิดข่าวสาร (Source) หรือเรียกว่า “ผู้ส่งข้อมูล (sender)” เป็นอุปกรณ์หรือซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่จัดส่งข้อมูลที่อยู่ต้นทาง โดยข้อมูลต้องถูกจัดเตรียมนาเข้าสู่อุปกรณ์ส่งข้อมูล เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ โมเด็ม (modem) จานไมโครเวฟ จานดาวเทียม

3. สื่อกลางหรือตัวกลาง (Media) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่นาข่าวสารรูปแบบต่าง ๆ จากผู้ส่งไปยังผู้รับ ได้แก่ สายไฟ ขดลวด สายเคเบิล สายไฟเบอร์ออฟติก เป็นต้น สื่อกลางอาจจะอยู่ในรูปของคลื่นที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น คลื่นไมโครเวฟ คลื่นดาวเทียม คลื่นวิทยุ เป็นต้น ซึ่งสามารถเชื่อมต่อแหล่งกำเนิดข่าวสารและแหล่งรับข่าวสารเข้าด้วยกันหรือเป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล

4. แหล่งรับข่าวสาร (Receiver) หรือเรียกว่า ผู้รับข้อมูล ทาหน้าที่รับข้อมูลที่ถูกถ่ายทอดมาจากผู้ส่งข้อมูลผ่านสื่อที่เชื่อมระหว่างกัน การสื่อสารจะสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อข่าวสารที่ผู้รับข้อมูลได้รับนั้น เป็นข่าวสารเดียวกันกับข่าวสารที่ผู้ส่งข้อมูลได้ถ่ายทอดผ่านสื่อมายังผู้รับข้อมูล

5. โปรโตคอล (Protocol) คือ วิธีการหรือกฎระเบียบที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลเพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งสามารถเข้าใจกันหรือคุยกันรู้เรื่อง โดยทั้งสองฝั่งทั้งผู้รับและผู้ส่งได้ตกลงกันไว้ก่อนล่วงหน้าแล้ว ในคอมพิวเตอร์โปรโตคอลอยู่ในส่วนของซอฟต์แวร์ที่มีหน้าที่ทาให้การดาเนินงาน ในการสื่อสารข้อมูลเป็นไปตามโปรแกรมที่กำหนดไว้ ตัวอย่างเช่น X.25, SDLC, HDLC, และ TCP/IP เป็นต้น

ระบบสื่อสารทุกชนิดจะต้องมีองค์ประกอบครบทั้งสี่ส่วนนี้ หากขาดส่วนใดส่วนหนึ่งแล้ว การสื่อสารจะไม่เกิดขึ้นอย่างแน่นอน เช่น การโทรศัพท์ไปหาเพื่อน แต่ไม่มีผู้รับสารหรือเป็นเสียงตอบรับจากเครื่องตอบรับโทรศัพท์อัตโนมัติ ก็จะไม่มีการสื่อสารเกิดขึ้น เป็นต้น ในกรณีนี้ สิ่งที่ขาดหายไปคือ ผู้รับข้อมูล ถ้าเพื่อนตอบรับโทรศัพท์ ก็แสดงว่า การสื่อสารได้เริ่มต้นขึ้นแล้ว

          4. ดาวเทียม (Satellite) เป็นการสื่อสารโดยคลื่นไมโครเวฟแต่เนื่องจากเป็นคลื่นที่เดินทางในแนวตรง ทำให้พื้นที่ที่มีลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาหรือตึกสูงมีผลต่อการบดบังคลื่น จึงมีการพัฒนาดาวเทียมให้เป็นสถานีไมโครเวฟที่อยู่เหนือพื้นผิวโลก ทำหน้าที่เป็นสถานีส่งและรับข้อมูล ถ้าเป็นลักษณะการส่งข้อมูลจากภาคพื้นดินไปยังดาวเทียม ดาวเทียมสู่ภาคพื้นดิน เรียกว่า “การเชื่อมโยงหรือดาวน์ลิงค์ (Down Link)” ทั้งนี้มีระบบเทคโนโลยีที่นิยมและอาศัยการทำงานของดาวเทียมเป็นหลัก คือ ระบบจีพีเอส(Global Positioning System : GPS) ที่ช่วยตรวจสอบตำแหน่งที่อยู่บนพื้นผิวโลก เช่น การติดตั้งอุปกรณ์จีพีเอสไว้ในรถและทำงานร่วมกับแผนที่ ผู้ใช้สามารถขับรถไปตามระบบนำทางได้ นอกจากนี้ยังได้นำอุปกรณ์จีพีเอสมาติดตั้งในระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ด้วย

     ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์เครือข่ายเข้าด้วยกัน  โดยทำหน้าที่เป็นอุปกรณ์ที่ให้ข้อมูลเดินทางผ่านจากผู้ส่งไปผู้รับ การวัดปริมาณหรือความจุในการนำข้อมูลที่เรียกว่า แบนด์วิดธ์ (bandwidth) มีหน่วยเป็นบิตต่อวินาที (bit per second)

    ตัวกลางในการสื่อสารมีทั้งแบบมีสายและไร้สายดังนี้

                สายคู่บิดเกลียว (Twisted Pair : TP)  ประกอบด้วยเส้นลวดทองแดงหุ้มด้วยฉนวนพลาสติก 2 เส้น พันบิดเป็นเกลียว เพื่อลดผลกระทบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากคู่สายข้างเคียงภายในเคเบิ้ลเดียวกันหรือจากภายนอก

                ในปัจจุบันสายคู่บิดเกลียวได้รับการพัฒนาจนสามารถใช้ส่งข้อมูลได้ด้วยอัตราเร็วมากกว่า 1 กิกะบิตต่อวินาทีในระยะทางไม่เกิน 100 เมตร  เนื่องจากสายคู่บิดเกลียวมีราคาไม่แพงมาก  ใช้ส่งข้อมูลได้ดีจึงมีการใช้งานอย่างกว้างขวาง สายคู่บิดเกลียวมี 2 ชนิด คือ

ที่มาภาพ : //fiberoptics.seesaa.net/article/441454370.html


                ก. สายคู่บิดเกลียวแบบป้องกันสัญญาณรบกวนหรือเอสทีพี (Shielded Twisted-Pair : STP) เป็นสายคู่บิดเกลียวที่หุ้มด้วยลวดถักชั้นนอกอีกชั้น เพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ดียิ่งขึ้น  จึงนิยมใช้ในสถานที่ที่มีสัญญาณรบกวนสูงแต่มีราคาแพงกว่าสายยูทีพี

ที่มาภาพ : //www.krui3.com/wp-content/uploads/2015/11/stp-cable-lan.jpg

                ข. สายคู่บิดเกลียวแบบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวนหรือยูทีพี (Unshielded Twisted-Pair : UTP)  เป็นสายคู่บิดเกลียวที่ไม่มีลวดถักชั้นนอกทำให้สะดวกในการเดินสาย เพราะโค้งงอได้ดี  แต่สามารถป้องกันการรบกวนของแม่เหล็กไฟฟ้าได้น้อยกว่าชนิดแรกและมีราคาต่ำกว่า สายชนิดนี้นิยมใช้ในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ในเครือข่ายทั่วไป เช่น ใช้ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับแลน

ที่มาภาพ : //www.networkcablinglosangeles.com/unshielded-twisted-pair-cable/


ที่มาภาพ : //comnetwork2013.blogspot.com/2013/11/utp.html


                สายโคแอกซ์หรือสายแกนร่วม (coaxial cable)  เป็นสายสัญญาณที่มีสายทองแดงเดียวเป็นแกนกลางหุ้มด้วยฉนวนเพื่อป้องกันไฟรั่ว จากนั้นหุ้มด้วยลวดทองแดงถักเป็นร่างแหล้อมรอบเป็นตัวกั้นสัญญาณรบกวนอยู่ด้านนอก  และหุ้มชั้นนอกด้วยฉนวนพลาสติก  ลักษณะของสายเป็นแบบกลมและใช้สำหรับสัญญาณความถี่สูง  สายโคแอกซ์ที่ใช้ในระบบเครือข่ายมีหลายแบบตามคุณลักษณะทางด้านความต้านทานของสาย  สายโคแอกซ์ที่พบในชีวิตประจำวัน  เช่น  สายอากาศโทรทัศน์  ปัจจุบันในระบบเครือข่ายไม่ยอมใช้ในการสื่อสารข้อมูลแล้ว

ที่มาภาพ : //www.dxengineering.com/parts/dxe-213u

ที่มาภาพ : //oknation.nationtv.tv/mblog/entry.php?id=922306

                สายไฟเบอร์ออปติกหรือเคเบิลเส้นใยนำแสง (fiber optic cable) ทำจากแก้วหรือพลาสติกที่มีความบริสุทธิ์สูง  ใช้แสงในการสื่อสารข้อมูลทำให้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไม่สามารถรบกวนได้

                ปัจจุบันสายไฟเบอร์ออฟติกเป็นตัวกลางนำสัญญาณที่สำคัญในการสื่อสารข้อมูลดิจิตอลเนื่องจากสามารถรับส่งข้อมูลได้ในปริมาณมากกว่า 1 กิกะบิตต่อวินาที  ใช้ได้ในระยะทางไกลถึงหลายกิโลเมตร  และเกิดความผิดพลาดในการส่งข้อมูลต่ำ  สายไฟเบอร์ออฟติกมักนิยมใช้ในการเชื่อมต่อกันระหว่างเครือข่าย

ที่มาภาพ : //news.siamphone.com/news-33387.html


ที่มาภาพ : //www.ku.ac.th/e-magazine/september43/fiber_optic/


3.4.2 ตัวกลางนำสัญญาณไร้สาย

            คลื่นวิทยุ คือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่อยู่ในช่วง 10 กิโลเฮิร์ตซ์ ถึง 

1 กิกะเฮิร์ท  ใช้งานในการติดต่อสื่อสารในระบบแลนไร้สาย

            คลื่นไมโครเวฟ คือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงกว่าคลื่นวิทยุ  มีการนำมาใช้งานทั้งในแบบการสื่อสารระหว่างสถานีบนพื้นโลกด้วยกัน   และใช้สื่อสารระหว่างสถานี

บนพื้นโลกกับดาวเทียม  โดยถ้าเป็นการใช้งานระหว่างสถานีบนพื้นโลกจะใช้คลื่นความถี่ในช่วง 4-6 กิ๊กกะเฮิร์ท หรือ 21-23 กิกะเฮิรตซ์

                ปัจจุบันไมโครเวฟใช้ในการสื่อสารข้อมูลระหว่างสถานีที่การติดตั้งสายสัญญาณทำได้ยาก  เช่น  ใช้ในการติดต่อสื่อสารระหว่างภูเขากับพื้นราบใช้ในการถ่ายทอดสัญญาณผ่านดาวเทียม

            อินฟราเรด คือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงกว่าไมโครเวฟแต่ต่ำกว่าความถี่ของแสงที่ตามนุษย์มองเห็นได้  ใช้กับการสื่อสารข้อมูลที่ไม่มีสิ่งกีดขวางระหว่างผู้ส่งกับผู้รับโดยทั่วไปมักใช้ในการสื่อสารระยะใกล้ประมาณไม่เกิน 10 เมตร ลักษณะการใช้งาน เช่น
การใช้รีโมทควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ

ที่มาภาพ : //www.techwalla.com/articles/how-to-reprogram-a-dish-remote-to-work-with-a-samsung-tv

ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบไร้สาย มีอะไรบ้าง

แม้ว่าการสื่อสารแบบไร้สายอาจฟังดูไม่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์อะไรมาก แต่ว่าการรับส่งข้อมูลแบบไร้สายนั้นจำเป็นต้องมีอุปกรณ์ 2 ตัว ที่ต้องใช้ในระบบ นั้นก็คือ อุปกรณ์ส่งสัญญาณ กับ อุปกรณ์รับสัญญาณ ซึ่งอุปกรณ์ส่งสัญญาณค่อยทำหน้าที่แปลงข้อมูลกลายเป็นคลื่นสัญญาณและส่งผ่านคลื่นนั้นไปในอากาศ ส่วนอุปกรณ์รับสัญญาณคืออุปกรณ์ที่รับ ...

ตัวกลางในการสื่อสารมีความสำคัญอย่างไร

ตัวกลางหรือสายเชื่อมโยง เป็นส่วนที่ทำให้เกิดการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ เข้าด้วยกัน และอุปกรณ์นี้ยอมให้ข่าวสารข้อมูลเดินทางผ่าน จากผู้ส่งไปสู่ผู้รับ สื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลมีอยู่หลายประเภท แต่ละประเภทมความแตกต่างกันในด้านของปริมาณข้อมูล ที่สื่อกลางนั้น ๆ สามารถนำผ่านไปได้ในเวลาขณะใดขณะหนึ่ง การวัดปริมาณ ...

ตัวกลางในการนำข้อมูลที่นิยมใช้เชื่อมต่อระบบเครือข่าย คือข้อใด

เราเตอร์เป็นอุปกรณ์ในระบบเครือข่ายที่ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมโยงให้เครือข่ายที่มีขนาดหรือมาตรฐานในการส่งข้อมูลต่างกัน สามารถติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ เราเตอร์จะทำงานอยู่ชั้น Network หน้าที่ของเราเตอร์ก็คือ ปรับโปรโตคอล (Protocol) (โปรโตคอลเป็นมาตรฐานในการสื่อสารข้อมูลบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์) ที่ต่างกันให้สามารถ ...

สื่อหรือตัวกลางของระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับคอมพิวเตอร์มีกี่ประเภทอะไรบ้าง

3 ชนิดของสื่อหรือตัวกลาง สายสัญญาณ ที่ใช้เป็นมาตรฐานในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีอยู่ด้วยกัน 3 ประเภท คือ 1. สื่อหรือตัวกลางประเภทมีสาย 2. สายโคแอกเชียล 3. สายใยแก้วนำแสง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita