กฎ ของ ความ ปลอดภัย ทั่วไป 10 ข้อ

เป็นข้อบังคับหรือข้อควรระมัดระวังที่กำหนดขึ้น เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้ ซึ่งอาจจะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับลักษณะการทำงานในแต่ละสาขาอาชีพช่าง ในที่นี้จะกล่าวถึงกฎความปลอดภัยทั่ว ๆไปเป็นตัวอย่าง

1. แต่งกายให้รัดกุม

2. ไม่ควรหยอกล้อกันในขณะปฏิบัติงาน

3. ไม่ควรดื่มของมึนเมาในขณะปฏิบัติงาน

4. ควรตรวจสภาพเครื่องมือก่อนนำไปใช้งาน

5. ควรปฏิบัติงานในสถานที่ที่มีแสงสว่างเพียงพอ และอากาศถ่ายเทสะดวก

6. ควรศึกษาระบบการทำงานของเครื่องจักร ชนิดนั้น ๆ ให้เข้าใจก่อนปฏิบัติงาน

7. หากเครื่องจักรชำรุด ควรเขียนป้ายบอกกำกับไว้

8. ควรสวมหมวกนิรภัยในการปฏิบัติงานก่อสร้าง

9. หากน้ำมันหกลงพื้นควรทำความสะอาดทันที

10.เครื่องจักรที่มีการทำงานเคลื่อนไหว ด้วยความเร็วสูง ควรมีอุปกรณ์นิรภัยป้องกัน


( �Ҿ���Ǩҡ �.�.�. ��Թ���� ��Ѻ�ѹ��� 17 ��.�. 45 )

������ʹ���㹡�÷ӧҹ��ҧ

�غѵ��˵� ���˵ء�ó����Դ�����ء����� �·��������Ҵ�Դ�ҡ�͹ ���ҧ���������������� ��ҹ ���˵ء�ó������֧���ʧ�� ����������ö��ͧ�ѹ�� �ҡ�����������Ѵ���ѧ ������ҷ ������ҵá�û�ͧ�ѹ���ҧ�١�Ը�

���˵آͧ����Դ�غѵ��˵� ��ػ��ѧ���

1. �Դ�ҡ��Ǻؤ�� ����Դ�ҡ�������ͧ����ҷ �آ�Ҿ��ҧ������վ�������л�Ժѵԧҹ ��������դ����������ǡѺ����ͧ��� �վ� ���
2. �Դ�ҡ����ͧ��ͪ��ش ����ͧ�������Ҿ�������������ҹ �դس�Ҿ��� ���
3. �Դ�ҡ�к���÷ӧҹ �Ҥ��ʶҹ��� ����ҧἹ��鹵͹��û�Ժѵԧҹ���� �� �����ʧ���ҧ�����§�� �ҡ��������� �س������٧�Թ� ���

�š�з��ҡ����Դ�غѵ��˵�

1. ���ҧ�����٭���µ�ͷ�Ѿ���Թ �� ö¹�쪹�ѹ ���ҧ����������¤�� ö¹��ѧ �����٭���·�Ѿ���Թ�����Թ���¤�������������������
2. ��ҧ������Ѻ�Ҵ�� �٭���������� �����ҡ�ع�ç�Ҩ�٭���ª��Ե㹷���ش
3. ���ҧ�������������ª������§ �������Ѻ㹷ҧ��áԨ �� ����ѷö�������ѡ�Դ�غѵ��˵غ��� � �١��Ҽ�����ԡ���Ҩ���ԡ�âͧ����ѷ��������᷹ ����������ͧ����ѷŴ����ŧ

��������ʹ���
�繢�ͺѧ�Ѻ���͢�ͤ�����Ѵ���ѧ����˹���� �����繡�û�ͧ�ѹ�������غѵ��˵��Դ����� ����Ҩ��ᵡ��ҧ�ѹ仢������Ѻ�ѡɳС�÷ӧҹ������Ң��Ҫվ��ҧ 㹷����С���Ƕ֧��������ʹ��·��� ���繵�����ҧ

1. �觡������Ѵ���
2. �������͡��͡ѹ㹢�л�Ժѵԧҹ
3. ����ô����ͧ�ֹ���㹢�л�Ժѵԧҹ
4. ��õ�Ǩ��Ҿ����ͧ��͡�͹�����ҹ
5. ��û�Ժѵԧҹ�ʶҹ��������ʧ���ҧ��§�� ����ҡ�ȶ�����дǡ
6. ����֡���к���÷ӧҹ�ͧ����ͧ�ѡ� ��Դ��� � ������㨡�͹��Ժѵԧҹ
7. �ҡ����ͧ�ѡê��ش �����¹���º͡�ӡѺ���
8. ��������ǡ������㹡�û�Ժѵԧҹ������ҧ
9. �ҡ����ѹˡŧ��鹤�÷Ӥ������Ҵ�ѹ��
10.����ͧ�ѡ÷���ա�÷ӧҹ����͹��� ���¤��������٧ ������ػ�ó�����»�ͧ�ѹ

1. ปฏิบัติตามข้อแนะนำอย่างเคร่งครัด อย่าเปลี่ยนแปลงแก้ไขโดยไม่รู้จริง และหากเกิดข้อสงสัยให้ทำการสอบถามก่อนที่จะลงมือปฏิบัติงาน

2. ปรับปรุงแก้ไข หรือรายงานสภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย

3. ต้องช่วยกันรักษาความสะอาด และมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย

4. ใช้เครื่องมือ หรืออุปกรณ์ให้ถูกต้องและปลอดภัย

5. รายงานการบาดเจ็บและการปฐมพยาบาล

6. การใช้ การปรับแต่ง ตลอดจน การซ่อมแซมอุปกรณ์ต่าง ๆ จะต้องเป็นผู้ที่มีอำนาจ และมีหน้าที่เฉพาะเท่านั้น

7. ใช้ข้อกำหนดอุปกรณ์ป้องกันอันตรายต่าง ๆ เช่น การสวมชุดเสื้อผ้าความปลอดภัย และควรเก็บไว้ในที่ ๆ เหมาะสมให้เรียบร้อย

8. ห้ามหยอกล้อ หรือเล่นกัน และหลีกเลี่ยงการทำให้ผู้อื่นวอกแวก จนเสียสมาธิในการทำงาน

9. การยกสิ่งของต่าง ๆ ควรงอเข่า และถ้าเป็นของหนัก ควรช่วยกันยกหลาย ๆ คน

10. ยอมปฏิบัติตาม กฎ หรือสัญลักษณ์แห่งความปลอดภัยอย่างเคร่งครัด

  • ความปลอดภัยในการใช้หม้อไอน้ำ

ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 18 (พ.ศ. 2528) ซึ่งยังมีผลในทางการบังคับใช้ โดยมีความย่อและที่สำคัญ ๆ  เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในการใช้หม้อไอน้ำ และหม้อต้ม ฯ ดังนี้ คือ

1. ต้องมีลิ้นนิรภัยอย่างน้อย 1 ชุด และหากหม้อไอน้ำที่มีพื้นที่ผิวรับความร้อนตั้งแต่ 50 ต.ร.ม.ขึ้นไป จะต้องมีลิ้นนิรภัย 2 ชุด

2. ต้องมีหลอดแก้ววัดระดับน้ำในหม้อไอน้ำ

3. ต้องมีเกจสำหรับวัดความดันไอน้ำ

4. ต้องมีเครื่องสูบน้ำเข้าหม้อไอน้ำ โดยมีความสามารถอัดน้ำได้ถึง 1.5 เท่าของความดันใช้งานสูงสุดของหม้อไอน้ำ

5. ต้องติดตั้งลิ้นกันกลับที่ท่อที่น้ำเข้าหม้อไอน้ำ

6. หากมีการใช้หม้อไอน้ำทั้ง 2 เครื่องขึ้นไป และต่อท่อรวมกัน จะต้องมีลิ้นกันกลับที่ท่อจ่ายไอน้ำของแต่ละเครื่อง

7. ต้องมีลิ้นจ่ายไอน้ำที่ตัวหม้อไอน้ำ

8. ถ้าหม้อน้ำใช้เชื้อเพลิงเหลว ต้องติดตั้งเครื่องควบคุมความดัน และเครื่องควบคุมระดับน้ำในหม้อไอน้ำ

9. ต้องติดตั้งสัญญาณเตือนระดับน้ำในหม้อไอน้ำ ถ้าต่ำกว่าระดับใช้งานปกติ

10. ต้องหุ้มฉนวนท่อจ่ายไอน้ำ

11. ท่อน้ำ, ท่อจ่ายไอน้ำ และลิ้นปิด-เปิด รวมถึงอุปกรณ์อื่น ๆ ต้องเป็นชนิดที่ใช้กับหม้อไอน้ำ

12. ถ้าหม้อไอน้ำสูงกว่า 3 เมตรขึ้นไป ต้องมีบันไดขึ้น-ลงบนหม้อไอน้ำ

13. หม้อไอน้ำ หรือหม้อต้มน้ำมัน ฯ ต้องได้รับการตรวจรับรองความปลอดภัยในการใช้งาน โดยวิศวกรเครื่องกลระดับสามัญขึ้นไป หรือผู้ที่ได้รับใบอนุญาตพิเศษตาม พ.ร.บ. วิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505 แล้วส่งเอกสารดังกล่าว ไปยังกรมโรงงานอุตสาหกรรมภายใน 30 วัน นับตั้งแต่ วันทำการตรวจทดสอบ

14. ต้องมีผู้คอยควบคุมประจำหม้อไอน้ำหรือหม้อต้ม ฯ ที่มีคุณวุฒิ ปวส. ช่างยนต์, ช่างกลโรงงาน หรือผ่านการอบรมหลักสูตรผู้ควบคุมหม้อไอน้ำ หรือหม้อต้ม ฯ จากหน่วยงานราชการ หรือสถาบันที่กระทรวงอุตสาหกรรมรับรอง

15. ต้องมีวิศวกรเครื่องกลระดับสามัญขึ้นไปคอยควบคุมดูแล การสร้าง และการซ่อมหม้อไอน้ำ หรือหม้อต้ม ฯ ตลอดจนการตรวจทดสอบความปลอดภัยในการใช้หม้อน้ำ หรือหม้อต้ม ฯ และต้องมีวิศวกรเครื่องกลคอยอำนวยการใช้หม้อไอน้ำที่มีอัตราการผลิตไอน้ำตั้งแต่ 20 ตัน/ช.ม.ขึ้นไป โดยขึ้นทะเบียนกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม

  • ความปลอดภัยในการใช้เครื่องทำความเย็นในโรงน้ำแข็งห้องเย็นที่ใช้แอมโมเนีย เช่น ตัวกลางทำความเย็น

1. ถังรับน้ำยาแอมโมเนียความดันสูง ความดันต่ำ อินเตอร์คูลเลอร์ หรือถังแลกเปลี่ยนความร้อน ต้องติดตั้งลิ้นนิรภัย
แบบคู่ (Dual Safety Relieve Valve) หรือวาล์ว 3 ทาง

2. ต้องต่อท่อก๊าซจากลิ้นนิรภัยทุกตัวไปลงบ่อกัดด้วยน้ำ

3. ต้องติดตั้งลิ้นกันกลับภายในทั้งด้านบนและด้านล่างของหลอดแก้ว เพื่อดูระดับน้ำยาแอมโมเนีย

4. ติดตั้งลิ้นกันกลับที่ท่อเติมน้ำยาแอมโมเนีย

5. ต้องติดตั้งก๊อกน้ำสะอาด สำหรับทำความสะอาดส่วนของร่างกาย ในกรณีที่มีการสัมผัสกับก๊าซแอมโมเนียแบบมือกด ไว้ในห้องเครื่อง

6. ต้องมีหน้ากาก หรือวิธีการป้องกันแอมโมเนียให้แก่ผู้ควบคุมเครื่องทำความเย็น เพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน

7. ต้องมีวาล์วปล่อยปิด (Loaded Valve) ที่ท่อต่าง ๆ น้ำมันหล่อลื่นทุกตัว

  • ความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้า

1. อุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้า ควรมีการต่อสายลงดิน

2. ต้องมีสวิตซ์ตัดตอนไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ

3. ต้องมีฟิวส์ป้องกันการใช้กระแสไฟฟ้าเกิน และห้ามใช้ลวดทองแดงแทนฟิวล์ตะกั่ว

4. เต้าเสียบไม่ควรมีการต่อออกไปใช้งานมากเกินขนาด

5. สายไฟฟ้าที่ต่อจากเตาเสียบไปใช้งานอื่น ๆ ควรต้องตรวจสอบ การถลอก การชำรุดของสายไฟฟ้าเป็นประจำ

6. ควรมีการตรวจสอบระบบไฟฟ้าจากผู้เชี่ยวชาญ หรือวิศวกรไฟฟ้าเป็นประจำ

  • การป้องกันอุบัติเหตุหรืออันตรายภายในโรงงานอุตสาหกรรม

การป้องกันอุบัติเหตุหรืออันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นภายในโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งมีวิธีที่ใช้ได้ผล และทางกรมโรงงานอุตสาหกรรม ก็ได้นำหลักการดังกล่าวนี้มาใช้อยู่เป็นประจำ นั่นคือ หลัก 3 E มีดังนี้ คือ

1. Engineering (วิศวกรรมศาสตร์) เป็นเรื่องของการออกแบบ การคำนวณ เครื่องจักร ครื่องมืออุปกรณ์ภายในโรงงานอุตสาหกรรม หรือสถานประกอบการ เพื่อให้ถูกต้องตามหลักของวิศวกรรมศาสตร์ ซึ่งจะต้องอาศัยการออกแบบด้วยการคำนวณ เพื่อให้มีความปลอดภัยต่อการใช้งาน และวิศวกร หรือสถาปนิกทั้งหลายนั้น ก็สามารถนำไปใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม หรือสถานประกอบการต่าง ๆ ซึ่งจะทำให้การทำงานทุกอย่าง มีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น

2. Education (การศึกษาหรืออบรม) เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ การอบรม การสัมมนา เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานในทุก ๆ กลุ่มเพิ่มพูนความรู้มากขึ้น รวมถึงเป็นการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจที่ใกล้เคียงกัน และทางกรมโรงงานอุตสาหกรรมก็ได้มีหลักสูตรสำหรับผู้ควบคุมหม้อไอน้ำ หรือหม้อต้ม ฯ โดยจัดร่วมกับทางสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด หรือร่วมกับสถาบันการศึกษาจัดฝึกอบรมหลักสูตรดังกล่าว อยู่เป็นประจำในทุก ๆ ปี โดยเชิญวิทยากรฝ่ายหม้อไอน้ำ ฯ กองความปลอดภัยโรงงาน ซึ่งในแต่ละปี ก็จะมีผู้ผ่านการฝึกอบรมในหลักสูตรดังกล่าวกว่า 500-600 คน และผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมเหล่านี้ ก็จะได้รับการขึ้นทะเบียนประจำหม้อไอน้ำ หรือ หม้อต้ม ฯ ซึ่งยังผลให้การใช้งานของผู้ควบคุมหม้อไอน้ำหรือหม้อต้ม ฯ ดังกล่าวมีความปลอดภัยขึ้น โดยวิศวกร หรือสถาปนิกทั้งหลายที่สามารถจะนำเรื่องราวจากการฝึกอบรมไปประยุกต์ใช้ภายในโรงงานอุตสาหกรรม หรือสถานประกอบการต่าง ๆ ได้เช่นกัน ประโยชน์ก็เพื่อให้ทุก ๆ คนในหน่วยงานได้มีความตระหนักถึงความปลอดภัยในการทำงาน และจะสามารถทำให้ทุกคนคำนึงถึงแต่คำว่า Safety First หรือ Safety Ahead ตลอดเวลาในการทำงาน

3. Enforcement (กฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับ) เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายบังคับใช้ เพื่อให้ทุกคนในหน่วยงานได้ปฏิบัติตาม และเพื่อเป็นการเสริมสร้างความปลอดภัย ถ้าไม่มีการปฏิบัติตามก็จะมีความผิด อย่างเช่น เรื่องของหม้อไอน้ำ หากว่าโรงงานอุตสาหกรรม หรือสถานประกอบการที่มีการใช้หม้อไอน้ำในแต่ละชนิดที่มีอัตราในการผลิตไอน้ำตั่งแต่ 20 ตัน/ช.ม.ขึ้นไป จะต้องมีวิศวกรเครื่องกลคอยควบคุมดูแล เพื่ออำนวยการใช้สำหรับการซ่อม-สร้าง ตลอดจนการตรวจทดสอบความปลอดภัยในการใช้หม้อไอน้ำหรือหม้อต้ม ฯ ก็จะต้องขึ้นทะเบียนไว้กับทางกรมโรงงานอุตสาหกรรมอย่างถูกต้องด้วย

สำหรับโรงงานอุตสาหกรรม หรือ สถานประกอบการที่มีการใช้หม้อไอน้ำหรือหม้อต้ม ฯ นั้น จะต้องมีผู้คอยควบคุมดูแลประจำหม้อไอน้ำหรือหม้อต้ม ฯ โดยผู้ควบคุมดูแลดังกล่าว จะต้องมีคุณวุฒิตามที่กำหนด และทำการขึ้นทะเบียนกับทางกรมโรงงานอุตสาหกรรม โดยวิศวกร หรือสถาปนิกที่ผ่านการฝึกอบรม และขึ้นทะเบียนเป็นที่เรียบร้อย และกำลังจะไปทำหน้าที่ในการปฏิบัติงานดังกล่าว ก็จะสามารถกำหนดระเบียบข้อบังคับในการทำงานภายในโรงงานอุตสาหกรรมนั้น ๆ ได้ เพื่อเป็นการเสริมสร้างความปลอดภัยให้แก่หน่วยงานนั้น ๆ ต่อไป

ข้อมูลความรู้ทางด้านความปลอดภัยในฉบับนี้ ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ท่านผู้ประกอบการ และผู้ปฏิบัติงานภายในโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ ที่ได้มีโอกาสอ่านบทความในข้างต้นนี้ ท่านจะสามารถนำข้อมูลความรู้ดังกล่าว ไปใช้ในทางการส่งเสริม และป้องกันการเกิดอุบัติเหตุอันตราย อันเนื่องมาจากการทำงานภายในโรงงานอุตสาหกรรมของท่านได้เป็นอย่างดีจากนี้ต่อไป ด้วยการตระหนักถึงคำว่า "กันไว้ดีกว่าแก้" ดังนั้นจึงขอขอบพระคุณ คุณศิริเพ็ญ เกียรติเฟื่องฟู หัวหน้าฝ่ายประชาสัมพันธ์ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ที่ได้ให้ข้อมูลความรู้ดี ๆ จากศูนย์เทคโนโลยีความปลอดภัย กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม มานำเสนอแก่ท่านผู้อ่านในครั้งนี้

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน lmyour แปลภาษา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่เรือ การเขียน flowchart โปรแกรม ตัวรับสัญญาณ wifi โน๊ตบุ๊คหาย ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน ผู้แต่งกาพย์เห่ชมไม้ ภูมิปัญญาหมายถึง มีสัญญาณ wifi แต่เชื่อมต่อไม่ได้ เชื่อมต่อแล้ว ไม่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ /roblox promo code redeem 3 พระจอม มีที่ไหนบ้าง AKI PLUS รีวิว APC UPS APC UPS คือ Adobe Audition Adobe Bridge Anapril 5 mg Aqua City Odaiba Arcade Stick BMW F10 jerk Bahasa Thailand Benz C63 ราคา Bootstrap 4 Bootstrap 4 คือ Bootstrap 5 Brackets Brother Scanner Brother iPrint&Scan Brother utilities Burnt HD C63s AMG CSS เว้น ช่องว่าง CUPPA COFFEE สุราษฎร์ธานี Cathy Doll หาซื้อได้ที่ไหน Clock Humidity HTC-1 ColdFusion Constitutional isomer Cuppa Cottage เจ้าของ Cuppa Cottage เมนู Cuppa Cottage เวียงสระ DMC DRx จ่ายปันผลยังไง Detroit Metal City Div class คือ Drastic Vita