การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจ พอ เพียง ระดับชุมชน

Andawanich, S., & Chaiyanan, W. (1996). Concepts and indicators of social development and quality of life and Thai society. In Anuchat Phuangsom and Orathai At-am (Editor), Development Indicators Tool of quality of life and Thai society. Bangkok: Office of Research Funds.

Chandaeng, V. (2018). Online research article on the development of a strong community management model in accordance with the sufficiency economy philosophy in the upper central region. Retrivedved January 3, 2018, from //www.tcithaijo.org/index.php/tgt/article/view

Chareonwongsak, K. (2007). Sufficiency Economy Course in educational institutions How to be successful. weekly study today, 7(315), 11 – 18.

Chuelueam, K., Suthisukon, P., & Khamm, D. (2007). Sufficiency Economy Philosophy: Toward Management Strategies. Journal of Public Health and Development, 5(2), 105-106.

Chutiwisut, P. (2010). The application of the sufficiency economy philosophy in teaching and learning Undergraduate. Romyuk Journal, 28(2), 152-153.

Kamla, N. (2014). The role of the development of the sufficiency economy learning center in the community: a case study of Chumpae District, Khon Kaen Province. Systematic Agriculture Program. Faculty of Agriculture. Khon Kaen University.

Kanchanachitra, C. (1989). Community Development. Bangkok: Ramkhamhaeng University.

Lienjumroon, W. (2011). Agricultural Reform for Food Security: Analysis and Policy reform. Samut Sakhon: Pimdee.

Naowavathong, P. (2008). Sufficiency Economy Community Management: A case study of Kamplalai Village, Ban Dong,sub-districts,Ubonrat District,Khon Kaen Province. Journal of Environmental Management, 4(2).

Nopkesorn, T. (1998). Original draft of the Thai social crisis 1997 with the role of guest speakers for participation in organizing a community forum. Bangkok: Office of Teacher Training Office of Rajabhat Institutes Council.

Office of the National Economics and Social Development Council. (2000). 5 decades Latphat. Nonthaburi: Petrung Printing.

Office of the National Economic and Social Development Council. (2004). Application of the Sufficiency Economy Philosophy. (2nd ed.). Bangkok: Thai Development Foundation.

Office of the National Economics and Social Development Council. (2008). Philosophy of the Sufficiency Economy. Bangkok: 21 Century.

Office of the National Economics and Social Development Council. (2000). 5 decades Latphat. Nonthaburi: Petrung Printing.

Phanmool, J., & Masae, A. (2011). Community development process towards sufficiency economy: a case study of Ban Nawiang, Ko Kha District, Lampang Province. Kasalongkham Academic Journal, 139-140.

Phradhammapitaka (P.A. Payutto). (2009). Community Way. Bangkok: Srinakharinwirot University.

Phramaha Sanga Polsongkram. (1999). A Comparative Study of Buddhist Economics and the Sufficiency Economy in Thai Society. (Master's Thesis). Graduate School: Mahidol University. Nakhon Pathom.

Pongpit, S. (2008). Concepts, practices of local development strategies. Bangkok: Charoen Wit Printing.

Pattamanun, U. (2003).Economic crisis, adjustment of commercial banks of Thailand. Bangkok: Institute of Asian Studies. Chulalongkorn University.

Pawala, T. (2018). The Development of a Community Model According to The Philosophy of Sufficiency Economy, Level Prosperous: A case Study of Nong Phueak Village, Wapi Pathum District, Maha Sarakham Province. Phra Varun Agriculture Journal, 15(1), 101-11.

Phrasriwisutmolee (Prayut Payutto). (1973). The role of monks in the development of Buddhism and the present society, Bangkok: Siwiporn.

Tepsitta, S. (2005). Sufficiency economy according to the royal initiative. Bangkok: Thammasarn Company Limited.

Walaisatien, P. (2000). Development Process and Techniques of Developers. Bangkok: Office of Research Support Division.

Wiruchnipawan, W. (2008). Management according to the moral guidelines and the sufficiency economy guidelines. Bangkok: Propet.

Yuyen, K. (2001). The dynamics of Ban Pred community under the concept of sufficiency economy. Community development. (Master's Thesis). Graduate School: Thammasat University. Bangkok.

“… ข้าพเจ้าปลื้มใจที่งานในโครงการส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชนดำเนินไปด้วยดี และเกิดผลน่าพึงพอใจโครงการช่วยให้ราษฎรในพื้นที่ห่างไกลช่วยตนเองและพึ่งพาตนเองได้ …”

พระราชดำรัสพระราชทาน
เมื่อวันพุธที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
ณ หอประชุมไพรพะยอม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

ความเป็นมา

สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงตระหนักว่า การที่ประชาชนที่อยู่ในถิ่นทุรกันดารจะมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถพึ่งตนเองได้ ประชาชนเหล่านี้จะต้องทันต่อเหตุการณ์ต่าง ๆ ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ทั้งนี้ต้องมีการเตรียมคนให้พร้อมที่จะรับสถานการณ์ ให้รู้จักปรับตัวในสิ่งที่เปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ และนำไปสู่การปฏิบัติ จึงมีพระราชดำริให้ดำเนินงานโครงการส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน ขึ้นในปี 2556 เพื่อให้ประชาชนสามารถดำรงชีวิตของตน และครอบครัวในยุคโลกาภิวัตน์ได้อย่างดีและมีความปกติสุข โดยน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการดำเนินชีวิต สามารถพึ่งตนเอง มีอาชีพมีรายได้ ทำให้สามารถปรับปรุงสภาพความเป็นอยู่ในครอบครัวได้ดีขึ้น  มีกำลังสนับสนุนการศึกษาของบุตรหลาน ส่งผลให้ชุมชนเข้มแข็งอย่างมั่นคงและยั่งยืน

แนวทางการพัฒนา

  • การเพิ่มศักยภาพการพึ่งตนเองในระดับครัวเรือน
  • การเพิ่มศักยภาพการพึ่งตนเองในระดับชุมชน
  • แผนพัฒนากลุ่มเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน

   การเพิ่มศักยภาพการพึ่งตนเองในระดับครัวเรือน

1. ด้านความมั่นคงทางด้านอาหาร

    • ส่งเสริมการผลิตอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ เช่น ปลูกพืชผักสวนครัว การเลี้ยงสัตว์ ประมง ไม้ผล และอื่น ๆ ตามความเหมาะสมของพื้นที่ โดยใช้การเกษตรแบบผสมผสาน ปลอดภัยจากสารพิษ
    • ส่งเสริมการแปรรูป และถนอมอาหารไว้บริโภค
    • พัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร

2. ด้านแหล่งที่อยู่อาศัย

    • พัฒนาที่อยู่อาศัยที่มีความมั่นคง สะอาด และปลอดภัย ตามอัตภาพ
    • พัฒนาสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมต่อการอยู่อาศัย

3. ด้านสถานะทางการเงินของครัวเรือน

    • ส่งเสริมการทำบัญชีครัวเรือน
    • ลดภาวะหนี้สิน
    • ส่งเสริมการออม

4. ด้านการศึกษา

    • ส่งเสริมให้สมาชิกในครัวเรือนได้เรียนรู้และพัฒนาตนเองสม่ำเสมอ
    • ส่งเสริมให้บุตรมีโอกาสศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น

5. ด้านครอบครัวเป็นสุข

    • ส่งเสริมการมีส่วนร่วมทำกิจกรรมของสมาชิกในครอบครัว
    • ส่งเสริมให้สมาชิกในครอบครัวประพฤติตนอยู่ศีลธรรม ไม่เล่นการพนัน ดื่มสุรา หรือยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
    • ส่งเสริมสุขภาวะของครอบครัว

   การเพิ่มศักยภาพความเข้มแข็งในระดับชุมชน

1. ด้านการบริหารจัดการและกระบวนการกลุ่ม

    • พัฒนากลุ่มมีโครงสร้างการบริหารงานกลุ่ม ในรูปแบบคณะกรรมการ
    • ส่งเสริมให้กลุ่มมีกฎระเบียบข้อบังคับ เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติของสมาชิก ให้บรรลุวัตถุประสงค์ ตามเป้าหมายของกลุ่ม
    • ส่งเสริมให้กลุ่มมีการวางแผนการดำเนินงานของกลุ่มร่วมกัน
    • ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสมาชิกในการบริหารจัดการกลุ่ม รวมทั้งได้รับผลประโยชน์อย่างเหมาะสม เป็นธรรม

2. ด้านการผลิตของกลุ่ม

    • ส่งเสริมให้กลุ่มทำกิจกรรมการผลิตอย่างต่อเนื่อง ทั้งกิจกรรมลดรายจ่าย เช่น การปลูกพืชผักในลักษณะ แปลงรวม การทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก ทำน้ำยาล้างจาน ฯลฯ และกิจกรรมสร้างรายได้ เช่น การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร  ศิลปหัตถกรรม ศิลปะประดิษฐ์ ฯลฯ
    • ส่งเสริมให้กลุ่มมีการสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
    • ส่งเสริมให้มีการใช้ภูมิปัญญา หรือวัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาผลิตเป็นสินค้าและบริการ เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่สมาชิกในชุมชน

3. ด้านการเงินและบัญชี

    • ส่งเสริมให้กลุ่มมีการระดมทุนจากสมาชิก เพื่อเป็นทุนสำหรับกิจกรรมของกลุ่ม
    • ส่งเสริมให้มีการออมทรัพย์
    • ส่งเสริมให้มีการจัดทำบัญชีการเงิน ที่โปร่งใส และตรวจสอบได้

4. ด้านการตลาด

    • ส่งเสริมให้มีแหล่งจำหน่ายผลผลิตในชุมชน หรือพื้นที่อื่นๆตามความเหมาะสม
    • สนับสนุนอุปกรณ์ เครื่องมือที่จำเป็นในการแปรรูป เพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ชุมชน
    • ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ ทางการตลาดให้แก่สมาชิก

5. ด้านการช่วยเหลือสังคม

    • ส่งเสริมให้กลุ่มจัดกิจกรรมสาธารณประโยชน์แก่สมาชิกและชุมชน
    • ส่งเสริมให้กลุ่มช่วยเหลือสมาชิกที่อ่อนแอ

   แผนพัฒนากลุ่มเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน ตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี พ.ศ. 2561-2564

การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในชุมชนมีอะไรบ้าง

๑. ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น และความฟุ่มเฟือย การดำรงชีพอย่างจริงจัง ๒. ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลนในการดำรงชีพก็ตาม ๓. ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์ในทางค้าขาย การประกอบอาชีพแบบต่อสู้กันอย่างรุนแรง ๔. ไม่หยุดนิ่งที่ใฝ่หาความรู้อย่างสมํ่าเสมอ ให้เกิด มีรายได้ ...

ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร

ชุมชนพอเพียงคือชุมชนที่สมาชิกมีความเข้มแข็งมั่นคง สามารถพึ่งพาตนเองได้ ทั้งในทางปฏิบัติและมีทัศนคติที่ดีในการดำรงชีวิต พอมี พอกิน พออยู่ พอเพียง ตามฐานะและมีความสุขยั่งยืน ชุมชนมีความสมดุลทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม

ประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงอย่างไร

การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยพื้นฐานก็คือ การพึ่งตนเอง เป็นหลัก การทำอะไรอย่างเป็นขั้นเป็นตอน รอบคอบ ระมัดระวัง พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะ พอควร ความสมเหตุสมผล และการพร้อมรับความเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ

ปัญหาเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชนมีอะไรบ้าง

ปัญหาในระดับบุคคล เช่น การขาดความรู้ด้านต่างๆ ที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต การยึดติดกับสิ่งอำนวยความสะดวกจนเกินพอดี การติดอบายมุข ปัญหาอาชญากรรม ปัญหาในระดับครอบครัว เช่น ความขัดแย้งทางความคิดและความต้องการของสมาชิกในครอบครัว ปัญหาหนี้สินในครัวเรือนซึ่งเกิดจากการขาดการวางแผนใช้จ่ายในครอบครัว

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita