แอลกอฮอล์ ล้างแผลเอาขึ้นเครื่องได้ไหม

ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ในช่วงที่มีการระบาดของไวรัส COVD-19ในหลายประเทศทั่วโลก รวมถึงไทย ทำให้เกิดความจำเป็นต้องใช้ทั้งในส่วนของหน้ากากอนามัยและเจลแอลกอฮอล์สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว จนเรียกว่าถือเป็นอุปกรณ์ที่ต้องพกติดตัวไปทุกที่ โดยในส่วนของเจลแอลกอฮอล์ล้างมือนี้ ถือเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยป้องกันการติดเชื้อได้เป็นอย่างดี

อย่างไรก็ตามในการพกพาหรือนำเจลแอลกอฮอล์เดินทาง โดยเฉพาะการใช้บริการสายการบินนั้น สํานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย หรือ กพท.ได้ออกมาย้ำถึงปริมาตรในการพกพาที่ถูกต้องเป็นไปตามกฎหมาย

นายจุฬา สุขมานพ ผู้อำนวยการ กพท.เปิดเผยว่า กรณีแอลกอฮอล์ขึ้นเครื่องติดตัวนั้นจะเป็นไปตามระเบียบเดิม คือต้องมีปริมาตรไม่เกิน 100 มิลลิลิตร โดยยึดถือปริมาตรที่ระบุข้างบรรจุภัณฑ์ ส่วนในกรณีพบเจลแอลกอฮอล์เดินทางขึ้นเครื่องบินแอลกอฮอล์โหลดลงท้องเครื่อง ผู้โดยสารสามารถนำไปได้ ชิ้นละไม่เกิน 500 ซีซี.รวมแล้วไม่เกิน 2 ลิตร โดยสาเหตุสำคัญที่ต้องมีการคุมปริมาตรเนื่องจาก เจลแอลกอฮอล์นั้น ก็เป็นส่วนหนึ่งของวัสดุที่ติดไฟได้หากมีปริมาณที่เยอะ

หลักเกณฑ์เกี่ยวกับ LAG (Liquid, Aerosol, Gel) ที่จะนำขึ้นเครื่องนั้น ครอบคลุมถึงของเหลว เจล หรือสเปรย์ ประเภทไหนบ้าง มาดูกัน

  • อาหารที่มีของเหลวในปริมาณมาก เช่น ซุป น้ำ เครื่องดื่ม น้ำเชื่อม แยมสตูว์ ซอส น้ำพริก
  • เครื่องสำอาง เช่น ครีม โลชั่น น้ำมัน น้ำหอม
  • เจล เช่น ยาสีฟัน ยาสระผม เจลอาบน้ำ
  • วัตถุที่ต้องฉีดพ่น เช่น สเปรย์ โฟม
  • สิ่งที่มีส่วนผสมของของแข็งและของเหลว เช่น มาสคาร่า ลิปสติกชนิดน้ำ ลิปกลอส

//www.wongnai.com/restaurants/simplebistro

LAG ที่เราพูดถึงนั้นมีเงื่อนไขในการนำขึ้นเครื่องบินดังนี้

  • ต้องมีขนาดบรรจุภัณฑ์ไม่เกิน 100 มิลลิลิตร หรือในหน่วยวัดปริมาตรอื่นที่เท่ากัน และต้องมีข้อความระบุปริมาตรของบรรจุภัณฑ์ (หากข้อความหรือฉลากเกิดลอก ถลอกจนอ่านไม่ออก ไม่ชัดเจนก็ไม่ได้นะครับ ควรต้องเห็นชัดเจนว่าบรรจุภัณฑ์มีปริมาตรบรรจุเท่าไหร่)
  • LAG ที่ระบุไว้ด้านบน สามารถนำไปได้มากกว่า 1 ชิ้น แต่เมื่อรวมกันแล้วจะต้องมีปริมาตรรวมกันสูงสุดไม่เกินคนละ 1,000 มิลลิลิตร
  • ของเหลว เจล สเปรย์ ที่ซื้อจากร้านค้าปลอดอากร ณ ท่าอากาศยาน อนุญาตให้นำขึ้นเครื่องได้ แต่ต้องบรรจุไว้ในถุงพลาสติกที่ปิดผนึก และไม่มีร่องรอยการแกะ การฉีกขาด หรือการเปิดปากถุง และต้องแสดงหลักฐานว่าซื้อในวันที่เดินทาง

แต่ก็มีข้อยกเว้นสำหรับ ของเหลว เจล สเปรย์ บางประเทศที่ไม่ต้องมีปริมาตรตามกำหนด
(100 มิลลิลิตรรวมไม่เกิน 1000 มิลลิลิตร) แต่จะต้องนำไปโดยมีปริมาณที่เหมาะสมกับระยะเวลาที่เดินทางด้วย เช่น

  • ของเหลว เจล สเปรย์ ประเภทยาต้องมีใบรับรองแพทย์ ฉลาก หรือเอกสารกำกับยาที่ระบุชื่อผู้โดยสาร เว้นแต่เป็นยาสามัญประจำบ้านตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข
  • อาหารที่ต้องพกพาตามข้อกำหนดทางการแพทย์ หรือเพื่อวัตถุประสงค์ทางโภชนา
  • อาหารหรือนมสำหรับเด็กทารกที่มีความจำเป็นต้องใช้บริโภคระหว่างเที่ยวบิน

แล้ว “แอลกอฮอล์เจล” ล่ะ ข้อกำหนดไม่ได้มีการพูดถึง
ตกลงจะนำขึ้นเครื่องบินได้ไหม

ความเห็นส่วนตัวผมมองว่า ขึ้นไม่ได้นะครับ
(แต่เดี๋ยวก่อน อ่านให้จบ)

แอลกอฮอล์เจล ไม่อยู่ในหมวดของ LAGs ที่เป็นของใช้ทั่วไป มันไปตกอยู่ในหมวดของ

“วัตถุอันตราย” หรือ Dangerous Goods เพราะแอลกอฮอล์เจลเป็น วัตถุไวไฟ (Flammable) ครับ

แอลกอฮอล์เจล ผมจึงคิดว่าไม่สามารถนำขึ้นเครื่องบินได้ทุกกรณี
“ไม่ว่าจะนำติดตัวขึ้นไปบนเครื่อง” หรือ
“ใส่ในกระเป๋าสัมภาระใต้ท้องเครื่องบิน”

แต่ถ้าคำว่า “Hand Sanitizers” หรือ “Alcohol Hand Sanitizers” ประมาณนี้ (มันเป็นของเหลวไม่ใช่เจล) ต่างประเทศกำหนดว่า สามารถนำขึ้นเครื่องบินได้ครับโดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับ LAG ปกติ คือ นำติดตัวขึ้นเครื่องจะต้องอยู่ในปริมาตรไม่เกิน 100 มิลลิลิตร

สนับสนุนเสื้อยืด Pilot T-Shirt

ทีนี้ก็เกิดปัญหาในทางปฏิบัติขึ้นแล้วว่า เจ้าแอลกอฮอล์เจล กับ hand sanitizers ที่เราพูดถึงกันนั้นมันหมายถึง ตัวเดียวกันหรือไม่
Hand Sanitizers หมายถึงที่เป็นของเหลว แล้วเจลล่ะ

เท่าที่ลองค้นข้อมูลดูนะครับ Hand Sanitizers
มันขึ้นเครื่องบินไปกับเราได้ หรือจะใส่ในกระเป๋าเดินทางโหลดไปใต้ท้องเครื่องบินก็ได้ด้วย ทั้งๆที่มันก็มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์

ปัญหานี้ไม่จบง่ายๆเสียแล้วครับ
คงต้องขอให้หน่วยงานราชการฟันธงล่ะ
เดี๋ยวหาคำตอบมาเฉลยอีกทีครับ
กลับมาอ่านนะ

วันที่ 27 มีนาคม 2563 สำนักงานการบินพลเรือนประกาศเพิ่มเติมว่าให้นำขึ้นเครื่องบินได้และผ่อนผันให้นำขึ้นเครื่องบินได้มากกว่า 100 ml

จากกรณีช่วงที่มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด-19 (COVD-19) ในหลายประเทศทั่วโลก รวมถึงไทย ทำให้เกิดความจำเป็นต้องใช้ทั้งในส่วนของหน้ากากอนามัยและเจลแอลกอฮอล์สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว จนเรียกว่าถือเป็นอุปกรณ์ที่ต้องพกติดตัวไปทุกที่ โดยในส่วนของเจลแอลกอฮอล์ล้างมือนี้ ถือเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยป้องกันการติดเชื้อได้เป็นอย่างดี

สํานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย หรือ กพท.ได้ออกมาย้ำถึงปริมาตรในการพกพาที่ถูกต้องเป็นไปตามกฎหมาย ที่ได้กำหนดข้อจำกัดในการพกพา หรือ นำเจลแอลกอฮอล์ล้างมือเดินทาง โดยเฉพาะการใช้บริการสายการบินนั้นๆ 

นายจุฬา สุขมานพ ผู้อำนวยการ กพท.เปิดเผยว่า กรณีแอลกอฮอล์ขึ้นเครื่องติดตัวนั้นจะเป็นไปตามระเบียบเดิม คือต้องมีปริมาตรไม่เกิน 100 มิลลิลิตร โดยยึดถือปริมาตรที่ระบุข้างบรรจุภัณฑ์ ในกรณีพกเจลแอลกอฮอล์เดินทางขึ้นเครื่องบิน แอลกอฮอล์ที่โหลดลงท้องเครื่องบิน ผู้โดยสารสามารถนำไปได้ ชิ้นละไม่เกิน 500 ซีซี.รวมทั้งหมดแล้วไม่เกิน 2 ลิตร โดยสาเหตุสำคัญที่ต้องมีการคุมปริมาตรเนื่องจาก เจลแอลกอฮอล์นั้น ก็เป็นส่วนหนึ่งของวัสดุที่ติดไฟได้หากมีปริมาณที่เยอะ.

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita